SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5
ความสัมพันธ์ของดนตรีไทยกับเพื่อนบ้าน
ดนตรีเป็นภาษาสากลที่มนุษย์ทุกคนในโลกฟังแล้วมีความเข้าใจ มีความรู้สึกร่วมกันได้
สามารถบอกได้ว่าให้อารมณ์สนุกสนาน ร่าเริง เศร้าโศก หรือเสียใจ
เป็นสื่อความหมายให้เข้าใจกันระหว่างชนในชาติหรือชาติอื่นๆ โดยอย่างยิ่งชนชาติเอเชีย
ซึ่งเปรียบเสมือนเพื่อนบ้าน ทาให้เกิดความสัมพันธ์อันดีงามทางศิลปวัฒนธรรม ประเพณี วรรณกรรม
การละเล่นและค่านิยม
ความสัมพันธ์ทางศิลปวัฒนธรรม
ศิลปะ
เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้นด้วยความประณีตงดงามตามธรรมชาตืและมีภูมิปัญญาความรู้และทักษะเป็นปั
จจัยช่วยเสริม
วัฒนธรรม คือ วิถีชีวิตของกลุ่มชนซึ่งแสดงออกคล้ายหรือเหมือนกัน
ร่วมกันสร้างระเบียบกฎเกณฑ์ วิธีในการปฏิบัติตามความเชื่อและค่านิยมในทางเดียวกัน
ดังนั้นศิลปวัฒนธรรม จึงหมายถึงสิ่งที่ดีงามของมนุษย์ในสังคมนั้น
การนาเอาศิลปวัฒนธรรมของแต่ละชาติไปเผยแพร่ซึ่งกันและกันเป็นส่วนหนึ่งที่ทาให้เกิดความสัมพันธ์อัน
ดี เช่น การนาดนตรีและนาฏศิลป์ ไทยซึ่งเป็นศิลปะประจาชาติไปแสดงในต่างประเทศ
และได้รับความสนใจจากต่างชาติเป็นอย่างมาก เท่ากับว่าดนตรีไทย
เป็นสื่อนาความสัมพันธ์ไปสู่ชาติอื่นให้รู้จักศิลปวัฒนธรรมของไทย เช่น
1. ประเทศกัมพูชา ในสมัยรัชกาลที่ 7 ได้ขอครุไทยไปสอนในราชสานัก ซึ่งไทยได้ส่งหลวง
ประดิษฐ์ไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ไปทาการสอน
จึงเกิดความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีไทยกับดนตรีเขมรขึ้นหลายประการ เช่น เกิดเพลงสาเนียงเขมร
โดยหลวงประดิษฐ์ไพเราะได้ประพันธ์ขึ้นหลายเพลง เช่น เพลงนกเขาขะแมร์ เพลงขะแมร์ทม
เป็นต้น
2. ประเทศลาว สาหรับประเทศลาวได้ส่งครูดนตรีมาเรียนที่วิทยาลัยนาฏศิลป์ กรมศิลปากร
และได้มีการแลกเปลี่ยนความรู้ ความสัมพันธ์ในเรื่องของดนตรีหลายอย่าง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5
เพลงสาเนียงลาวที่คนไทยแต่งขึ้นมาเพื่อเลียนสาเนียงลาว เช่น เพลงลาวแพน เพลงลาวดวงเดือน
เป็นต้น
3. ประเทศพม่าและมอญ มอญมีความสัมพันธ์กับดนตรีไทยเป็นอย่างมาก เช่นในสมัยอยุธยา
สมัยพระมหาธรรมราชาและสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช สมัยรัชกาลที่ 2
แห่งกรุงรัตโกสินทร์ ชาวมอญได้อพยพเข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารในไทย
และได้นาเอาเครื่องดนตรีมอญเข้ามาด้วย โดยเครื่องดนตรีและเพลงมอญเป็นที่นิยมของคนไทย
เช่น ในงานศพนิยมใช้ปี่พาทย์มอญบรรเลงประกอบ
สาหรับวงปี่พาทย์ที่เกิดขึ้นในไทยนั้นเป็นการผสมระหว่างเครื่องดนตรีมอญกับเครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีมอญที่นามาประสมคือ ปี่มอญ ฆ้องวงใหญ่ ตะโพนมอญและเปิงมาง
ส่วนเครื่องดนตรีไทยที่ประสม ได้แก่ ระนาดเอก ระนาดทุ้ม และฆ้องวงเล็ก
เพลงที่บรรเลงมีทั้งเพลงมอญแท้ ๆและที่ครูดนตรีไทยแต่งขึ้นเพื่อใช้ในพิธีต่าง ๆ เช่น
เชิญเจ้าเชิญผีประจาบ้าน ประจาวัด ยกศพ ประชุมเพลง เป็นต้น
4. ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ไทยและจีนมีการติดต่อคบค้าสมาคมกันมาตั้งแต่บรรพบุรุษ
การดนตรีย่อมมีความใกล้ชิดกันมาโดยตลอด
ดังนั้นจึงมีการแต่งเพลงไทยสาเนียงจีนขึ้นโดยคนไทย เช่น โป๊ยกังเหลง ฮ่อแห่ จีนขิมเล็ก
เป็นต้น
5. ประเทศมาเลเซีย มีความสัมพันธ์กับไทยหลายด้าน
สาหรับดนตรีมีมาตั้งแต่สมัยอยุธยาและได้มีการนากลองชนิดหนึ่งเข้าร่วมบรรเลงในวงดนตรีไทยอี
กด้วย โดยใช้ประกอบการแสดงละครเรื่องอิเหนา กลองชนิดนี้เรียกว่า “กลองแขก”
เป็นกลองของมาเลเซีย ปัจจุบันกลายเป็นเครื่องดนตรีไทยโดยสมบูรณ์แล้ว
ความสัมพันธ์ทางประเพณี
ประเพณี คือระเบียบแบบแผนมีการปฏิบัติที่เห็นว่าดีงามและถูกต้อง
จนเป็นที่ยอมรับของคนส่วนใหญ่ในสังคม และมีการปฏิบัติสืบต่อกันมา เช่น
ประเพณีเกี่ยวกับการเกิด การโกนผมไฟ การบวช การแต่งงาน การตาย เป็นต้น
ประเพณีเหล่านี้ใช้ดนตรีบรรเลงประกอบประเพณี ดังนั้นดนตรีจึงเป็นส่วนหนึ่ง
ที่มีความสาคัญและสามารถทาให้งานนั้น ๆ สมบูรณ์ได้
ความสัมพันธ์ด้านวรรณกรรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5
วรรณกรรม หมายถึง เรื่องราวของหนังสือที่ได้รับการยกย่องว่ามีคุณค่า เช่น
เรื่องพระอภัยมณี เกี่ยวข้องกับดนตรีไทยคือ ตอนพระอภัยมณีหลงนางละเวง
เมื่อนามาแสดงในบทของนางละเวง ดนตรีก็บรรจุเพลงสาเนียงฝรั่งเพรานางละเวงเป็นฝรั่ง
หรือแสดงละครเรื่องอิเหนา ซึ่งเป็นเรื่องเกี่ยวกับแขก
ดนตรีก็ต้องเพลงที่มีสาเนียงแขกเข้ามาในบทละครด้วย
ความสัมพันธ์ทางการละเล่น
การละเล่นที่เกี่ยวข้องกับดนตรีคือการบรรเลงเพลงภาษาที่เรียกว่า “ออกสิบสองภาษา”
บางครั้งก็มีการออกตัวมีคนแสดงตามภาษานั้น ๆหน้าวงดนตรี บางครั้งก็เล่นเป็นเรื่องนั้น
ดนตรีจึงเป็นส่วนหนึ่งที่มีความสัมพันธ์กับการละเล่นอย่างมาก

More Related Content

Similar to ความสัมพันธ์ของดนตรีไทยกับเพื่อนบ้าน

ความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรีความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรีleemeanxun
 
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสานสถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสานPornpimon Gormsang
 
การศึกษาสมัยใหม่กลืนกินวัฒนธรรม
การศึกษาสมัยใหม่กลืนกินวัฒนธรรมการศึกษาสมัยใหม่กลืนกินวัฒนธรรม
การศึกษาสมัยใหม่กลืนกินวัฒนธรรมTawanat Ruamphan
 
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่านคู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่านTeacher Sophonnawit
 
บทความ วิเคราะห์ เพลง
บทความ   วิเคราะห์ เพลงบทความ   วิเคราะห์ เพลง
บทความ วิเคราะห์ เพลงNiran Dankasai
 
001การจัดการเรียนการสอนแบบเน้นบูรณาการ ดร.อาจอง
001การจัดการเรียนการสอนแบบเน้นบูรณาการ ดร.อาจอง001การจัดการเรียนการสอนแบบเน้นบูรณาการ ดร.อาจอง
001การจัดการเรียนการสอนแบบเน้นบูรณาการ ดร.อาจองniralai
 

Similar to ความสัมพันธ์ของดนตรีไทยกับเพื่อนบ้าน (10)

หน้า 1
หน้า 1หน้า 1
หน้า 1
 
ความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรีความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรี
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสานสถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
 
การศึกษาสมัยใหม่กลืนกินวัฒนธรรม
การศึกษาสมัยใหม่กลืนกินวัฒนธรรมการศึกษาสมัยใหม่กลืนกินวัฒนธรรม
การศึกษาสมัยใหม่กลืนกินวัฒนธรรม
 
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่านคู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
 
บทความ วิเคราะห์ เพลง
บทความ   วิเคราะห์ เพลงบทความ   วิเคราะห์ เพลง
บทความ วิเคราะห์ เพลง
 
001การจัดการเรียนการสอนแบบเน้นบูรณาการ ดร.อาจอง
001การจัดการเรียนการสอนแบบเน้นบูรณาการ ดร.อาจอง001การจัดการเรียนการสอนแบบเน้นบูรณาการ ดร.อาจอง
001การจัดการเรียนการสอนแบบเน้นบูรณาการ ดร.อาจอง
 
ค่าย
ค่ายค่าย
ค่าย
 
Kam1
Kam1Kam1
Kam1
 

More from อัญชลี เมฆวิบูลย์ (10)

ยุคสมัยของดนตรีไทย
ยุคสมัยของดนตรีไทยยุคสมัยของดนตรีไทย
ยุคสมัยของดนตรีไทย
 
สายที่ 1
สายที่  1สายที่  1
สายที่ 1
 
Obeclms
ObeclmsObeclms
Obeclms
 
Obeclms
ObeclmsObeclms
Obeclms
 
Generation
GenerationGeneration
Generation
 
Abstrac malee 2555
Abstrac malee 2555Abstrac malee 2555
Abstrac malee 2555
 
Abstrac supun 2555
Abstrac supun 2555Abstrac supun 2555
Abstrac supun 2555
 
วิธีการสร้าง Blog โดยใช้ wordpress1
วิธีการสร้าง Blog โดยใช้ wordpress1วิธีการสร้าง Blog โดยใช้ wordpress1
วิธีการสร้าง Blog โดยใช้ wordpress1
 
วิธีการสร้าง Blog โดยใช้ wordpress
วิธีการสร้าง Blog โดยใช้ wordpressวิธีการสร้าง Blog โดยใช้ wordpress
วิธีการสร้าง Blog โดยใช้ wordpress
 
ทดสอบ Upload
ทดสอบ  Uploadทดสอบ  Upload
ทดสอบ Upload
 

ความสัมพันธ์ของดนตรีไทยกับเพื่อนบ้าน

  • 1. หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ความสัมพันธ์ของดนตรีไทยกับเพื่อนบ้าน ดนตรีเป็นภาษาสากลที่มนุษย์ทุกคนในโลกฟังแล้วมีความเข้าใจ มีความรู้สึกร่วมกันได้ สามารถบอกได้ว่าให้อารมณ์สนุกสนาน ร่าเริง เศร้าโศก หรือเสียใจ เป็นสื่อความหมายให้เข้าใจกันระหว่างชนในชาติหรือชาติอื่นๆ โดยอย่างยิ่งชนชาติเอเชีย ซึ่งเปรียบเสมือนเพื่อนบ้าน ทาให้เกิดความสัมพันธ์อันดีงามทางศิลปวัฒนธรรม ประเพณี วรรณกรรม การละเล่นและค่านิยม ความสัมพันธ์ทางศิลปวัฒนธรรม ศิลปะ เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้นด้วยความประณีตงดงามตามธรรมชาตืและมีภูมิปัญญาความรู้และทักษะเป็นปั จจัยช่วยเสริม วัฒนธรรม คือ วิถีชีวิตของกลุ่มชนซึ่งแสดงออกคล้ายหรือเหมือนกัน ร่วมกันสร้างระเบียบกฎเกณฑ์ วิธีในการปฏิบัติตามความเชื่อและค่านิยมในทางเดียวกัน ดังนั้นศิลปวัฒนธรรม จึงหมายถึงสิ่งที่ดีงามของมนุษย์ในสังคมนั้น การนาเอาศิลปวัฒนธรรมของแต่ละชาติไปเผยแพร่ซึ่งกันและกันเป็นส่วนหนึ่งที่ทาให้เกิดความสัมพันธ์อัน ดี เช่น การนาดนตรีและนาฏศิลป์ ไทยซึ่งเป็นศิลปะประจาชาติไปแสดงในต่างประเทศ และได้รับความสนใจจากต่างชาติเป็นอย่างมาก เท่ากับว่าดนตรีไทย เป็นสื่อนาความสัมพันธ์ไปสู่ชาติอื่นให้รู้จักศิลปวัฒนธรรมของไทย เช่น 1. ประเทศกัมพูชา ในสมัยรัชกาลที่ 7 ได้ขอครุไทยไปสอนในราชสานัก ซึ่งไทยได้ส่งหลวง ประดิษฐ์ไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ไปทาการสอน จึงเกิดความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีไทยกับดนตรีเขมรขึ้นหลายประการ เช่น เกิดเพลงสาเนียงเขมร โดยหลวงประดิษฐ์ไพเราะได้ประพันธ์ขึ้นหลายเพลง เช่น เพลงนกเขาขะแมร์ เพลงขะแมร์ทม เป็นต้น 2. ประเทศลาว สาหรับประเทศลาวได้ส่งครูดนตรีมาเรียนที่วิทยาลัยนาฏศิลป์ กรมศิลปากร และได้มีการแลกเปลี่ยนความรู้ ความสัมพันธ์ในเรื่องของดนตรีหลายอย่าง
  • 2. หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เพลงสาเนียงลาวที่คนไทยแต่งขึ้นมาเพื่อเลียนสาเนียงลาว เช่น เพลงลาวแพน เพลงลาวดวงเดือน เป็นต้น 3. ประเทศพม่าและมอญ มอญมีความสัมพันธ์กับดนตรีไทยเป็นอย่างมาก เช่นในสมัยอยุธยา สมัยพระมหาธรรมราชาและสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช สมัยรัชกาลที่ 2 แห่งกรุงรัตโกสินทร์ ชาวมอญได้อพยพเข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารในไทย และได้นาเอาเครื่องดนตรีมอญเข้ามาด้วย โดยเครื่องดนตรีและเพลงมอญเป็นที่นิยมของคนไทย เช่น ในงานศพนิยมใช้ปี่พาทย์มอญบรรเลงประกอบ สาหรับวงปี่พาทย์ที่เกิดขึ้นในไทยนั้นเป็นการผสมระหว่างเครื่องดนตรีมอญกับเครื่องดนตรีไทย เครื่องดนตรีมอญที่นามาประสมคือ ปี่มอญ ฆ้องวงใหญ่ ตะโพนมอญและเปิงมาง ส่วนเครื่องดนตรีไทยที่ประสม ได้แก่ ระนาดเอก ระนาดทุ้ม และฆ้องวงเล็ก เพลงที่บรรเลงมีทั้งเพลงมอญแท้ ๆและที่ครูดนตรีไทยแต่งขึ้นเพื่อใช้ในพิธีต่าง ๆ เช่น เชิญเจ้าเชิญผีประจาบ้าน ประจาวัด ยกศพ ประชุมเพลง เป็นต้น 4. ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ไทยและจีนมีการติดต่อคบค้าสมาคมกันมาตั้งแต่บรรพบุรุษ การดนตรีย่อมมีความใกล้ชิดกันมาโดยตลอด ดังนั้นจึงมีการแต่งเพลงไทยสาเนียงจีนขึ้นโดยคนไทย เช่น โป๊ยกังเหลง ฮ่อแห่ จีนขิมเล็ก เป็นต้น 5. ประเทศมาเลเซีย มีความสัมพันธ์กับไทยหลายด้าน สาหรับดนตรีมีมาตั้งแต่สมัยอยุธยาและได้มีการนากลองชนิดหนึ่งเข้าร่วมบรรเลงในวงดนตรีไทยอี กด้วย โดยใช้ประกอบการแสดงละครเรื่องอิเหนา กลองชนิดนี้เรียกว่า “กลองแขก” เป็นกลองของมาเลเซีย ปัจจุบันกลายเป็นเครื่องดนตรีไทยโดยสมบูรณ์แล้ว ความสัมพันธ์ทางประเพณี ประเพณี คือระเบียบแบบแผนมีการปฏิบัติที่เห็นว่าดีงามและถูกต้อง จนเป็นที่ยอมรับของคนส่วนใหญ่ในสังคม และมีการปฏิบัติสืบต่อกันมา เช่น ประเพณีเกี่ยวกับการเกิด การโกนผมไฟ การบวช การแต่งงาน การตาย เป็นต้น ประเพณีเหล่านี้ใช้ดนตรีบรรเลงประกอบประเพณี ดังนั้นดนตรีจึงเป็นส่วนหนึ่ง ที่มีความสาคัญและสามารถทาให้งานนั้น ๆ สมบูรณ์ได้ ความสัมพันธ์ด้านวรรณกรรม
  • 3. หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 วรรณกรรม หมายถึง เรื่องราวของหนังสือที่ได้รับการยกย่องว่ามีคุณค่า เช่น เรื่องพระอภัยมณี เกี่ยวข้องกับดนตรีไทยคือ ตอนพระอภัยมณีหลงนางละเวง เมื่อนามาแสดงในบทของนางละเวง ดนตรีก็บรรจุเพลงสาเนียงฝรั่งเพรานางละเวงเป็นฝรั่ง หรือแสดงละครเรื่องอิเหนา ซึ่งเป็นเรื่องเกี่ยวกับแขก ดนตรีก็ต้องเพลงที่มีสาเนียงแขกเข้ามาในบทละครด้วย ความสัมพันธ์ทางการละเล่น การละเล่นที่เกี่ยวข้องกับดนตรีคือการบรรเลงเพลงภาษาที่เรียกว่า “ออกสิบสองภาษา” บางครั้งก็มีการออกตัวมีคนแสดงตามภาษานั้น ๆหน้าวงดนตรี บางครั้งก็เล่นเป็นเรื่องนั้น ดนตรีจึงเป็นส่วนหนึ่งที่มีความสัมพันธ์กับการละเล่นอย่างมาก