SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
บทคัดย่อ
การทาน้าหมักกล้วยไข่ได้มีแนวคิดจากการชมรายการทีวี จากการเรีย
นการสอนของครูอาจารย์ ซึ่งใช้เป็ นแนวคิดและแนวทางในการทาน้าหมักกล้ว
ยไข่
โดยกล้วยไข่มีสรรพคุณที่โดดเด่นคือระบายท้อง ช่วยให้ระบบขับถ่ายคล่องตัว
และในการทาน้าหมักกล้วยไข่นี้ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นแนวทางในการดาเ
นินงาน ซึ่งมีวัตถุประสงค์อยู่ด้วยกันสองข้อคือประการแรกคือนาน้าหมักกล้ว
ยไข่ที่หมักไว้ 3 เดือน ไปใช้แช่เท้ากับกลุ่มตัวอย่างจานวน 6 คน เพื่อศึกษา
คุณสมบัติของน้าหมักในการดับกลิ่นเท้า พบผลที่เป็นไปในทางที่ดีคือน้าหมัก
กล้วยไข่ใช้ดับกลิ่นเท้าได้ดีอย่างที่คาดไว้ ซึ่งใช้เวลาในการทาการทดลองเพีย
ง 1 สัปดาห์ สิ่งที่พบและผลที่เกิดคือทาให้กลิ่นเท้าที่เคยมีจางหายและเมื่อใช้เป็
นประจาอย่างต่อเนื่องจะทาให้กลิ่นเท้าหายจากกลิ่นที่ไม่พึงประสงค์ได้ ในประ
การที่สองคือนาน้าหมักกล้วยไข่ที่หมักไว้ 3 เดือน ไปใช้ล้างจานที่บ้านของสม
าชิกในกลุ่ม คนละ 6 ใบ เป็นจานวน 5 ครั้ง ในการทดลองนี้จะเห็นผลได้ชัด
เมื่อทดลองเป็นครั้งแรกเพราะคราบมันที่เกาะอยู่กับจานหลุดออกอย่างง่ายดาย
แต่กลิ่นคาวยังคงติดอยู่ จึงมีการปรับเปลี่ยนแนววิธีการทดลองและประสบผล
สาเร็จได้อย่างดีทีเดียวภายหลังการปรับเปลี่ยนแนวการทดลองจนกระทั่ง ครา
บมันและกลิ่นคาวที่ติดอยู่กับจานชามหายไปถือเป็นผลที่เกิดกับการทดลองที่ดี
อย่างมาก
บทที่ 1
บทนา
ที่มาและความสาคัญ
จากการเรียนรู้และศึกษาการทาน้าหมัก และได้เปิดพบรายการทีวีที่มีรา
ยการของป้ าเชง ที่มีชื่อรายการว่า “Super
Cheng” โดยมีการแนะนาการทาน้าหมักชีวภาพและบอกถึงคุณค่ารวมทั้งปร
ะโยน์ที่ได้รับจากการทาน้าหมักชีวภาพ เช่น การใช้บารุงร่างกาย บารุงผิพรรณ
บาบัดโรค บาบัดน้าเสีย ใช้ดับกลิ่น
ในที่ต่าง ๆ และยังพบตัวอย่างจากหนังสือ
ที่มีเรื่องเกี่ยวกับการทาน้าหมักชีวภาพและบอกถึงคุณค่าและประโยชน์ของน้า
หมัก
จากข้อมูลดังกล่าวจึงได้จัดทาโครงงานและลงมือทาอย่างจริงจัง โดยรว
บรวมข้อมูลจากหลายแห่งหลายด้าน
เช่น จากอินเตอร์เน็ต หนังสือวารสาร รายการทีวี รวมถึงจากผู้ปฏิบัติจริงใน
ชุมชนและคุณครูที่ให้คาปรึกษา จึงได้มีการจัดทาน้าหมักชีวภาพที่ใช้วัตถุดิบจ
าก “กล้วยไข่”
ดังที่กล่าวไว้ในบทข้างต้นทางผู้จัดทาเห็นถึงประโยชน์หลายด้านที่เป็นผ
ลจากการใช้น้าหมัก
อันส่งผลที่เห็นได้ชัดจากชุมชน โรงเรียน และจากการสารวจผู้ใช้ พบว่าการใ
ช้แล้วมีผลดีเป็ นอย่างมาก โดยน้าหมักชีวภาพยังมีคุณประโยชน์ทั้งในด้านการ
เกษตร และใช้ในครัวเรือน
นับว่าเป็ นสิ่งที่สามารถนามาใช้ได้อย่างดีของผู้ที่เห็นถึงความสาคัญของสรรพคุ
ณและประโยชน์ของน้าหมัก
กล้วยอุดมด้วยน้าตาลธรรมชาติ 3 ชนิด คือ ซูโครส ฟรุคโทส และ กลูโคส
รวมกับเส้นใยและกากอาหาร
กล้วยจะช่วยเสริมเพิ่มพลังงานให้กับร่างกายทันทีทันใด
จากงานวิจัยพบว่ากินกล้วยแค่ 2 ผล ก็สามารถเพิ่มพลังงานให้อย่างเพียงพอ
กับการออกกาลังกายอย่างเต็มที่ได้นานถึง 90 นาที
ประโยชน์ของกล้วยไม่ใช่เพียงแค่เพิ่มพลังงานเท่านั้น ยังช่วยเอาชนะ
และป้ องกันโรคต่างๆที่จะเกิดกับร่างกายได้อีกหลายโรค เช่น โรคโลหิตจาง
โรคความดันโลหิตสูง กาลังสมอง โรคท้องผูก โรคความซึมเศร้า อาการเสีย
ดท้องความรู้สึกไม่สบายในตอนเช้า ยุงกัด ระบบประสาท โรคลาไส้เป็นแผล
การควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย ความสับสนของอารมณ์เป็ นครั้งคราว ควา
มเครียด เส้นเลือดฝอยแตก โรคหูด
วัตถุประสงค์
1. เพื่อนาน้าหมักกล้วยไข่ที่หมักไว้ 3 เดือน ไปใช้แช่เท้ากับกลุ่มตัวอ
ย่างจานวน 6 คน เพื่อศึกษาคุณสมบัติของน้าหมักในการดับกลิ่นเท้
า
2. เพื่อนาน้าหมักกล้วยไข่ที่หมักไว้ 3 เดือน ไปใช้ล้างจานที่บ้านของส
มาชิกในกลุ่ม คนละ 6 ใบ เป็นจานวน 5 ครั้ง
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
คุณค่ารวมทั้งประโยน์ที่ได้รับจากการทาน้าหมักชีวภาพ เช่น
การใช้บารุงร่างกาย บารุงผิพรรณ บาบัดโรค บาบัดน้าเสีย
ใช้ดับกลิ่นในที่ต่าง ๆ และยังพบตัวอย่างจากหนังสือ
ที่มีเรื่องเกี่ยวกับการทาน้าหมักชีวภาพและบอกถึงคุณค่าและประโยชน์ของน้า
หมัก
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
จุลินทรีย์เป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กมาก
อาจพบเกือบทุกหนทุกแห่งในธรรมชาติ ในอากาศที่เรา หายใจเข้าไป
ในอาหารที่เรากิน ที่ผิวหนังของร่างกาย ในทางเดินอาหาร ในปาก
จมูกหรือช่องเปิดต่างๆ ของร่างกาย
แต่ยังเป็นความโชคดีของเราเพราะจุลินทรีย์ส่วนใหญ่มีคุณประโยชน์ต่อสรรพ
สิ่งมีชีวิตทั้ง มวลในโลก ทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม
จุลินทรีย์เป็นตัวการทาให้เกิดกระบวนการหมัก ผลผลิตที่ได้ จากการหมักนั้น
ในที่นี้เราขอเรียกว่า “น้าหมักชีวภาพ”
น้าหมักชีวภาพ
การนาเอาพืช ผัก ผลไม้ สัตว์ชนิดต่าง ๆ
มาหมักกับน้าตาลทาให้เกิดจุลินทรีย์
ที่เป็ นประโยชน์จานวนมากซึ่งจุลินทรีย์เหล่านี้จะไปช่วยสลายธาตุอาหารต่าง ๆ
ที่อยู่ในพืช
มีคุณค่าในแง่ของธาตุอาหารพืชเมื่อถูกย่อยสลายโดยกระบวนการย่อยสลายขอ
งแบคทีเรียหรือจุลินทรีย์สารต่างๆ จะถูกปลดปล่อยออกมา เช่นโปรตีน
กรดอะมิโน กรดอินทรีย์ ธาตุอาหารหลัก ธาตุอาหารรอง จุลธาตุ
ฮอร์โมนเร่งการเจริญเติบโต เอนไซม์ วิตามิน
ซึ่งพืชสามารถนาไปใช้ในการเจริญเติบโตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
น้าหมักชีวภาพ มี 2 ประเภท คือ
1. น้าหมักชีวภาพจากพืช ทาได้โดยการนาเศษพืชสด
ผสมกันน้าตาลทรายแดง หรือกากน้าตาลอัตราส่วน กากน้าตาล 1 ส่วน
พืชผัก 3 ส่วน หมักรวมกันในถังปิดฝา หมักทิ้งไว้ประมาณ 3-
7 วันหรือหมักไว้เป็ นปี เราจะ ได้ของเหลวข้น ๆ สีน้าตาล ซึ่งเราเรียกว่า
น้าหมักชีวภาพจากพืช
2. น้าหมักชีวภาพจากสัตว์ มีขั้นตอนทาคล้ายกับน้าหมักจากพืช
แตกต่างกันตรงวัตถุดิบจากสัตว์ เช่น หัวปลา ก้างปลา หอยเชอรี่ เป็นต้น
เคล็ดลับในการทาน้าหมักให้ได้ผลดี
1 . ควรเลือกใช้เศษพืชผัก ผลไม้ หรือเศษอาหารที่ยังไม่บูดเน่า
สับหรือบดให้เป็นชิ้นเล็ก ๆ ใส่ใน ภาชนะที่มีปากกว้าง เช่นถังพลาสติก
หรือโอ่ง หากมีน้าหมักชีวภาพอยู่แล้วให้เทผสมลงไปแล้วลด
ปริมาณกากน้าตาลลง ปิดฝาภาชนะทิ้งไว้ จนได้เป็ นน้าหมักชีวภาพ
จากนั้นกรอกใส่ขวดปิดฝาให้สนิท รอการใช้งานต่อไป
2. ในระหว่างการหมัก
ห้ามปิดฝาภาชนะจนแน่นสนิทเพราะอาจทาให้ระเบิดได้เนื่องจากระหว่าง การ
หมักจะเกิดก๊าชต่าง ๆ ขึ้น เช่นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซมีเทน เป็ นต้น
3.ไม่ควรเลือกพืชจาพวกเปลือกส้ม ใช้ทาน้าหมัก
เพราะมีน้ามันที่ผิวเปลือกจะทาให้จุลินทรีย์ไม่ย่อยสลาย
กล้วยไข่
ชื่อพื้นเมือง :กล้วยไข่
ชื่อวิทยาศาสตร์ :Musa acuminata Colla
ชื่อวงศ์ :MUSACEAE
ชื่อสามัญ :-
สรุปลักษณะและข้อมูลพันธุ์ไ
ม้ :
ไม้ล้มลุก ขึ้นบนบกในที่กลางแจ้ง
ความสูง 1.2 เมตร ความกว้าง 1 เมตร
รูปร่างคล้ายรูปร่ม
ลาต้นอยู่ใต้ดินมีลักษณะเป็นหัว
ผิวของลาต้นเรียบ เห็นข้อปล้องชัดเจน
ต้นอ่อนมีสีขาว ต้นแก่สีน้าตาล มียางใส
ใบเป็นใบเดี่ยว ใบอ่อนมีสีเขียว
ใบแก่มีสีน้าตาล แผ่นใบกว้าง 30 -
45 เซนติเมตร ยาว 100 - 200 เซนติเมตร
ใบจะแผ่กว้างยาว
การเรียงตัวของใบเรียงแบบสลับ
แผ่นใบรูปแถบปลายใบม้วน โคนใบรูปลิ่ม
ขอบใบเรียบ
ประโยชน์ :ปลูกเป็นไม้ผล
ผลแก่รับประทานเป็ นผลไม้หรือทาอาหารหวา
น
รูปภาพที่เกี่ยวข้อง :
กล้วยไข่เป็ นผลไม้ที่นิยมผู้บริโภคกันทั่วไป เนื่องจากมีรสชาติดี
ลักษณะการเรียงตัวของผลและสีผลสวยสะดุดตา
ปัจจุบันส่งออกจาหน่ายต่างประเทศมากขึ้น ตลาดที่สาคัญคือ จีน และฮ่องกง
กล้วยไข่เป็ นพืชที่สามารถปลูกได้แทบทุกภาคของประเทศ
ในพื้นที่ปลูกที่มีการจัดการการผลิตเพื่อให้ได้ทั้งปริมาณ
และผลผลิตตรงตามมาตรฐานคุณภาพ ตลาดต้องการ
ปัญหาสาคัญที่มีผลต่อคุณภาพของผลผลิตคือ การปนเปื้อนของ
สารป้ องกันกาจัดศัตรูพืช ซึ่งอาจทาให้เกิดปัญหาต่อสุขอนามัยของผู้บริโภค
ตลอดจนการปนเปื้อนสู่สิ่งแวดล้อมในระยะยาว
ดังนั้นกระบวนการผลิตจึงต้องมีการปฏิบัติอย่างถูกต้องและเหมาะสม
แหล่งปลูกที่เหมาะสม
สภาพพื้นที่:
- พื้นที่ดอน หรือพื้นที่ราบ ไม่มีน้าท่วมขัง
- ความสูงจากระดับน้าทะเลไม่เกิน 1,200 เมตร
- มีแหล่งน้าธรรมชาติ หรืออยู่ในเขตชลประทาน
- การคมนาคมสะดวก
ลักษณะดิน:
- ดินร่วน, ดินร่วนเหนียว หรือดินร่วนปนทราย
- มีความอุดมสมบูรณ์สูง ระบายน้าดี
- ระดับน้าใต้ดินลึกมากกว่า 75 เซนติเมตร
- ค่าความเป็นกรดด่างของดินระหว่าง 5.0-7.0
สภาพภูมิอากาศ:
- อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต ระหว่าง 25-
35 องศาเซนเซียส
- ปริมาณน้าฝนไม่น้อยกว่า 1,200 มิลลิเมตรต่อปี
- ไม่มีลมแรงพัดผ่านเป็นประจา
- มีแสงแดดจัด
แหล่งน้า:
- มีน้าใช้เพียงพอตลอดฤดูปลูก
- เป็นแหล่งน้าสะอาด ค่าความเป็นกรดด่างของน้าระหว่าง 5.0-
9.0
พันธุ์
กล้วยไข่มี 2 สายพันธุ์ คือ กล้วยไข่สายพันธุ์กาแพงเพชร
และกล้วยไข่พระตระบอง
พันธุ์ที่นิยมปลูกเป็นการค้าคือ กล้วยไข่สายพันธุ์กาแพงเพชร
1. กล้วยไข่สายพันธุ์กาแพงเพชร
ลักษณะกาบใบเป็นสีน้าตาลหรือช๊อกโกแลต
ร่องก้านใบเปิดและขอบก้านใบขยายออก ใบมีสีเหลืองอ่อน ไม่มีนวล
ก้านเครือมีขนขนาดเล็ก ผิวเปลือกผลบาง ผลเล็ก เนื้อมีสีเหลือง รสชาติหวาน
2. กล้วยไข่พระตะบอง
ลักษณะกาบใบเป็นสีน้าตาลปนดา สีของใบเข้มกว่าสายพันธุ์กาแพงเพชร
รสชาดจะออกหวานอมเปรี้ยว
และผลมีขนาดใหญ่กว่ากล้วยไข่สายพันธุ์กาแพงเพชร
การปลูก
การเตรียมดิน:
- วิเคราะห์ดิน
เพื่อประเมินค่าความอุดมสมบูรณ์ของธาตุอาหารพืชในดิน
และความเป็นกรดด่างของดิน ปรับสภาพดินตามคาแนะนาก่อนปลูก
- ไถพรวน ตากดินทิ้งไว้ประมาณ 1 เดือน
เพื่อลดการระบาดของศัตรูพืช
- คราดเก็บเศษวัชพืชออกจากแปลง
ฤดูปลูก:
- ช่วงเวลาการปลูก ในเขตภาคเหนือตอนล่าง
ประมาณเดือนกันยายนถึงพฤศจิกายน
วิธีการปลูก:
- ปลูกด้วยหน่อใบแคบที่มีความสมบูรณ์ดี
- เตรียมหลุมปลูกขนาด 50x50x50 เซนติเมตร
- รองก้นหลุมด้วยปุ๋ ยคอกอัตรา 5 กิโลกรัมต่อหลุม
คลุกเคล้ากับหน้าดินรองก้นหลุมปลูกถ้ามีการไว้หน่อ
(ratoon) เพื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตต่อไปอีก 1-2 รุ่น ควรรองก้นหลุมด้วย
หินฟอสเฟต อัตรา 100-200 กรัม/หลุม
- ระยะปลูก (1.5-1.75) x2 เมตร
เป็นการปลูกเพื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตเพียงครั้งเดียว
แล้วรื้อปลูกใหม่ 2x2 เมตรเป็นการปลูกสาหรับไว้ตอหรือหน่อ
(ratoon) เพื่อที่จะเก็บเกี่ยวผลผลิตของหน่อ (ratoon) อีก 1-2 รุ่น
- การปลูก วางหน่อพันธุ์ที่หลุมปลูกให้ลึก 25-30 เซนติเมตร
โดยจัดวางหน่อพันธุ์ให้ด้านที่ติดกับต้นแม่อยู่ในทิศทางเดียวกัน
กลบดินลงหลุมปลูกและกดดินบริเวณโคนต้นให้แน่น แล้วรดน้าให้ชุ่ม
การดูแลรักษา
การพรวนดิน:
ภายหลังปลูกกล้วยไข่ประมาณ 1 เดือนควรรีบทาการพลิกดินให้ทั่
วทั้งแปลงปลูก เพื่อให้ดินเก็บความชื้นจากน้าฝนไว้ให้มากที่สุด
และเป็นการกาจัดวัชพืชไปด้วย ขณะที่รากกล้วยยังขยายไปไม่มากนัก
การกาจัดวัชพืช:
ควรกาจัดวัชพืชปีละ 3 ครั้ง ครั้งแรกพร้อม ๆ กับการพลิกดิน
ส่วนครั้งที่ 2 และ 3 ให้พิจารณา จากปริมาณวัชพืช
แต่จะทาก่อนที่ต้นกล้วยตกเครือ
การให้ปุ๋ ย:
ใส่ปุ๋ ยอินทรีย์ 1 ครั้ง เช่น ปุ๋ ยคอกหรือปุ๋ ยหมักก่อนปลูกอัตรา 3-
5 กิโลกรัมต่อหลุม ใส่ปุ๋ ยเคมี 4 ครั้ง
ครั้งที่ 1 และ 2 เป็นระยะที่กล้วยมีการเจริญเติบโตทางลาต้น
ใส่ปุ๋ ยเคมีสูตร 20-10-10 หรือ 15-15-15 อัตรา 125-
250 กรัมต่อต้นต่อครั้ง หลังจากปลูก 1 และ 3 เดือน
การให้ปุ๋ ยเคมีครั้งที่ 3 และ 4 จะให้ปุ๋ ยเคมีภายหลังจากปลูก 5 และ 7 เดือน
ซึ่งเป็ นระยะที่กล้วยใกล้จะให้ผลผลิต จะให้ปุ๋ ยเคมีสูตร 12-12-24, 13-13-
21 หรือ 14-14-21 อัตรา 125-250 กรัมต่อต้นต่อครั้ง วิธีการใส่ปุ๋ ยเคมี
โรยห่างจากต้นประมาณ 30 เซนติเมตร
หรือใส่ลงในหลุมลึกประมาณ 10 เซนติเมตร 4 ด้าน แล้วพรวนดินกลบ
การให้น้า:
ในฤดูฝน เมื่อฝนทิ้งช่วง เมื่อสังเกตหน้าดินแห้งและเริ่มแตก
ควรรีบให้น้าในฤดูแล้งเริ่มให้น้าตั้งแต่หมดฝน ประมาณปลายเดือนมกราคม-
พฤษภาคมหรือใช้วิธีปล่อยให้น้าไหลเข้าไปในแปลงย่อยเป็นแปลง ๆ
เมื่อดินมีความชุ่มชื้นดีแล้ว จึงให้แปลงอื่นต่อไป
บทที่ 3
การดาเนินงาน
วิธีทาน้าหมักชีวภาพ
การดาเนินการโครงงานแบ่งออกเป็น 4 ระยะ ดังนี้
ระยะที่ 1 รวบรวมข้อมูลในการทาโครงงานน้าหมักกล้วยไข่
ระยะที่ 2 นาข้อมูมาสรุปผลและทาการหมักน้าหมักกล้วยไข่
ระยะที่
3 นาผลที่ได้จากการหมักกล้วยไข่ไปใช้ประโยชน์ตามจุดประสงค์ที่วางไว้
ระยะที่ 4 สรุปผลและการทดลองที่ได้
ระยะที่ 1 รวบรวมข้อมูลในการทาโครงงานน้าหมักกล้วยไข่
ได้จัดแบ่งหน้าที่ในการจัดเก็บและรวบรวมข้อมูลพร้อมกับการเตรียมวัส
ดุอุปกรในการทาน้าหมักชีวภาพ โดยอาศัยการแนะนาและให่คาปรึกษาจากคุ
ณครูวิรัตน์
ระหว่างบ้าน เป็นผู้ให้คาแนะนาและแนวทางการดาเนินงาน สาหรับข้อมูลที่
ต่างฝ่ายต่างไปเก็บมาจากหลายแหล่งที่มาทั้งในห้องสมุดโรงเรียน อินเตอร์เน็
ต วารสารต่างๆ และได้ศึกษาพร้อมจัดเตรียมอุปกรณ์ในการทาน้าหมัก เพื่อ
ให้การทาน้าหมักเกิดผลดีและมีประสิธิภาพ และยังศึกษาสูตรและปริมาณของ
การทาน้าหมัก โดยพบสูตรที่เป็นมาตรฐาน คือ 3 : 1 :
5 ซึ่งเป็ นสูตรมาตรฐานที่ใช้ในการหมัก โดยในสูตรมาตรฐานนี้มีความหมาย
คือ
ในส่วนแรกจะหมายถึงส่วนของวัตถุดิบที่จะนามาหมัก ส่วนที่สองหมายถึงน้า
ตาล(ในที่นี้ใช้น้าตาลอ้อย)
และส่วนที่สามหมายถึงส่วนของน้าเปล่า และได้จัดหางบประมาณโดยเรียกเก็
บจากสมาชิกภายในกลุ่มเพื่อจัดซื้อวัตถุดิบและวัสดุอุปกรณ์ในการทาน้าหมัก
โดยมีรายละเอียดดังนี้
งบประมาณ
จานวน 100 บาท ได้มาจากการรวบรวมจากกลุ่ม โดยนาไปลงทุนในการซื้
ออุปกร ดังนี้
น้าหมักชีวภาพ “กล้วยไข่”
ที่ รายการซื้อ จานวน ราคา รวมเงิน
1. กล้วยไข่ 1 กก. 20 20
2. น้าตาลอ้อย 0.5 กก. 36 18
3. น้า 2 ลิตร 1 2
4. ถังหมัก 5 ลิตร 50 50
5. อื่นๆ - - -
รวมเป็ นเงิน 90
ยอดคงเหลือ 10
ระยะที่ 2 นาข้อมูมาสรุปผลและทาการหมักน้าหมักกล้วยไข่
หลังจากการเก็บรวบรวมข้อมูลมาแล้ว ได้นาข้อมูลที่เก็บได้ดังกล่าวมาสรุ
ปและวิเคราะ เพื่อเป็นแนวทางในการดาเนินงานและเพื่อให้เกิดงานที่มีประสิ
ทธิภาพ โดยจะนาข้อมูลของแต่ละบุคคลที่ได้มอบหมายและแบ่งหน้าที่ให้ไปห
าข้อมูล และใช้ข้อมูลการทานาหมักมาเรียบเทียบเพื่อหาสูตรการทาน้าหมักแล
ะวัสดุอุถปกรณ์ต่างๆที่ต้องใช้ในการทาน้าหมัก
น้าหมักชีวภาพ(เอนไซม์) ใช้ดื่มกินเป็ นสารโปรตีน
วิตามินเอ, บี, ซี, ดี, อี, เค, อะมิโนแอซิค(Amino acid) และ อะเซทิลโคเอ
(Acetyl Coa) ที่ได้จาก หมักผลไม้นานาชนิด โดยมี จุลินทรีย์ท้องถิ่น
หลากหลายชนิด ปะปนอยู่ใน กระบวนการหมัก เพื่อเปลี่ยนผลไม้ + น้าผึ้ง +
น้า ระยะเริ่มแรกเป็ นแอลกอฮอล์ ระยะต่อมา เป็นน้าส้มสายชู (รสเปรี้ยว)
อีกระยะหนึ่งเป็ นยาธาตุ (รสขม) ในที่สุดเป็ นน้าหมักชีวภาพ (เอ็นไซม์)
ซึ่งใช้เวลาหมักขยายประมาณ ๒ ปี
กรณีจะนาไปดื่มกินควรผ่านการหมักขยายเป็นเวลา ๖
ปีขึ้นไป แต่ในการทาน้าหมักนี้ได้ทาขึ้นเป็ นชุดแรกและทาในระยะเวลาที่จากั
ด จึงได้จัดทาเพื่อนามาทดลองที่เป็นการทดลองที่พอจะเห็นผล โดยจะเก็บน้า
หมักนี้เพื่อให้รุ่นต่อไปได้จัดทาและดาเนินงานต่อ
วัสดุอุปกรณ์ในการทา
1. กล้วยไข่
2. น้าตาลอ้อย
3. น้าถังหมัก
4. ไม้พาย
5. เครื่องชั่ง
6. อุปกรณ์ตวง
การทาน้าหมักกล้วยไข่
โดยการนาวัดถุดิบและวัสดุอุปกรณ์ที่เตรียมไว้ ล้างทาความสะอาดเช็ดใ
ห้แห้งแล้วนาเอา
กล้วยไข่ 6 ส่วน น้าตาล 2 ส่วน น้า 10 ส่วน ใส่รวมกันในถัง
ที่มีฝาปิดสนิทอย่าให้อากาศเข้า โดยเว้นที่ว่างไว้ประมาณ 1 ใน 5 ของถัง
1. ล้างกล้วยไข่ที่เตรียมไว้จานวน 1 กิโลกรัม
2. นากล้วยไข่ที่ล้างแล้วมาใส่ในถังหมักขนาด 2 ลิตร แล้วเทน้าตาลอ้อย 0.5
กิโลลงในถังบนกล้วย
3. เทนาเปล่าจานวน 2ลิตร ลงบนกล้วยและน้าตาลที่เตรียมไว้ในถังหมัก
4. กวนส่วนผสมเล็กน้อยให้ทุกอย่างเข้ากันและเพื่อให้น้าตาลละลาย
แล้วปิดผานาไปเก็บ
ระยะที่ 3 นาผลที่ได้จากการหมักกล้วยไข่ไปใช้ประโยชน์ตาม
จุดประสงค์ที่วางไว้
1. เพื่อนาน้าหมักกล้วยไข่ที่หมักไว้ 3 เดือน ไปใช้แช่เท้ากับกลุ่มตัวอ
ย่างจานวน 6 คน เพื่อศึกษาคุณสมบัติของน้าหมักในการดับกลิ่นเท้า
2. เพื่อนาน้าหมักกล้วยไข่ที่หมักไว้ 3 เดือน ไปใช้ล้างจานที่บ้านของส
มาชิกในกลุ่ม คนละ 6 ใบ เป็นจานวน 5 ครั้ง
น้าหมักกล้วยไข่ดับกลิ่นเท้า
กระบารการ
กลุ่มผู้จัดทามีสมาชิกรวมทั้งสิ้น 6 คน โดยได้เสนอแ
นวทางและปรึกษาหาปัญหาที่ต้องการทดลอง ได้มีข้อเสนอหลายประการ เช่
น ซักผ้า ล้างหน้า สระผม เป็นต้น แต่ในข้อเสนอเหล่านี้เป็ นเพียงข้อเสนอเ
พื่อเป็นแนวทางและเพื่อเป็นแนวคิดสาหรับการดาเนินงาน และสุดท้ายได้มีข้
อเสนอที่ว่า ใช้น้าหมักในการดับกลิ่นเท้า จึงได้ร่วมกันพิจารณา หาบุคคลทด
สองซึ่งได้สอบถามกับสมาชิกภายในกลุ่มเพื่อหาบุคคลตัวอย่างเพื่อมาทดลองใ
นการทาการทดลอง น้าหมักกล้วยไข่ดับกลิ่นเท้า และผลสรุปที่ออกมาคือสมา
ชิกได้เสนอให้มีการทดลองกับสมาชิกภายในกลุ่ม ซึ่งสมาชิกต่างก็มีความคิดเ
ห็นที่ตรงกันจึงได้มีการทดลอง น้าหมักกล้วยไข่ดับกลิ่นเท้า โดยมีการทดลอง
ดังนี้
การทดลอง “น้าหมักดับกลิ่นเท้า”
การทดลองจะใช้การทดลองเป็นเวลา 1 สัปดาห์ และใช้บุคคลทดลองจา
นวน 6 คน ซึ่งแต่ละคนเป็ นสมาชิกภายในกลุ่มได้แบ่งให้ไปทดลองแล้วนากา
รทดลองของแต่ละบุคคลมาประเมิณและบันทึกผลการทดลอง
อุปกรณ์
1. น้าหมัก
2. น้าสะอาด
3. อ่างแช่เท้า
วิธีการทดลอง
การทดลองมีระยะเวลา 1 สัปดาห์ โดยเริ่มการทดลองตั้งแต่วัน
ที่ 2 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 ถึง วันที่ 8 เดือน
กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 โดยมีการดาเนินการดังนี้
ตาราง แสดงการดาเนินงานการทดลอง “น้าหมักกล้วยไข่ดับกลิ่นเท้า”
บุคคลทดลอ
ง
วิธีการทดลอง
ระยะเวลาการทดล
อง
นายกิตติกวิ
น สเลอาด
ใช้น้าหมักกล้วยไข่ในปริมาณ 200 มิล
ลิลิตร ต่อ น้า 3 ลิตร
ผสมรวมกันในอ่างแล้วนาเท้าลงไปแช่ใน
อ่าง แช่ทิ้งไว้ 5-10 นาที
2-
8 กุมภาพันธ์ 25
56
นายกิตติกวิ
น สเลอาด
ใช้น้าหมักกล้วยไข่ในปริมาณ 200 มิล
ลิลิตร ต่อ น้า 3 ลิตร
ผสมรวมกันในอ่างแล้วนาเท้าลงไปแช่ใน
อ่าง แช่ทิ้งไว้ 5-10 นาที
2-
8 กุมภาพันธ์ 25
56
นายกิตติกวิ
น สเลอาด
ใช้น้าหมักกล้วยไข่ในปริมาณ 200 มิล
ลิลิตร ต่อ น้า 3 ลิตร
ผสมรวมกันในอ่างแล้วนาเท้าลงไปแช่ใน
อ่าง แช่ทิ้งไว้ 5-10 นาที
2-
8 กุมภาพันธ์ 25
56
นายกิตติกวิ
น สเลอาด
ใช้น้าหมักกล้วยไข่ในปริมาณ 200 มิล
ลิลิตร ต่อ น้า 3 ลิตร
ผสมรวมกันในอ่างแล้วนาเท้าลงไปแช่ใน
อ่าง แช่ทิ้งไว้ 5-10 นาที
2-
8 กุมภาพันธ์ 25
56
นายกิตติกวิ
น สเลอาด
ใช้น้าหมักกล้วยไข่ในปริมาณ 200 มิล
ลิลิตร ต่อ น้า 3 ลิตร
ผสมรวมกันในอ่างแล้วนาเท้าลงไปแช่ใน
อ่าง แช่ทิ้งไว้ 5-10 นาที
2-
8 กุมภาพันธ์ 25
56
นายกิตติกวิ
น สเลอาด
ใช้น้าหมักกล้วยไข่ในปริมาณ 200 มิล
ลิลิตร ต่อ น้า 3 ลิตร
ผสมรวมกันในอ่างแล้วนาเท้าลงไปแช่ใน
อ่าง แช่ทิ้งไว้ 5-10 นาที
2-
8 กุมภาพันธ์ 25
56
น้าหมักกล้วยไข่ดับกลิ่นคาวที่ติดกับจาน
กระบวนการ
เป็ นปัญหาที่ฉุกคิดขึ้นมา เนื่องจากรับประทานอาหาร เช่น ปลา
เนื้อวัว หรืออาหารทะเล ที่มีกลิ่นคาวของอาหารติดกับจานและช้อนรวมทั้งติ
ดมือ ซึ่งหลานคนไม่ค่อยชอบและไม่ถูกใจกับจานช้อนที่มีกลิ่นคาวมาก เพรา
ะจะทาให้อาหารมื้อนั้นๆ หมดความอร่อยและหมดอารมณ์ในการทานอาหาร
อุปกรณ์
1. น้าหมักกล้วยไข่ 200 มิลลิลิตร
2. อ่างล้างจาน 3 อ่าง
4. จานที่ใช้รับประทานอาหารแล้วแล้ว (ใช้จาน 5 ใบ)
การทดลอง
การทดลองน้าหมักกล้วยไข่ใช้ดับกลิ่นคาวในภาชนะ
มีการดาเนินงานโดยจะใช้เวลา 1 สัปดาห์ในการทดลอง โดยเริ่มวันที่ 2 เดือ
น กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 ถึง วันที่ 8 เดือน กุมภาพันธ์
พ.ศ. 2556 โดยมีการทดลองและดาเนินงานดังนี้
1. เมื่อรับประทานอาหารเสร็จแล้วให้นาจานจานวน 5 ใบแยกไว้เ
พื่อทดลอง
2. ผสมน้าหมักกล้วยไข่ในอ่างล้างจาน
ใช้ปริมาณน้าหมัก 100 มิลลิลิตร ต่อ น้า 5 ลิตร
3. ใช้จาน 5 ใบที่แยกไว้
นามาแช่ในน้าหมักเป็นเวลาประมาณ 5-10 นาที
4. ถูจานและล้างด้วยน้าเปล่าอย่างน้อย 2-3 น้า
แล้วน้าไปเช็ดให้แห้ง
5. ทดสอบกลิ่นแล้วบันทึกผล
บทที่ 4
ผลการดาเนินงาน
การดาเนินงานที่ผ่านมาทางกลุ่มผู้จัดทาได้ใช้ผลผลิตที่ได้จากการ
หมักกล้วยไข่มีผลการดาเนินการตามที่วางเป้ าหมายไว้ในจุดประสงค์
การติดตามบันทึกผลการเปลี่ยนแปลงของน้าหมักกล้วยไข่
1. วันแรกที่เริ่มทา วันที่ 16 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
นาเป็นสีน้าตาลเข้มอมดาเล็กน้อย กล้วยลอยบ้างจมบ้า
งเป็นบางผล กลิ่นหอมน้าตาลอ้อย และการรวมรวมของทุกอย่างยังไม่มีการเ
ปลี่ยงแปลง
2. สัปดาห์ที่ 1 วันที่ 23 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
พบว่าน้าตาลที่เป็ นเนื้อเดียวกับน้ามีการเปลี่ยนแปลง โ
ดยการเปลี่ยนแปลงที่พบคือน้าตาลเริ่มตกตะกอน สีของน้าเปลี่ยนจากสีน้าตาล
เข้มอมดาเริ่มเป็นสีน้าตาลเข้มปกติ กล้วยลอยตัวทุกผล
3. สัปดาห์ที่ 2 วันที่ 30 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
หลังจากผ่านมา 2 สัปดาห์ พบว่าตะกอนก้นถังเห็นชั
ดมากขึ้นซึ่งตะกอนที่เกิดเป็ นตะกอนจากน้าตาล สีของน้ายังคงเป็นสีน้าตาลป
กติ กล้วยลอยตัวและเรียงตัวกันแบบแนบชิดเป็นระเบียบ
4. สัปดาห์ที่ 3 วันที่ 7 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2555
พบการตกตะกอนของน้าตาลอย่างชัดเจน สีของน้าเป็
นสีน้าตาลและสีของน้าเริ่มไล่ระดับสีจากใต้ถังซึ่งมีตะกอนและสีจะเข้มมากจา
กใต้ถังขึ้นมาเรื่อยๆ น้าเริ่มมีสีอ่อนลงและจะมีความใสของน้าเมื่อถึงบริเวฌเห
นือผิวน้า กล้วยยังคงเป็นปกติ แต่เริ่มมีกลิ่นที่คล้ายกลิ่นเปรี้ยวออกมาเล็กน้อย
5. สัปดาห์ที่ 4 วันที่ 14 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2555
ในสัปดาห์นี้พบว่าตะกอนที่อยู่ใต้ถังมีสีเข้มจนมองเห็น
เป็นสีที่คล้ายสีดาและเหนือตะกอนเป็นสีขาวขุ่นใสๆ น้าในถังมีความใสและด
ปร่งแสงมากขึ้นสีของน้าเป็ นสีน้าตาลไม่ค่อยเข้มมากนัก กล้วยและเหนือผิว
น้าเริ่มมีผังผืดที่มีเส้นโยงต่อกันคล้ายใยแมงมุมแต่ยังมองเห็นไม่ค่อยชัด กลิ่น
ของน้ามีกลิ่งแรงมากกว่าสัปดาห์ที่ผ่านมา เริ่มมีไอน้าก่อตัวอยู่กับฝาถัง
6. สัปดาห์ที่ 5 วันที่ 21 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2555
พบว่าตะกอนใต้ถังมีสีเข้มและมีปริมาณมากเหนือชั้นข
องตะกอนมีสีขาวขุ่นๆ น้ามีความใส้ซึ่งจะเป็ นสีน้าตาลใส เหนือผิวน้าและกล้ว
ยมีผังผืดที่เริ่มชัดเจนจนสังเกตได้ว่าผังผืดที่ขึ้นเป็ ราขาวซึ่งเกาะอยู่บริเวณกล้ว
ยและโยงเชื่อมต่อกัน มีกลิ่นฉุนและแรงมากกว่าเดิม มีน้าฝาถังจนสังเกตได้ชั
ดเจน
7. สัปดาห์ที่ 6 วันที่ 28 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2555
พบว่าตะกอนใต้ถังแบ่งชั้นกันอย่างชัดเจนโดยตะกอน
ที่มีสีเข้มจะอยู่ใต้สุดและมีความหนามากกว่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
เหนือชั้นผิวตะกอนเป็นสีขาวขุ่นและน้าของน้าหมักเป็นสีน้าตาลใส กล้วยเป็น
สีดาและมีราขาวเกาะรอบๆกล้วยมากจนเห็นได้ชัด มีน้าฝาถังในปริมาณมาก
8. สัปดาห์ที่ 7 วันที่ 4 เดือน มกราคม พ.ศ. 2556
พบว่าตตะกอนที่อยู่ด้างล่างเริ่มมีสีที่กลมกลืนกันและต
ะกอนที่มีสีขาวขุ่นเริ่มกลายเป็นสีน้าตาล น้าเป็นสีน้าตาลใส กล้วยมีสีดาสัมผัส
กล้วยพบว่ากล้วยยังคงมีเนื้อที่แข็งยังไม่เปื่อยยุ่ย เหนือผิวน้ามีราสีขาว กลิ่นข
องน้าหมักมีกลิ่นที่แรงแต่กลิ่นจะมีเอกลักษณ์ของกล้วยไข่ที่หมัก น้าฝาถังมีปริ
มาณที่มากแต่ไม่ได้เก็บ เพราะไม่ได้ใช้ในการทดลอง
9. สัปดาห์ที่ 8 วันที่ 11 เดือน มกราคม พ.ศ. 2556
ตะกอนใต้น้าเริ่มสังเกตยากว่าแยกชั้นกัน
เพราะตะกอนมีสีที่คล้ายกัน น้าก็ยังคงมีสภาพเหมือนในสัปดาห์ที่แล้ว ที่ยังคง
เป็นสีน้าตาลใส กล้วยมีสีดาและราขาวขึ้นรอบๆกล้วย มีกลิ่นหอมของกล้วยซึ่
งไม่ค่อยเหม็นเหมือนที่ผ่านมา น้าฝาถังมีมากและทดลองชิมพบว่ารสชาติของ
น้าฝาถังจะมีรสชาติเปรี้ยวฉุนและมีรสชาติที่เปรี้ยวและเมื่อกลืนเข้าไปจะมีควา
มร้อนผ่าวๆคล้ายกินไวน์ที่มีแอลกอร์ฮอลอ่อนๆ มีกลิ่นหอมของกล้วย รสชาติ
ของน้าหมักจะเปรี้ยวและมีความหวานปนเล็กน้อยพร้องทั้งมีความหอมของกล้
วยไข่ที่ใช้หมัก
10. สัปดาที่ 9 วันที่ 18 เดือน มกราคม พ.ศ. 2556
สาหรับตะกอนและน้าหมักยังคงสภาพเหมือนเดิมจาก
สัปดาห์ที่ผ่านมา แต่กล้วยและราขาวที่เกาะอยู่มีการเปลี่ยนแปลง คือ
กล้วยบางผลเริ่มจมลงใต้น้าและกล้วยมีผิวสัมผัสที่อ่อนนุ่มเปลี่ยนจากเมือตอน
ครั้งแรกๆที่จับส่วนราขาวที่อยู่เหนือน้ามีความหนามากโดยเฉพาะบริเวณรอบ
ๆกล้วย น้าฝาถังมีมากและรสชาติเริ่มมีความแรงขึ้นจากสัปดาห์ที่ผ่านมา รส
ชาติของน้าหมักมีความเปรี้ยวอมหวานและกลิ่นหอมกล้วยออกมามากจนมีคว
ามหอมกล้วยที่โดดเด่น
11. สัปดาห์ที่ 10 วันที่ 25 เดือน มกราคม พ.ศ. 2556
ในสัปดาห์นี้ทางกลุ่มผู้จัดทาสังเกตว่าน้าหมักคงตัวมีคว
ามเปลี่ยนแปลงของน้าลดลง แต่กล้วยที่เหนือผิวน้ายังคงมีการเปลี่ยนแปลง ร
าขาวที่เกาะมีความหนามากขึ้นและกล้วยจะมีบางผลที่มีการจมลงสู้
พื้นล่างของถัง น้าฝาถังมีมากขึ้นจากที่ผ่านมา กลิ่นหอมอ่อนๆที่โดดเด่นด้วย
กล้วยที่ใช้หมัก รสชาติเปรี้ยวอร่อยกินง่ายกว่าเดิม และในสัปดาห์นี้ทางกลุ่มผู้
จัดทาได้มีการเก็บน้าหมักเพื่อมาใช้ในการทดลอง ตามที่วัตถุประสงค์ได้วางไ
ว้
ผลการทดลอง “น้าหมักกล้วยไข่ดับกลิ่นเท้า”
หลังจากการทาน้าหมักแล้ว ได้นาเอาน้าหมักมาทาการทดลองในเรื่องการ
กาจัดกลิ่นที่ไม่พึงประสงค์ท่าเกิดจากร่างการ
ในที่นี้ได้ทดลองใช้น้าหมักกล้วยไข่ดับกลิ่นเท้า โดยมีผลที่เกิดหลังจากการทด
ลอง ดังนี้
วันที่ 2 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
พบข้อเปลี่ยนแปลงคือ
เมือแช่เท้าลงไปในน้าหมักผสมกับน้าแล้วมีผลที่เกิดกับเท้าหลังการแช่ที่ใช้เวล
าประมาณ 5-
10 นาที เท้ามีความนุ่มและสะอาดตั้งแต่ครั้งแรกแต่กลิ่นเท้ายังไม่ค่อยหายมา
กนักและยังมีกลิ่นน้าหมักปนอยู่ด้วย
วันที่ 3 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
พบว่าการเปลี่ยงแปลงของเท้าภายหลังการแช่มีความนุ่มและเท้ามีความสะ
อาดมากขึ้นโดยใช้เวลาในการแช่เท้าประมาณ 5-
10 นาที แล้วน้าเท้าไปล้างน้าเปล่าและให้ผู้ทดสอบทดสอบกลิ่นพบการเปลี่ยน
แปลงจากวันที่ผ่านมา พบว่าเท่าเริ่มมีกลิ่นที่อ่อนลงไม่ค่อยแรงเหมือนครั้งแร
กแต่ยังคงมีกลิ่นของน้าหมักกล้วยไข่ ติดอยู่เช่นเคยแต่มีกลิ่นที่อ่อนกว่า
เพราเมื่อแช่เสร็จแล้วได้นาเอาเท้าผู้ทดลองไปล้างน้าเปล่าแล้วเช็ดให้แห้ง
วันที่ 4 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
พบว่าเท้าที่นาไปแช่นั้นมีความอ่อนนุ่มและสะอาด ในครั้งนี้ใช้เวลาในการ
แช่เท้าประมาณ 5-
10 นาที แต่คราวนี้ไม่ได้ล้างเท้าหลังจากแช่แต่เช็ดเท้าแทน
และผู้ทดลองได้พิสูจน์กลิ่น พบว่ากลิ่นเท้าไม่มีแต่มีกลิ่นอ่อนๆ
ของน้าหมักกล้วยไข่
จึงพบว่าถ้าล้างเท้าด้วยน้าเปล่าหลังแช่แล้วเช็ดให้แห้งจะมีกลิ่นเท้าลดลงและกลิ่
นน้าหมักกล้วยไข่ก็น้อยลง
วันที่ 5 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
พบการเปลี่ยนแลงของการแช่เท้าที่ไม่ค่อยมีอะไรเด่นชัดนักแต่สาหรับกลิ่
นเท้าเริ่มมีการเปลี่ยนแลงเพราภายหลังจากการใช่ต่อเนื่อมาเป็นเวลา 3 วัน
อาการของผู้ที่มีกลิ่นเท้าที่ค่อนข้างแรงในวันนี้หลังจากการแช่เท้าไปเป็นเวลา
10 นาที แล้วล้างด้วยน้าเปล่าและเช็ดเท้าให้แห้งแล้วสอบถามจากผู้ทดลองพบ
ว่ากลิ่นเท้าหายจาอาการกลิ่นเท้าเหม็นแต่ก็ยังคงมีกลิ่นออกมาบ้างยังหายไม่สนิ
ท
วันที่ 6 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
พบการเปลี่ยนแปลงของกลิ่นเท้าที่มีกลิ่นจากวันแรกก่อนทดลองในวันนี้หลั
งจากการทดลองแช่เท้า 10 นาที และนาน้าเปล่ามาล้างหลังจากแช่แล้วนาผ้าม
าเช็ดให้แห้งแล้วสอบถามผู้ทดลองพบว่าอาการกลิ่นเท้าเหม็นมีการลดลงและมี
แนวโน้มที่จะหายจากกลิ่นเท้าที่ไม่พึงประสงค์
วันที่ 7 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
พบการเปลี่ยนแปลงที่เด่นชัดเนื่องจากการแช่เท้าที่เป็นประจาและต่อเนื่อง
ในวันนี้ใช้เวลาแช่เท้า 10 นาที แล้วล้างด้วยน้าสะอาดแล้วใช้ผ้าเช็ดให้แห้ง
พบว่าเท้าของผู้ทดลองเมื่อสัมผัสมีความอ่อนนุ่มและสอบถามจากผู้ทดลองในเ
รื่องของกลิ่นเท้าพบว่ากลิ่นเท่าบรรเทาลง
วันที่ 8 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
ในวันนี้เป็นวันสุดท้ายที่ทาการทดลองพบว่าเท้าของผู้ทดลองนั้นมีความเปลี่
ยนแปลงโดยเฉพาะเท้านั้นมีความนุ่มและเนียนเมื่อแช่เท้าและหลังจากการแช่เ
ท้าในวันนี้ได้ใช้เวลาในการแช่เท้า 10 นาที สอบถามและเก็บผลจากผู้ทดลอง
พบว่าการแช่เท่าแล้วล้างน้าสะอาดและใช้ผ้าเช็ดให้แห้ง
มีผลดีและทาให้เท้าหายมีกลิ่นและสะอาดมากขึ้นและเห็นผลดีง่ายและเร็ว
ผลการทดลอง “น้าหมักกล้วยไข่กาจัดกลิ่นคาวในภาชนะ”
เมื่อหมักน้าหมักแล้วและได้ทาการทดลองดับกลิ่นที่ไม่พึงประสงค์ที่เกิดจา
กร่างกายไปแล้ว
ต่อมาได้ทาการทดลองที่มีกลิ่นที่เกิดจากภาชนะและสิ่งของใช้ในครัว โดยในที่
นี้ใช้จานใส่อาหารมาทาการทดลองโดยมีผลที่เกิด ดังนี้
วันที่ 2 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
ในการทดลองครั้งแรกยังมีผลที่ไม่ดีตามที่คาดหวังมากนัก เนื่องจากใช้น้า
หมักน้อยแต่อย่างไรก็ตามผลที่ออกมาก็ยังถือว่าใช้ได้ คราบนามันที่ติดกับจา
นหลังจากการแช่พบว่าหายไปและเมื่อล้างเสร็จเช็ดให้แห้งยังมีกลิ่นติดอยู่เล็กน้
อยสาหรับกลิ่นของอาหารแต่ที่มีกลิ่นเด่นคือกลิ่นของน้าหมักกล้วยไข่
วันที่ 3 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
วันนี้ทดลองโดยใช้ปริมาณน้าหมักมากกว่าวันที่ผ่านมา พบว่าจานเมื่อแช่ล
งไปคราบมันหลุดออกง่ายกว่าเมื่อวานและล้างง่ายเมื่อล้างเสร็จแล้วนาจานมาเ
ช็ดแล้วทดสอบกลิ่นพบว่ามีกลิ่นน้าหมักกล้วยไข่ติดอยู่ จึงมีการวางแผนเพื่อ
ทาให้กลิ่นนั้นหาย
วันที่ 4 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
จากสาเหตุที่มีกลิ่นน้าหมักกล้วยไข่ติดดกับจานหลังจากวันนี้ที่ได้ทาการล้า
งจานเสร็จแล้ว
ได้เช็ดจานให้แห้งและเก็บไว้เป็นเวลา 2 ชั่วโมง พบว่ากลิ่นของน้าหมักกล้วย
ไข่จางลงและกลิ่นคาวก็หายไปด้วย
วันที่ 5 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
เมื่อพบปัญหาและแก้ปัญหาที่ทาให้จานนั้นมีกลิ่นของน้าหมักกล้วยไข่จึงได้
ทาการทดลองมาเรื่อยๆ
โดยใช้ปริมานน้าหมักที่มากกว่านาและนาจานลงไปแช่โดยใช้จานจานวน 5 ใ
บในการทดลองทุกครั้ง
พบว่าผลที่ออกมีความคงที่และได้ทาการทดลองนี้จนครบตามระยะเวลาที่กาห
นดในการทาการทดลองในเรื่องการใช้น้าหมักกล้วยไข่ดับกลิ่นคาวในภาชนะ
ตั้งแต่วันที่ 2-8 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
บรรณานุกรม
“น้าหมักกล้วยไข่”
https://mwd290239.blogspot.com/2014/09/blog-post.html สืบค้น
ณ วันที่ 24 กรกฎาคม 2566
กล้วยไข่
https://hd.co.th/banana-benefits-high-beta-carotene-and-vitamin-c
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89
%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B9%84%E0%B8%82%E0%B9%88

More Related Content

Similar to กิตติกวิน.docx

การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาIntaruechai Intaruechai
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาIntaruechai Intaruechai
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาIntaruechai Intaruechai
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาIntaruechai Intaruechai
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาIntaruechai Intaruechai
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาIntaruechai Intaruechai
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาIntaruechai Intaruechai
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาIntaruechai Intaruechai
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาIntaruechai Intaruechai
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาIntaruechai Intaruechai
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาIntaruechai Intaruechai
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาIntaruechai Intaruechai
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาIntaruechai Intaruechai
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงChok Ke
 
2558 project-มิ้น
2558 project-มิ้น2558 project-มิ้น
2558 project-มิ้นKanokwan Rapol
 
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคtassanee chaicharoen
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านChok Ke
 

Similar to กิตติกวิน.docx (20)

การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
 
931 pre12
931 pre12931 pre12
931 pre12
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผง
 
2558 project-มิ้น
2558 project-มิ้น2558 project-มิ้น
2558 project-มิ้น
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
 

กิตติกวิน.docx

  • 1. บทคัดย่อ การทาน้าหมักกล้วยไข่ได้มีแนวคิดจากการชมรายการทีวี จากการเรีย นการสอนของครูอาจารย์ ซึ่งใช้เป็ นแนวคิดและแนวทางในการทาน้าหมักกล้ว ยไข่ โดยกล้วยไข่มีสรรพคุณที่โดดเด่นคือระบายท้อง ช่วยให้ระบบขับถ่ายคล่องตัว และในการทาน้าหมักกล้วยไข่นี้ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นแนวทางในการดาเ นินงาน ซึ่งมีวัตถุประสงค์อยู่ด้วยกันสองข้อคือประการแรกคือนาน้าหมักกล้ว ยไข่ที่หมักไว้ 3 เดือน ไปใช้แช่เท้ากับกลุ่มตัวอย่างจานวน 6 คน เพื่อศึกษา คุณสมบัติของน้าหมักในการดับกลิ่นเท้า พบผลที่เป็นไปในทางที่ดีคือน้าหมัก กล้วยไข่ใช้ดับกลิ่นเท้าได้ดีอย่างที่คาดไว้ ซึ่งใช้เวลาในการทาการทดลองเพีย ง 1 สัปดาห์ สิ่งที่พบและผลที่เกิดคือทาให้กลิ่นเท้าที่เคยมีจางหายและเมื่อใช้เป็ นประจาอย่างต่อเนื่องจะทาให้กลิ่นเท้าหายจากกลิ่นที่ไม่พึงประสงค์ได้ ในประ การที่สองคือนาน้าหมักกล้วยไข่ที่หมักไว้ 3 เดือน ไปใช้ล้างจานที่บ้านของสม าชิกในกลุ่ม คนละ 6 ใบ เป็นจานวน 5 ครั้ง ในการทดลองนี้จะเห็นผลได้ชัด เมื่อทดลองเป็นครั้งแรกเพราะคราบมันที่เกาะอยู่กับจานหลุดออกอย่างง่ายดาย แต่กลิ่นคาวยังคงติดอยู่ จึงมีการปรับเปลี่ยนแนววิธีการทดลองและประสบผล สาเร็จได้อย่างดีทีเดียวภายหลังการปรับเปลี่ยนแนวการทดลองจนกระทั่ง ครา บมันและกลิ่นคาวที่ติดอยู่กับจานชามหายไปถือเป็นผลที่เกิดกับการทดลองที่ดี อย่างมาก
  • 2. บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญ จากการเรียนรู้และศึกษาการทาน้าหมัก และได้เปิดพบรายการทีวีที่มีรา ยการของป้ าเชง ที่มีชื่อรายการว่า “Super Cheng” โดยมีการแนะนาการทาน้าหมักชีวภาพและบอกถึงคุณค่ารวมทั้งปร ะโยน์ที่ได้รับจากการทาน้าหมักชีวภาพ เช่น การใช้บารุงร่างกาย บารุงผิพรรณ บาบัดโรค บาบัดน้าเสีย ใช้ดับกลิ่น ในที่ต่าง ๆ และยังพบตัวอย่างจากหนังสือ ที่มีเรื่องเกี่ยวกับการทาน้าหมักชีวภาพและบอกถึงคุณค่าและประโยชน์ของน้า หมัก จากข้อมูลดังกล่าวจึงได้จัดทาโครงงานและลงมือทาอย่างจริงจัง โดยรว บรวมข้อมูลจากหลายแห่งหลายด้าน เช่น จากอินเตอร์เน็ต หนังสือวารสาร รายการทีวี รวมถึงจากผู้ปฏิบัติจริงใน ชุมชนและคุณครูที่ให้คาปรึกษา จึงได้มีการจัดทาน้าหมักชีวภาพที่ใช้วัตถุดิบจ าก “กล้วยไข่” ดังที่กล่าวไว้ในบทข้างต้นทางผู้จัดทาเห็นถึงประโยชน์หลายด้านที่เป็นผ ลจากการใช้น้าหมัก อันส่งผลที่เห็นได้ชัดจากชุมชน โรงเรียน และจากการสารวจผู้ใช้ พบว่าการใ ช้แล้วมีผลดีเป็ นอย่างมาก โดยน้าหมักชีวภาพยังมีคุณประโยชน์ทั้งในด้านการ เกษตร และใช้ในครัวเรือน นับว่าเป็ นสิ่งที่สามารถนามาใช้ได้อย่างดีของผู้ที่เห็นถึงความสาคัญของสรรพคุ ณและประโยชน์ของน้าหมัก กล้วยอุดมด้วยน้าตาลธรรมชาติ 3 ชนิด คือ ซูโครส ฟรุคโทส และ กลูโคส รวมกับเส้นใยและกากอาหาร กล้วยจะช่วยเสริมเพิ่มพลังงานให้กับร่างกายทันทีทันใด จากงานวิจัยพบว่ากินกล้วยแค่ 2 ผล ก็สามารถเพิ่มพลังงานให้อย่างเพียงพอ กับการออกกาลังกายอย่างเต็มที่ได้นานถึง 90 นาที ประโยชน์ของกล้วยไม่ใช่เพียงแค่เพิ่มพลังงานเท่านั้น ยังช่วยเอาชนะ และป้ องกันโรคต่างๆที่จะเกิดกับร่างกายได้อีกหลายโรค เช่น โรคโลหิตจาง โรคความดันโลหิตสูง กาลังสมอง โรคท้องผูก โรคความซึมเศร้า อาการเสีย
  • 3. ดท้องความรู้สึกไม่สบายในตอนเช้า ยุงกัด ระบบประสาท โรคลาไส้เป็นแผล การควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย ความสับสนของอารมณ์เป็ นครั้งคราว ควา มเครียด เส้นเลือดฝอยแตก โรคหูด วัตถุประสงค์ 1. เพื่อนาน้าหมักกล้วยไข่ที่หมักไว้ 3 เดือน ไปใช้แช่เท้ากับกลุ่มตัวอ ย่างจานวน 6 คน เพื่อศึกษาคุณสมบัติของน้าหมักในการดับกลิ่นเท้ า 2. เพื่อนาน้าหมักกล้วยไข่ที่หมักไว้ 3 เดือน ไปใช้ล้างจานที่บ้านของส มาชิกในกลุ่ม คนละ 6 ใบ เป็นจานวน 5 ครั้ง ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ คุณค่ารวมทั้งประโยน์ที่ได้รับจากการทาน้าหมักชีวภาพ เช่น การใช้บารุงร่างกาย บารุงผิพรรณ บาบัดโรค บาบัดน้าเสีย ใช้ดับกลิ่นในที่ต่าง ๆ และยังพบตัวอย่างจากหนังสือ ที่มีเรื่องเกี่ยวกับการทาน้าหมักชีวภาพและบอกถึงคุณค่าและประโยชน์ของน้า หมัก
  • 4. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง จุลินทรีย์เป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กมาก อาจพบเกือบทุกหนทุกแห่งในธรรมชาติ ในอากาศที่เรา หายใจเข้าไป ในอาหารที่เรากิน ที่ผิวหนังของร่างกาย ในทางเดินอาหาร ในปาก จมูกหรือช่องเปิดต่างๆ ของร่างกาย แต่ยังเป็นความโชคดีของเราเพราะจุลินทรีย์ส่วนใหญ่มีคุณประโยชน์ต่อสรรพ สิ่งมีชีวิตทั้ง มวลในโลก ทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม จุลินทรีย์เป็นตัวการทาให้เกิดกระบวนการหมัก ผลผลิตที่ได้ จากการหมักนั้น ในที่นี้เราขอเรียกว่า “น้าหมักชีวภาพ” น้าหมักชีวภาพ การนาเอาพืช ผัก ผลไม้ สัตว์ชนิดต่าง ๆ มาหมักกับน้าตาลทาให้เกิดจุลินทรีย์ ที่เป็ นประโยชน์จานวนมากซึ่งจุลินทรีย์เหล่านี้จะไปช่วยสลายธาตุอาหารต่าง ๆ ที่อยู่ในพืช มีคุณค่าในแง่ของธาตุอาหารพืชเมื่อถูกย่อยสลายโดยกระบวนการย่อยสลายขอ งแบคทีเรียหรือจุลินทรีย์สารต่างๆ จะถูกปลดปล่อยออกมา เช่นโปรตีน กรดอะมิโน กรดอินทรีย์ ธาตุอาหารหลัก ธาตุอาหารรอง จุลธาตุ ฮอร์โมนเร่งการเจริญเติบโต เอนไซม์ วิตามิน ซึ่งพืชสามารถนาไปใช้ในการเจริญเติบโตได้อย่างมีประสิทธิภาพ น้าหมักชีวภาพ มี 2 ประเภท คือ 1. น้าหมักชีวภาพจากพืช ทาได้โดยการนาเศษพืชสด ผสมกันน้าตาลทรายแดง หรือกากน้าตาลอัตราส่วน กากน้าตาล 1 ส่วน พืชผัก 3 ส่วน หมักรวมกันในถังปิดฝา หมักทิ้งไว้ประมาณ 3- 7 วันหรือหมักไว้เป็ นปี เราจะ ได้ของเหลวข้น ๆ สีน้าตาล ซึ่งเราเรียกว่า น้าหมักชีวภาพจากพืช 2. น้าหมักชีวภาพจากสัตว์ มีขั้นตอนทาคล้ายกับน้าหมักจากพืช แตกต่างกันตรงวัตถุดิบจากสัตว์ เช่น หัวปลา ก้างปลา หอยเชอรี่ เป็นต้น เคล็ดลับในการทาน้าหมักให้ได้ผลดี 1 . ควรเลือกใช้เศษพืชผัก ผลไม้ หรือเศษอาหารที่ยังไม่บูดเน่า สับหรือบดให้เป็นชิ้นเล็ก ๆ ใส่ใน ภาชนะที่มีปากกว้าง เช่นถังพลาสติก หรือโอ่ง หากมีน้าหมักชีวภาพอยู่แล้วให้เทผสมลงไปแล้วลด ปริมาณกากน้าตาลลง ปิดฝาภาชนะทิ้งไว้ จนได้เป็ นน้าหมักชีวภาพ จากนั้นกรอกใส่ขวดปิดฝาให้สนิท รอการใช้งานต่อไป 2. ในระหว่างการหมัก ห้ามปิดฝาภาชนะจนแน่นสนิทเพราะอาจทาให้ระเบิดได้เนื่องจากระหว่าง การ หมักจะเกิดก๊าชต่าง ๆ ขึ้น เช่นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซมีเทน เป็ นต้น
  • 5. 3.ไม่ควรเลือกพืชจาพวกเปลือกส้ม ใช้ทาน้าหมัก เพราะมีน้ามันที่ผิวเปลือกจะทาให้จุลินทรีย์ไม่ย่อยสลาย กล้วยไข่ ชื่อพื้นเมือง :กล้วยไข่ ชื่อวิทยาศาสตร์ :Musa acuminata Colla ชื่อวงศ์ :MUSACEAE ชื่อสามัญ :- สรุปลักษณะและข้อมูลพันธุ์ไ ม้ : ไม้ล้มลุก ขึ้นบนบกในที่กลางแจ้ง ความสูง 1.2 เมตร ความกว้าง 1 เมตร รูปร่างคล้ายรูปร่ม ลาต้นอยู่ใต้ดินมีลักษณะเป็นหัว ผิวของลาต้นเรียบ เห็นข้อปล้องชัดเจน ต้นอ่อนมีสีขาว ต้นแก่สีน้าตาล มียางใส ใบเป็นใบเดี่ยว ใบอ่อนมีสีเขียว ใบแก่มีสีน้าตาล แผ่นใบกว้าง 30 - 45 เซนติเมตร ยาว 100 - 200 เซนติเมตร ใบจะแผ่กว้างยาว การเรียงตัวของใบเรียงแบบสลับ แผ่นใบรูปแถบปลายใบม้วน โคนใบรูปลิ่ม ขอบใบเรียบ ประโยชน์ :ปลูกเป็นไม้ผล ผลแก่รับประทานเป็ นผลไม้หรือทาอาหารหวา น รูปภาพที่เกี่ยวข้อง : กล้วยไข่เป็ นผลไม้ที่นิยมผู้บริโภคกันทั่วไป เนื่องจากมีรสชาติดี ลักษณะการเรียงตัวของผลและสีผลสวยสะดุดตา
  • 6. ปัจจุบันส่งออกจาหน่ายต่างประเทศมากขึ้น ตลาดที่สาคัญคือ จีน และฮ่องกง กล้วยไข่เป็ นพืชที่สามารถปลูกได้แทบทุกภาคของประเทศ ในพื้นที่ปลูกที่มีการจัดการการผลิตเพื่อให้ได้ทั้งปริมาณ และผลผลิตตรงตามมาตรฐานคุณภาพ ตลาดต้องการ ปัญหาสาคัญที่มีผลต่อคุณภาพของผลผลิตคือ การปนเปื้อนของ สารป้ องกันกาจัดศัตรูพืช ซึ่งอาจทาให้เกิดปัญหาต่อสุขอนามัยของผู้บริโภค ตลอดจนการปนเปื้อนสู่สิ่งแวดล้อมในระยะยาว ดังนั้นกระบวนการผลิตจึงต้องมีการปฏิบัติอย่างถูกต้องและเหมาะสม แหล่งปลูกที่เหมาะสม สภาพพื้นที่: - พื้นที่ดอน หรือพื้นที่ราบ ไม่มีน้าท่วมขัง - ความสูงจากระดับน้าทะเลไม่เกิน 1,200 เมตร - มีแหล่งน้าธรรมชาติ หรืออยู่ในเขตชลประทาน - การคมนาคมสะดวก ลักษณะดิน: - ดินร่วน, ดินร่วนเหนียว หรือดินร่วนปนทราย - มีความอุดมสมบูรณ์สูง ระบายน้าดี - ระดับน้าใต้ดินลึกมากกว่า 75 เซนติเมตร - ค่าความเป็นกรดด่างของดินระหว่าง 5.0-7.0 สภาพภูมิอากาศ: - อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต ระหว่าง 25- 35 องศาเซนเซียส - ปริมาณน้าฝนไม่น้อยกว่า 1,200 มิลลิเมตรต่อปี - ไม่มีลมแรงพัดผ่านเป็นประจา - มีแสงแดดจัด แหล่งน้า: - มีน้าใช้เพียงพอตลอดฤดูปลูก - เป็นแหล่งน้าสะอาด ค่าความเป็นกรดด่างของน้าระหว่าง 5.0- 9.0 พันธุ์ กล้วยไข่มี 2 สายพันธุ์ คือ กล้วยไข่สายพันธุ์กาแพงเพชร และกล้วยไข่พระตระบอง พันธุ์ที่นิยมปลูกเป็นการค้าคือ กล้วยไข่สายพันธุ์กาแพงเพชร 1. กล้วยไข่สายพันธุ์กาแพงเพชร
  • 7. ลักษณะกาบใบเป็นสีน้าตาลหรือช๊อกโกแลต ร่องก้านใบเปิดและขอบก้านใบขยายออก ใบมีสีเหลืองอ่อน ไม่มีนวล ก้านเครือมีขนขนาดเล็ก ผิวเปลือกผลบาง ผลเล็ก เนื้อมีสีเหลือง รสชาติหวาน 2. กล้วยไข่พระตะบอง ลักษณะกาบใบเป็นสีน้าตาลปนดา สีของใบเข้มกว่าสายพันธุ์กาแพงเพชร รสชาดจะออกหวานอมเปรี้ยว และผลมีขนาดใหญ่กว่ากล้วยไข่สายพันธุ์กาแพงเพชร การปลูก การเตรียมดิน: - วิเคราะห์ดิน เพื่อประเมินค่าความอุดมสมบูรณ์ของธาตุอาหารพืชในดิน และความเป็นกรดด่างของดิน ปรับสภาพดินตามคาแนะนาก่อนปลูก - ไถพรวน ตากดินทิ้งไว้ประมาณ 1 เดือน เพื่อลดการระบาดของศัตรูพืช - คราดเก็บเศษวัชพืชออกจากแปลง ฤดูปลูก: - ช่วงเวลาการปลูก ในเขตภาคเหนือตอนล่าง ประมาณเดือนกันยายนถึงพฤศจิกายน วิธีการปลูก: - ปลูกด้วยหน่อใบแคบที่มีความสมบูรณ์ดี - เตรียมหลุมปลูกขนาด 50x50x50 เซนติเมตร - รองก้นหลุมด้วยปุ๋ ยคอกอัตรา 5 กิโลกรัมต่อหลุม คลุกเคล้ากับหน้าดินรองก้นหลุมปลูกถ้ามีการไว้หน่อ (ratoon) เพื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตต่อไปอีก 1-2 รุ่น ควรรองก้นหลุมด้วย หินฟอสเฟต อัตรา 100-200 กรัม/หลุม - ระยะปลูก (1.5-1.75) x2 เมตร เป็นการปลูกเพื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตเพียงครั้งเดียว แล้วรื้อปลูกใหม่ 2x2 เมตรเป็นการปลูกสาหรับไว้ตอหรือหน่อ (ratoon) เพื่อที่จะเก็บเกี่ยวผลผลิตของหน่อ (ratoon) อีก 1-2 รุ่น - การปลูก วางหน่อพันธุ์ที่หลุมปลูกให้ลึก 25-30 เซนติเมตร โดยจัดวางหน่อพันธุ์ให้ด้านที่ติดกับต้นแม่อยู่ในทิศทางเดียวกัน กลบดินลงหลุมปลูกและกดดินบริเวณโคนต้นให้แน่น แล้วรดน้าให้ชุ่ม
  • 8. การดูแลรักษา การพรวนดิน: ภายหลังปลูกกล้วยไข่ประมาณ 1 เดือนควรรีบทาการพลิกดินให้ทั่ วทั้งแปลงปลูก เพื่อให้ดินเก็บความชื้นจากน้าฝนไว้ให้มากที่สุด และเป็นการกาจัดวัชพืชไปด้วย ขณะที่รากกล้วยยังขยายไปไม่มากนัก การกาจัดวัชพืช: ควรกาจัดวัชพืชปีละ 3 ครั้ง ครั้งแรกพร้อม ๆ กับการพลิกดิน ส่วนครั้งที่ 2 และ 3 ให้พิจารณา จากปริมาณวัชพืช แต่จะทาก่อนที่ต้นกล้วยตกเครือ การให้ปุ๋ ย: ใส่ปุ๋ ยอินทรีย์ 1 ครั้ง เช่น ปุ๋ ยคอกหรือปุ๋ ยหมักก่อนปลูกอัตรา 3- 5 กิโลกรัมต่อหลุม ใส่ปุ๋ ยเคมี 4 ครั้ง ครั้งที่ 1 และ 2 เป็นระยะที่กล้วยมีการเจริญเติบโตทางลาต้น ใส่ปุ๋ ยเคมีสูตร 20-10-10 หรือ 15-15-15 อัตรา 125- 250 กรัมต่อต้นต่อครั้ง หลังจากปลูก 1 และ 3 เดือน การให้ปุ๋ ยเคมีครั้งที่ 3 และ 4 จะให้ปุ๋ ยเคมีภายหลังจากปลูก 5 และ 7 เดือน ซึ่งเป็ นระยะที่กล้วยใกล้จะให้ผลผลิต จะให้ปุ๋ ยเคมีสูตร 12-12-24, 13-13- 21 หรือ 14-14-21 อัตรา 125-250 กรัมต่อต้นต่อครั้ง วิธีการใส่ปุ๋ ยเคมี โรยห่างจากต้นประมาณ 30 เซนติเมตร หรือใส่ลงในหลุมลึกประมาณ 10 เซนติเมตร 4 ด้าน แล้วพรวนดินกลบ การให้น้า: ในฤดูฝน เมื่อฝนทิ้งช่วง เมื่อสังเกตหน้าดินแห้งและเริ่มแตก ควรรีบให้น้าในฤดูแล้งเริ่มให้น้าตั้งแต่หมดฝน ประมาณปลายเดือนมกราคม- พฤษภาคมหรือใช้วิธีปล่อยให้น้าไหลเข้าไปในแปลงย่อยเป็นแปลง ๆ เมื่อดินมีความชุ่มชื้นดีแล้ว จึงให้แปลงอื่นต่อไป
  • 9. บทที่ 3 การดาเนินงาน วิธีทาน้าหมักชีวภาพ การดาเนินการโครงงานแบ่งออกเป็น 4 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 รวบรวมข้อมูลในการทาโครงงานน้าหมักกล้วยไข่ ระยะที่ 2 นาข้อมูมาสรุปผลและทาการหมักน้าหมักกล้วยไข่ ระยะที่ 3 นาผลที่ได้จากการหมักกล้วยไข่ไปใช้ประโยชน์ตามจุดประสงค์ที่วางไว้ ระยะที่ 4 สรุปผลและการทดลองที่ได้ ระยะที่ 1 รวบรวมข้อมูลในการทาโครงงานน้าหมักกล้วยไข่ ได้จัดแบ่งหน้าที่ในการจัดเก็บและรวบรวมข้อมูลพร้อมกับการเตรียมวัส ดุอุปกรในการทาน้าหมักชีวภาพ โดยอาศัยการแนะนาและให่คาปรึกษาจากคุ ณครูวิรัตน์ ระหว่างบ้าน เป็นผู้ให้คาแนะนาและแนวทางการดาเนินงาน สาหรับข้อมูลที่ ต่างฝ่ายต่างไปเก็บมาจากหลายแหล่งที่มาทั้งในห้องสมุดโรงเรียน อินเตอร์เน็ ต วารสารต่างๆ และได้ศึกษาพร้อมจัดเตรียมอุปกรณ์ในการทาน้าหมัก เพื่อ ให้การทาน้าหมักเกิดผลดีและมีประสิธิภาพ และยังศึกษาสูตรและปริมาณของ การทาน้าหมัก โดยพบสูตรที่เป็นมาตรฐาน คือ 3 : 1 : 5 ซึ่งเป็ นสูตรมาตรฐานที่ใช้ในการหมัก โดยในสูตรมาตรฐานนี้มีความหมาย คือ ในส่วนแรกจะหมายถึงส่วนของวัตถุดิบที่จะนามาหมัก ส่วนที่สองหมายถึงน้า ตาล(ในที่นี้ใช้น้าตาลอ้อย) และส่วนที่สามหมายถึงส่วนของน้าเปล่า และได้จัดหางบประมาณโดยเรียกเก็ บจากสมาชิกภายในกลุ่มเพื่อจัดซื้อวัตถุดิบและวัสดุอุปกรณ์ในการทาน้าหมัก โดยมีรายละเอียดดังนี้ งบประมาณ จานวน 100 บาท ได้มาจากการรวบรวมจากกลุ่ม โดยนาไปลงทุนในการซื้ ออุปกร ดังนี้ น้าหมักชีวภาพ “กล้วยไข่” ที่ รายการซื้อ จานวน ราคา รวมเงิน
  • 10. 1. กล้วยไข่ 1 กก. 20 20 2. น้าตาลอ้อย 0.5 กก. 36 18 3. น้า 2 ลิตร 1 2 4. ถังหมัก 5 ลิตร 50 50 5. อื่นๆ - - - รวมเป็ นเงิน 90 ยอดคงเหลือ 10 ระยะที่ 2 นาข้อมูมาสรุปผลและทาการหมักน้าหมักกล้วยไข่ หลังจากการเก็บรวบรวมข้อมูลมาแล้ว ได้นาข้อมูลที่เก็บได้ดังกล่าวมาสรุ ปและวิเคราะ เพื่อเป็นแนวทางในการดาเนินงานและเพื่อให้เกิดงานที่มีประสิ ทธิภาพ โดยจะนาข้อมูลของแต่ละบุคคลที่ได้มอบหมายและแบ่งหน้าที่ให้ไปห าข้อมูล และใช้ข้อมูลการทานาหมักมาเรียบเทียบเพื่อหาสูตรการทาน้าหมักแล ะวัสดุอุถปกรณ์ต่างๆที่ต้องใช้ในการทาน้าหมัก น้าหมักชีวภาพ(เอนไซม์) ใช้ดื่มกินเป็ นสารโปรตีน วิตามินเอ, บี, ซี, ดี, อี, เค, อะมิโนแอซิค(Amino acid) และ อะเซทิลโคเอ (Acetyl Coa) ที่ได้จาก หมักผลไม้นานาชนิด โดยมี จุลินทรีย์ท้องถิ่น หลากหลายชนิด ปะปนอยู่ใน กระบวนการหมัก เพื่อเปลี่ยนผลไม้ + น้าผึ้ง + น้า ระยะเริ่มแรกเป็ นแอลกอฮอล์ ระยะต่อมา เป็นน้าส้มสายชู (รสเปรี้ยว) อีกระยะหนึ่งเป็ นยาธาตุ (รสขม) ในที่สุดเป็ นน้าหมักชีวภาพ (เอ็นไซม์) ซึ่งใช้เวลาหมักขยายประมาณ ๒ ปี กรณีจะนาไปดื่มกินควรผ่านการหมักขยายเป็นเวลา ๖ ปีขึ้นไป แต่ในการทาน้าหมักนี้ได้ทาขึ้นเป็ นชุดแรกและทาในระยะเวลาที่จากั ด จึงได้จัดทาเพื่อนามาทดลองที่เป็นการทดลองที่พอจะเห็นผล โดยจะเก็บน้า หมักนี้เพื่อให้รุ่นต่อไปได้จัดทาและดาเนินงานต่อ วัสดุอุปกรณ์ในการทา 1. กล้วยไข่ 2. น้าตาลอ้อย 3. น้าถังหมัก 4. ไม้พาย 5. เครื่องชั่ง 6. อุปกรณ์ตวง การทาน้าหมักกล้วยไข่ โดยการนาวัดถุดิบและวัสดุอุปกรณ์ที่เตรียมไว้ ล้างทาความสะอาดเช็ดใ ห้แห้งแล้วนาเอา กล้วยไข่ 6 ส่วน น้าตาล 2 ส่วน น้า 10 ส่วน ใส่รวมกันในถัง ที่มีฝาปิดสนิทอย่าให้อากาศเข้า โดยเว้นที่ว่างไว้ประมาณ 1 ใน 5 ของถัง
  • 11. 1. ล้างกล้วยไข่ที่เตรียมไว้จานวน 1 กิโลกรัม 2. นากล้วยไข่ที่ล้างแล้วมาใส่ในถังหมักขนาด 2 ลิตร แล้วเทน้าตาลอ้อย 0.5 กิโลลงในถังบนกล้วย 3. เทนาเปล่าจานวน 2ลิตร ลงบนกล้วยและน้าตาลที่เตรียมไว้ในถังหมัก 4. กวนส่วนผสมเล็กน้อยให้ทุกอย่างเข้ากันและเพื่อให้น้าตาลละลาย แล้วปิดผานาไปเก็บ ระยะที่ 3 นาผลที่ได้จากการหมักกล้วยไข่ไปใช้ประโยชน์ตาม จุดประสงค์ที่วางไว้ 1. เพื่อนาน้าหมักกล้วยไข่ที่หมักไว้ 3 เดือน ไปใช้แช่เท้ากับกลุ่มตัวอ ย่างจานวน 6 คน เพื่อศึกษาคุณสมบัติของน้าหมักในการดับกลิ่นเท้า 2. เพื่อนาน้าหมักกล้วยไข่ที่หมักไว้ 3 เดือน ไปใช้ล้างจานที่บ้านของส มาชิกในกลุ่ม คนละ 6 ใบ เป็นจานวน 5 ครั้ง น้าหมักกล้วยไข่ดับกลิ่นเท้า กระบารการ กลุ่มผู้จัดทามีสมาชิกรวมทั้งสิ้น 6 คน โดยได้เสนอแ นวทางและปรึกษาหาปัญหาที่ต้องการทดลอง ได้มีข้อเสนอหลายประการ เช่ น ซักผ้า ล้างหน้า สระผม เป็นต้น แต่ในข้อเสนอเหล่านี้เป็ นเพียงข้อเสนอเ พื่อเป็นแนวทางและเพื่อเป็นแนวคิดสาหรับการดาเนินงาน และสุดท้ายได้มีข้ อเสนอที่ว่า ใช้น้าหมักในการดับกลิ่นเท้า จึงได้ร่วมกันพิจารณา หาบุคคลทด สองซึ่งได้สอบถามกับสมาชิกภายในกลุ่มเพื่อหาบุคคลตัวอย่างเพื่อมาทดลองใ นการทาการทดลอง น้าหมักกล้วยไข่ดับกลิ่นเท้า และผลสรุปที่ออกมาคือสมา ชิกได้เสนอให้มีการทดลองกับสมาชิกภายในกลุ่ม ซึ่งสมาชิกต่างก็มีความคิดเ ห็นที่ตรงกันจึงได้มีการทดลอง น้าหมักกล้วยไข่ดับกลิ่นเท้า โดยมีการทดลอง ดังนี้ การทดลอง “น้าหมักดับกลิ่นเท้า” การทดลองจะใช้การทดลองเป็นเวลา 1 สัปดาห์ และใช้บุคคลทดลองจา นวน 6 คน ซึ่งแต่ละคนเป็ นสมาชิกภายในกลุ่มได้แบ่งให้ไปทดลองแล้วนากา รทดลองของแต่ละบุคคลมาประเมิณและบันทึกผลการทดลอง อุปกรณ์ 1. น้าหมัก
  • 12. 2. น้าสะอาด 3. อ่างแช่เท้า วิธีการทดลอง การทดลองมีระยะเวลา 1 สัปดาห์ โดยเริ่มการทดลองตั้งแต่วัน ที่ 2 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 ถึง วันที่ 8 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 โดยมีการดาเนินการดังนี้ ตาราง แสดงการดาเนินงานการทดลอง “น้าหมักกล้วยไข่ดับกลิ่นเท้า” บุคคลทดลอ ง วิธีการทดลอง ระยะเวลาการทดล อง นายกิตติกวิ น สเลอาด ใช้น้าหมักกล้วยไข่ในปริมาณ 200 มิล ลิลิตร ต่อ น้า 3 ลิตร ผสมรวมกันในอ่างแล้วนาเท้าลงไปแช่ใน อ่าง แช่ทิ้งไว้ 5-10 นาที 2- 8 กุมภาพันธ์ 25 56 นายกิตติกวิ น สเลอาด ใช้น้าหมักกล้วยไข่ในปริมาณ 200 มิล ลิลิตร ต่อ น้า 3 ลิตร ผสมรวมกันในอ่างแล้วนาเท้าลงไปแช่ใน อ่าง แช่ทิ้งไว้ 5-10 นาที 2- 8 กุมภาพันธ์ 25 56 นายกิตติกวิ น สเลอาด ใช้น้าหมักกล้วยไข่ในปริมาณ 200 มิล ลิลิตร ต่อ น้า 3 ลิตร ผสมรวมกันในอ่างแล้วนาเท้าลงไปแช่ใน อ่าง แช่ทิ้งไว้ 5-10 นาที 2- 8 กุมภาพันธ์ 25 56 นายกิตติกวิ น สเลอาด ใช้น้าหมักกล้วยไข่ในปริมาณ 200 มิล ลิลิตร ต่อ น้า 3 ลิตร ผสมรวมกันในอ่างแล้วนาเท้าลงไปแช่ใน อ่าง แช่ทิ้งไว้ 5-10 นาที 2- 8 กุมภาพันธ์ 25 56 นายกิตติกวิ น สเลอาด ใช้น้าหมักกล้วยไข่ในปริมาณ 200 มิล ลิลิตร ต่อ น้า 3 ลิตร ผสมรวมกันในอ่างแล้วนาเท้าลงไปแช่ใน อ่าง แช่ทิ้งไว้ 5-10 นาที 2- 8 กุมภาพันธ์ 25 56 นายกิตติกวิ น สเลอาด ใช้น้าหมักกล้วยไข่ในปริมาณ 200 มิล ลิลิตร ต่อ น้า 3 ลิตร ผสมรวมกันในอ่างแล้วนาเท้าลงไปแช่ใน อ่าง แช่ทิ้งไว้ 5-10 นาที 2- 8 กุมภาพันธ์ 25 56
  • 13. น้าหมักกล้วยไข่ดับกลิ่นคาวที่ติดกับจาน กระบวนการ เป็ นปัญหาที่ฉุกคิดขึ้นมา เนื่องจากรับประทานอาหาร เช่น ปลา เนื้อวัว หรืออาหารทะเล ที่มีกลิ่นคาวของอาหารติดกับจานและช้อนรวมทั้งติ ดมือ ซึ่งหลานคนไม่ค่อยชอบและไม่ถูกใจกับจานช้อนที่มีกลิ่นคาวมาก เพรา ะจะทาให้อาหารมื้อนั้นๆ หมดความอร่อยและหมดอารมณ์ในการทานอาหาร อุปกรณ์ 1. น้าหมักกล้วยไข่ 200 มิลลิลิตร 2. อ่างล้างจาน 3 อ่าง 4. จานที่ใช้รับประทานอาหารแล้วแล้ว (ใช้จาน 5 ใบ) การทดลอง การทดลองน้าหมักกล้วยไข่ใช้ดับกลิ่นคาวในภาชนะ มีการดาเนินงานโดยจะใช้เวลา 1 สัปดาห์ในการทดลอง โดยเริ่มวันที่ 2 เดือ น กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 ถึง วันที่ 8 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 โดยมีการทดลองและดาเนินงานดังนี้ 1. เมื่อรับประทานอาหารเสร็จแล้วให้นาจานจานวน 5 ใบแยกไว้เ พื่อทดลอง 2. ผสมน้าหมักกล้วยไข่ในอ่างล้างจาน ใช้ปริมาณน้าหมัก 100 มิลลิลิตร ต่อ น้า 5 ลิตร 3. ใช้จาน 5 ใบที่แยกไว้ นามาแช่ในน้าหมักเป็นเวลาประมาณ 5-10 นาที 4. ถูจานและล้างด้วยน้าเปล่าอย่างน้อย 2-3 น้า แล้วน้าไปเช็ดให้แห้ง 5. ทดสอบกลิ่นแล้วบันทึกผล บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน
  • 14. การดาเนินงานที่ผ่านมาทางกลุ่มผู้จัดทาได้ใช้ผลผลิตที่ได้จากการ หมักกล้วยไข่มีผลการดาเนินการตามที่วางเป้ าหมายไว้ในจุดประสงค์ การติดตามบันทึกผลการเปลี่ยนแปลงของน้าหมักกล้วยไข่ 1. วันแรกที่เริ่มทา วันที่ 16 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 นาเป็นสีน้าตาลเข้มอมดาเล็กน้อย กล้วยลอยบ้างจมบ้า งเป็นบางผล กลิ่นหอมน้าตาลอ้อย และการรวมรวมของทุกอย่างยังไม่มีการเ ปลี่ยงแปลง 2. สัปดาห์ที่ 1 วันที่ 23 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 พบว่าน้าตาลที่เป็ นเนื้อเดียวกับน้ามีการเปลี่ยนแปลง โ ดยการเปลี่ยนแปลงที่พบคือน้าตาลเริ่มตกตะกอน สีของน้าเปลี่ยนจากสีน้าตาล เข้มอมดาเริ่มเป็นสีน้าตาลเข้มปกติ กล้วยลอยตัวทุกผล 3. สัปดาห์ที่ 2 วันที่ 30 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 หลังจากผ่านมา 2 สัปดาห์ พบว่าตะกอนก้นถังเห็นชั ดมากขึ้นซึ่งตะกอนที่เกิดเป็ นตะกอนจากน้าตาล สีของน้ายังคงเป็นสีน้าตาลป กติ กล้วยลอยตัวและเรียงตัวกันแบบแนบชิดเป็นระเบียบ 4. สัปดาห์ที่ 3 วันที่ 7 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2555 พบการตกตะกอนของน้าตาลอย่างชัดเจน สีของน้าเป็ นสีน้าตาลและสีของน้าเริ่มไล่ระดับสีจากใต้ถังซึ่งมีตะกอนและสีจะเข้มมากจา กใต้ถังขึ้นมาเรื่อยๆ น้าเริ่มมีสีอ่อนลงและจะมีความใสของน้าเมื่อถึงบริเวฌเห นือผิวน้า กล้วยยังคงเป็นปกติ แต่เริ่มมีกลิ่นที่คล้ายกลิ่นเปรี้ยวออกมาเล็กน้อย 5. สัปดาห์ที่ 4 วันที่ 14 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2555 ในสัปดาห์นี้พบว่าตะกอนที่อยู่ใต้ถังมีสีเข้มจนมองเห็น เป็นสีที่คล้ายสีดาและเหนือตะกอนเป็นสีขาวขุ่นใสๆ น้าในถังมีความใสและด ปร่งแสงมากขึ้นสีของน้าเป็ นสีน้าตาลไม่ค่อยเข้มมากนัก กล้วยและเหนือผิว น้าเริ่มมีผังผืดที่มีเส้นโยงต่อกันคล้ายใยแมงมุมแต่ยังมองเห็นไม่ค่อยชัด กลิ่น ของน้ามีกลิ่งแรงมากกว่าสัปดาห์ที่ผ่านมา เริ่มมีไอน้าก่อตัวอยู่กับฝาถัง 6. สัปดาห์ที่ 5 วันที่ 21 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2555 พบว่าตะกอนใต้ถังมีสีเข้มและมีปริมาณมากเหนือชั้นข องตะกอนมีสีขาวขุ่นๆ น้ามีความใส้ซึ่งจะเป็ นสีน้าตาลใส เหนือผิวน้าและกล้ว ยมีผังผืดที่เริ่มชัดเจนจนสังเกตได้ว่าผังผืดที่ขึ้นเป็ ราขาวซึ่งเกาะอยู่บริเวณกล้ว ยและโยงเชื่อมต่อกัน มีกลิ่นฉุนและแรงมากกว่าเดิม มีน้าฝาถังจนสังเกตได้ชั ดเจน 7. สัปดาห์ที่ 6 วันที่ 28 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2555 พบว่าตะกอนใต้ถังแบ่งชั้นกันอย่างชัดเจนโดยตะกอน ที่มีสีเข้มจะอยู่ใต้สุดและมีความหนามากกว่าสัปดาห์ที่ผ่านมา เหนือชั้นผิวตะกอนเป็นสีขาวขุ่นและน้าของน้าหมักเป็นสีน้าตาลใส กล้วยเป็น สีดาและมีราขาวเกาะรอบๆกล้วยมากจนเห็นได้ชัด มีน้าฝาถังในปริมาณมาก 8. สัปดาห์ที่ 7 วันที่ 4 เดือน มกราคม พ.ศ. 2556
  • 15. พบว่าตตะกอนที่อยู่ด้างล่างเริ่มมีสีที่กลมกลืนกันและต ะกอนที่มีสีขาวขุ่นเริ่มกลายเป็นสีน้าตาล น้าเป็นสีน้าตาลใส กล้วยมีสีดาสัมผัส กล้วยพบว่ากล้วยยังคงมีเนื้อที่แข็งยังไม่เปื่อยยุ่ย เหนือผิวน้ามีราสีขาว กลิ่นข องน้าหมักมีกลิ่นที่แรงแต่กลิ่นจะมีเอกลักษณ์ของกล้วยไข่ที่หมัก น้าฝาถังมีปริ มาณที่มากแต่ไม่ได้เก็บ เพราะไม่ได้ใช้ในการทดลอง 9. สัปดาห์ที่ 8 วันที่ 11 เดือน มกราคม พ.ศ. 2556 ตะกอนใต้น้าเริ่มสังเกตยากว่าแยกชั้นกัน เพราะตะกอนมีสีที่คล้ายกัน น้าก็ยังคงมีสภาพเหมือนในสัปดาห์ที่แล้ว ที่ยังคง เป็นสีน้าตาลใส กล้วยมีสีดาและราขาวขึ้นรอบๆกล้วย มีกลิ่นหอมของกล้วยซึ่ งไม่ค่อยเหม็นเหมือนที่ผ่านมา น้าฝาถังมีมากและทดลองชิมพบว่ารสชาติของ น้าฝาถังจะมีรสชาติเปรี้ยวฉุนและมีรสชาติที่เปรี้ยวและเมื่อกลืนเข้าไปจะมีควา มร้อนผ่าวๆคล้ายกินไวน์ที่มีแอลกอร์ฮอลอ่อนๆ มีกลิ่นหอมของกล้วย รสชาติ ของน้าหมักจะเปรี้ยวและมีความหวานปนเล็กน้อยพร้องทั้งมีความหอมของกล้ วยไข่ที่ใช้หมัก 10. สัปดาที่ 9 วันที่ 18 เดือน มกราคม พ.ศ. 2556 สาหรับตะกอนและน้าหมักยังคงสภาพเหมือนเดิมจาก สัปดาห์ที่ผ่านมา แต่กล้วยและราขาวที่เกาะอยู่มีการเปลี่ยนแปลง คือ กล้วยบางผลเริ่มจมลงใต้น้าและกล้วยมีผิวสัมผัสที่อ่อนนุ่มเปลี่ยนจากเมือตอน ครั้งแรกๆที่จับส่วนราขาวที่อยู่เหนือน้ามีความหนามากโดยเฉพาะบริเวณรอบ ๆกล้วย น้าฝาถังมีมากและรสชาติเริ่มมีความแรงขึ้นจากสัปดาห์ที่ผ่านมา รส ชาติของน้าหมักมีความเปรี้ยวอมหวานและกลิ่นหอมกล้วยออกมามากจนมีคว ามหอมกล้วยที่โดดเด่น 11. สัปดาห์ที่ 10 วันที่ 25 เดือน มกราคม พ.ศ. 2556 ในสัปดาห์นี้ทางกลุ่มผู้จัดทาสังเกตว่าน้าหมักคงตัวมีคว ามเปลี่ยนแปลงของน้าลดลง แต่กล้วยที่เหนือผิวน้ายังคงมีการเปลี่ยนแปลง ร าขาวที่เกาะมีความหนามากขึ้นและกล้วยจะมีบางผลที่มีการจมลงสู้ พื้นล่างของถัง น้าฝาถังมีมากขึ้นจากที่ผ่านมา กลิ่นหอมอ่อนๆที่โดดเด่นด้วย กล้วยที่ใช้หมัก รสชาติเปรี้ยวอร่อยกินง่ายกว่าเดิม และในสัปดาห์นี้ทางกลุ่มผู้ จัดทาได้มีการเก็บน้าหมักเพื่อมาใช้ในการทดลอง ตามที่วัตถุประสงค์ได้วางไ ว้ ผลการทดลอง “น้าหมักกล้วยไข่ดับกลิ่นเท้า” หลังจากการทาน้าหมักแล้ว ได้นาเอาน้าหมักมาทาการทดลองในเรื่องการ กาจัดกลิ่นที่ไม่พึงประสงค์ท่าเกิดจากร่างการ ในที่นี้ได้ทดลองใช้น้าหมักกล้วยไข่ดับกลิ่นเท้า โดยมีผลที่เกิดหลังจากการทด ลอง ดังนี้ วันที่ 2 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
  • 16. พบข้อเปลี่ยนแปลงคือ เมือแช่เท้าลงไปในน้าหมักผสมกับน้าแล้วมีผลที่เกิดกับเท้าหลังการแช่ที่ใช้เวล าประมาณ 5- 10 นาที เท้ามีความนุ่มและสะอาดตั้งแต่ครั้งแรกแต่กลิ่นเท้ายังไม่ค่อยหายมา กนักและยังมีกลิ่นน้าหมักปนอยู่ด้วย วันที่ 3 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 พบว่าการเปลี่ยงแปลงของเท้าภายหลังการแช่มีความนุ่มและเท้ามีความสะ อาดมากขึ้นโดยใช้เวลาในการแช่เท้าประมาณ 5- 10 นาที แล้วน้าเท้าไปล้างน้าเปล่าและให้ผู้ทดสอบทดสอบกลิ่นพบการเปลี่ยน แปลงจากวันที่ผ่านมา พบว่าเท่าเริ่มมีกลิ่นที่อ่อนลงไม่ค่อยแรงเหมือนครั้งแร กแต่ยังคงมีกลิ่นของน้าหมักกล้วยไข่ ติดอยู่เช่นเคยแต่มีกลิ่นที่อ่อนกว่า เพราเมื่อแช่เสร็จแล้วได้นาเอาเท้าผู้ทดลองไปล้างน้าเปล่าแล้วเช็ดให้แห้ง วันที่ 4 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 พบว่าเท้าที่นาไปแช่นั้นมีความอ่อนนุ่มและสะอาด ในครั้งนี้ใช้เวลาในการ แช่เท้าประมาณ 5- 10 นาที แต่คราวนี้ไม่ได้ล้างเท้าหลังจากแช่แต่เช็ดเท้าแทน และผู้ทดลองได้พิสูจน์กลิ่น พบว่ากลิ่นเท้าไม่มีแต่มีกลิ่นอ่อนๆ ของน้าหมักกล้วยไข่ จึงพบว่าถ้าล้างเท้าด้วยน้าเปล่าหลังแช่แล้วเช็ดให้แห้งจะมีกลิ่นเท้าลดลงและกลิ่ นน้าหมักกล้วยไข่ก็น้อยลง วันที่ 5 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 พบการเปลี่ยนแลงของการแช่เท้าที่ไม่ค่อยมีอะไรเด่นชัดนักแต่สาหรับกลิ่ นเท้าเริ่มมีการเปลี่ยนแลงเพราภายหลังจากการใช่ต่อเนื่อมาเป็นเวลา 3 วัน อาการของผู้ที่มีกลิ่นเท้าที่ค่อนข้างแรงในวันนี้หลังจากการแช่เท้าไปเป็นเวลา 10 นาที แล้วล้างด้วยน้าเปล่าและเช็ดเท้าให้แห้งแล้วสอบถามจากผู้ทดลองพบ ว่ากลิ่นเท้าหายจาอาการกลิ่นเท้าเหม็นแต่ก็ยังคงมีกลิ่นออกมาบ้างยังหายไม่สนิ ท วันที่ 6 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 พบการเปลี่ยนแปลงของกลิ่นเท้าที่มีกลิ่นจากวันแรกก่อนทดลองในวันนี้หลั งจากการทดลองแช่เท้า 10 นาที และนาน้าเปล่ามาล้างหลังจากแช่แล้วนาผ้าม าเช็ดให้แห้งแล้วสอบถามผู้ทดลองพบว่าอาการกลิ่นเท้าเหม็นมีการลดลงและมี แนวโน้มที่จะหายจากกลิ่นเท้าที่ไม่พึงประสงค์ วันที่ 7 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 พบการเปลี่ยนแปลงที่เด่นชัดเนื่องจากการแช่เท้าที่เป็นประจาและต่อเนื่อง ในวันนี้ใช้เวลาแช่เท้า 10 นาที แล้วล้างด้วยน้าสะอาดแล้วใช้ผ้าเช็ดให้แห้ง
  • 17. พบว่าเท้าของผู้ทดลองเมื่อสัมผัสมีความอ่อนนุ่มและสอบถามจากผู้ทดลองในเ รื่องของกลิ่นเท้าพบว่ากลิ่นเท่าบรรเทาลง วันที่ 8 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 ในวันนี้เป็นวันสุดท้ายที่ทาการทดลองพบว่าเท้าของผู้ทดลองนั้นมีความเปลี่ ยนแปลงโดยเฉพาะเท้านั้นมีความนุ่มและเนียนเมื่อแช่เท้าและหลังจากการแช่เ ท้าในวันนี้ได้ใช้เวลาในการแช่เท้า 10 นาที สอบถามและเก็บผลจากผู้ทดลอง พบว่าการแช่เท่าแล้วล้างน้าสะอาดและใช้ผ้าเช็ดให้แห้ง มีผลดีและทาให้เท้าหายมีกลิ่นและสะอาดมากขึ้นและเห็นผลดีง่ายและเร็ว ผลการทดลอง “น้าหมักกล้วยไข่กาจัดกลิ่นคาวในภาชนะ” เมื่อหมักน้าหมักแล้วและได้ทาการทดลองดับกลิ่นที่ไม่พึงประสงค์ที่เกิดจา กร่างกายไปแล้ว ต่อมาได้ทาการทดลองที่มีกลิ่นที่เกิดจากภาชนะและสิ่งของใช้ในครัว โดยในที่ นี้ใช้จานใส่อาหารมาทาการทดลองโดยมีผลที่เกิด ดังนี้ วันที่ 2 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 ในการทดลองครั้งแรกยังมีผลที่ไม่ดีตามที่คาดหวังมากนัก เนื่องจากใช้น้า หมักน้อยแต่อย่างไรก็ตามผลที่ออกมาก็ยังถือว่าใช้ได้ คราบนามันที่ติดกับจา นหลังจากการแช่พบว่าหายไปและเมื่อล้างเสร็จเช็ดให้แห้งยังมีกลิ่นติดอยู่เล็กน้ อยสาหรับกลิ่นของอาหารแต่ที่มีกลิ่นเด่นคือกลิ่นของน้าหมักกล้วยไข่ วันที่ 3 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 วันนี้ทดลองโดยใช้ปริมาณน้าหมักมากกว่าวันที่ผ่านมา พบว่าจานเมื่อแช่ล งไปคราบมันหลุดออกง่ายกว่าเมื่อวานและล้างง่ายเมื่อล้างเสร็จแล้วนาจานมาเ ช็ดแล้วทดสอบกลิ่นพบว่ามีกลิ่นน้าหมักกล้วยไข่ติดอยู่ จึงมีการวางแผนเพื่อ ทาให้กลิ่นนั้นหาย วันที่ 4 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 จากสาเหตุที่มีกลิ่นน้าหมักกล้วยไข่ติดดกับจานหลังจากวันนี้ที่ได้ทาการล้า งจานเสร็จแล้ว ได้เช็ดจานให้แห้งและเก็บไว้เป็นเวลา 2 ชั่วโมง พบว่ากลิ่นของน้าหมักกล้วย ไข่จางลงและกลิ่นคาวก็หายไปด้วย วันที่ 5 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 เมื่อพบปัญหาและแก้ปัญหาที่ทาให้จานนั้นมีกลิ่นของน้าหมักกล้วยไข่จึงได้ ทาการทดลองมาเรื่อยๆ โดยใช้ปริมานน้าหมักที่มากกว่านาและนาจานลงไปแช่โดยใช้จานจานวน 5 ใ บในการทดลองทุกครั้ง พบว่าผลที่ออกมีความคงที่และได้ทาการทดลองนี้จนครบตามระยะเวลาที่กาห
  • 18. นดในการทาการทดลองในเรื่องการใช้น้าหมักกล้วยไข่ดับกลิ่นคาวในภาชนะ ตั้งแต่วันที่ 2-8 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 บรรณานุกรม “น้าหมักกล้วยไข่” https://mwd290239.blogspot.com/2014/09/blog-post.html สืบค้น ณ วันที่ 24 กรกฎาคม 2566 กล้วยไข่ https://hd.co.th/banana-benefits-high-beta-carotene-and-vitamin-c https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89 %E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B9%84%E0%B8%82%E0%B9%88