SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
การบัญชีตั๋วเงิน
หน่วยที่ 1
เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับตั๋วเงิน
1. ความหมายของตั๋วเงิน
2. ประโยชน์และข้อจํากัดของการใช้ตั๋วเงินและเช็ค
3. จริยธรรมของผู้ใช้ตั๋วเงิน
4. ประเภทของตั๋วเงิน
5. การคํานวณวันครบกําหนดอายุตั๋วเงิน
6. การคํานวณดอกเบี้ยตั๋วเงิน
1. อธิบายความหมายของตั๋วเงินได้
2. จําแนกประเภทของตั๋วเงินได้
3. คํานวณวันครบกําหนดอายุตั๋วเงินได้
4. คํานวณดอกเบี้ยตั๋วเงินได้
สาระการเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียนรู้
การบัญชีตั๋วเงิน 2
ในทางบัญชีตั๋วเงิน หมายถึง เอกสาร หรือหลักฐานที่แสดงการเป็นหนี้กันระหว่างลูกหนี้
กับเจ้าหนี้ ซึ่งมีความน่าเชื่อถือมากกว่าลูกหนี้การค้า
ในการประกอบธุรกิจมีการซื้อขายสินค้าหรือสินทรัพย์เป็นจํานวนมากมีทั้งการซื้อขายเป็น
เงินสดและเงินเชื่อในกรณีซื้อขายกันจํานวนไม่มาก และเวลาการชําระเงินเป็นระยะเวลาสั้นๆ ผู้ซื้อ
ก็จะบันทึกไว้ในบัญชีเจ้าหนี้การค้า ส่วนผู้ขายก็จะบันทึกไว้ในบัญชีลูกหนี้การค้า แต่ถ้าซื้อขายกัน
เป็นจํานวนมากเวลาการให้เครดิตนาน การที่ผู้ขายจะมีความมั่นใจว่าจะได้รับเงินจากลูกหนี้แน่นอน
นั้นคือการชําระเป็นตั๋วเงิน เพราะตั๋วเงินเป็นหลักประกันในการเรียกเก็บเงินได้ดีกว่าลูกหนี้การค้า
ซึ่งทางด้านผู้ซื้อจะบันทึกไว้ในบัญชีตั๋วเงินจ่าย และทางด้านผู้ขายจะบันทึกไว้ในบัญชีตั๋วเงินรับ
ในการซื้อขายสินค้าเป็นจํานวนมาก ผู้ขายต้องการรับชําระหนี้เป็นตั๋วเงินมากกว่าตั้งเป็น
ลูกหนี้การค้าเพราะเหตุผลดังต่อไปนี้
1. ในการทําธุรกิจที่มีการขายสินค้า หรือบริการเป็นจํานวนมากและมีมูลค่าสูง เพื่อให้เกิด
ความมั่นใจว่าจะได้รับเงินตามจํานวนและตรงเวลา ผู้ขายจึงต้องการรับชําระเป็นตั๋วเงิน เพราะตั๋ว
เงินเป็นเอกสารหลักฐานระบุจํานวนเงินที่เป็นหนี้ ระยะเวลาชําระเงินที่แน่นอน เมื่อวันครบกําหนด
ก็จะได้รับชําระหนี้ตามจํานวนเงินในตั๋ว หรือถ้าผู้จ่ายเงินตามตั๋วปฏิเสธการจ่ายเงินเมื่อวันครบ
กําหนดก็สามารถฟ้องร้องบังคับคดีกันได้
2. จากการที่กิจการได้รับตั๋วเงินจากการขายสินค้าและบริการ ต่อมาเมื่อกิจการมีความ
จําเป็นที่จะต้องใช้จ่ายเงินก่อนวันที่ตั๋วจะครบกําหนดก็สามารถนําตั๋วเงินนั้นไปขายลดให้กับธนาคาร
หรือสถาบันการเงิน หรืออาจจะนําตั๋วเงินนั้นสลักหลังโอนเพื่อชําระหนี้ให้กับเจ้าหนี้ก็ได้
3. ถ้าเป็นตั๋วเงินชนิดมีดอกเบี้ยเมื่อถึงวันครบกําหนดของตั๋วเงิน นอกจากจะได้รับชําระ
ตามตั๋วแล้วก็จะได้รับดอกเบี้ยด้วย ซึ่งดอกเบี้ยรับนี้ถือเป็นรายได้ของกิจการอีกทางหนึ่ง
ในการใช้ตั๋วเงินนั้นผู้ใช้ตั๋วเงินจะต้องมีจริยธรรม คือ
1. การตรงต่อเวลา ผู้ใช้ตั๋วเงินจะต้องรักษาเวลาในการชําระหนี้เมื่อตั๋วเงินนั้นครบกําหนด
ชําระเพราะถ้าไม่รักษาเวลาจะทําให้กิจการขาดความน่าเชื่อถือ และจะมีผลกระทบต่อการประกอบ
ธุรกิจในอนาคตของกิจการด้วย
1. ความหมายของตั๋วเงิน
2. ประโยชน์และข้อจํากัดของการใช้ตั๋วเงินและเช็ค
3. จริยธรรมของผู้ใช้ตั๋วเงิน
การบัญชีตั๋วเงิน 3
2. ความซื่อสัตย์ ผู้ใช้ตั๋วเงินจะต้องมีความซื่อสัตย์ คือ จะต้องจ่ายเงินตามจํานวนที่ระบุใน
ตั๋วโดยไม่บิดพริ้ว หรือถ้าเป็นผู้รับเงินตามตั๋วจะต้องไม่แก้ไขจํานวนเงินในตั๋วให้มากขึ้นเพื่อเอา
เปรียบผู้จ่ายตามตั๋ว ซึ่งผู้จ่ายตามตั๋วอาจฟ้องร้องให้กิจการเสียชื่อเสียงได้
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 898 ได้แบ่งตั๋วเงินออกเป็น 3 ประเภท คือ
4.1 ตั๋วแลกเงิน ( Bill of Exchange )
4.2 ตั๋วสัญญาใช้เงิน ( Promissory Note )
4.3 เช็ค ( Chegue )
4.1 ตั๋วแลกเงิน
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 908 ได้บัญญัติว่า อันว่าตั๋วแลกเงินนั้น
คือ หนังสือตราสารซึ่งบุคคลคนหนึ่งเรียกว่า ผู้สั่งจ่าย สั่งให้บุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่า ผู้จ่ายเงิน
ให้ใช้เงินจํานวนหนึ่งแก่บุคคลอีกคนหนึ่ง หรือใช้ตามคําสั่งของบุคคลหนึ่งซึ่งเรียกว่า ผู้รับเงิน
การออกตั๋วแลกเงินจะต้องทําตามแบบที่กฎหมายกําหนดไว้ในประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิชย์ มาตรา 909 อันตั๋วแลกเงินนั้นจะต้องมีรายการดังต่อไปนี้
1. คําบอกชื่อว่าเป็นตั๋วแลกเงิน
2. คําสั่งปราศจากเงื่อนไขให้จ่ายเงินเป็นจํานวนแน่นอน
3. ชื่อหรือยี่ห้อผู้จ่ายเงิน
4. วันถึงกําหนดใช้เงิน
5. สถานที่ใช้เงิน
6. ชื่อหรือยี่ห้อผู้รับเงิน หรือคําจดแจ้งว่าให้ใช้เงินแก่ผู้ถือ
7. วันและสถานที่ที่ออกตั๋วแลกเงิน
8. ลายมือชื่อผู้สั่งจ่าย
ตั๋วแลกเงินจะเป็นเอกสารที่สมบูรณ์ก็ต่อเมื่อผู้สั่งจ่าย (เจ้าหนี้) ทําขึ้น และส่งให้ผู้จ่าย
(ลูกหนี้) รับรองก่อน ในการรับรองตั๋วผู้จ่ายเงินจะเขียนใจความว่า “รับรองการใช้เงิน”หรือ
“รับรองแล้ว” พร้อมทั้งลงลายมือชื่อและวันที่ไว้ด้านหน้าของตั๋วเงิน
ตั๋วแลกเงินอาจเป็นสัญญาที่เกี่ยวข้องกับบุคคล 2 ฝ่ายหรือ 3 ฝ่าย ดังนี้
4.1.1 เกี่ยวกับบุคคล 2 ฝ่าย คือ ผู้สั่งจ่าย (เจ้าหนี้) และผู้จ่ายเงิน (ลูกหนี้) เป็นผู้
รับรองตั๋วโดยที่ผู้สั่งจ่ายกับผู้รับเงินนั้นเป็นบุคคลเดียวกัน
4. ประเภทของตั๋วเงิน
การบัญชีตั๋วเงิน 4
ตัวอย่างตั๋วแลกเงินที่เกี่ยวข้องกับบุคคล 2 ฝ่าย
ตั๋วแลกเงิน เลขที่ 038
17/6 ถ.สุรินทร์ อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์ 46000
วันที่ 13 มีนาคม 2552
ถึง นางสาวขวัญนภา ถนอมพุธ
เมื่อครบกําหนด 30 วัน นับจากที่ที่ลงในตั๋วแลกเงินนี้ให้ท่านจ่ายเงินให้แก่
ข้าพเจ้าจํานวน 50,000 บาท (ห้าหมื่นบาทถ้วน) ณ ภูมิลําเนาของท่านด้วย
นางผกากรอง บรรดาศักดิ์
รับรองว่าจะใช้เงินตามที่กําหนด
(ลงชื่อ) ขวัญนภา ถนอมพุธ
14 มีนาคม 2552
4.1.2 เกี่ยวข้องกับบุคคล 3 ฝ่าย คือ
1) ผู้สั่งจ่าย (ผู้ออกตั๋วหรือเจ้าหนี้)
2) ผู้รับรอง (ผู้จ่ายเงินหรือลูกหนี้)
3) ผู้รับเงิน
การบัญชีตั๋วเงิน 5
ตัวอย่างตั๋วแลกเงินเกี่ยวข้องกับบุคคล 3 ฝ่าย
ตั๋วแลกเงิน เลขที่ 038
17/6 ถ.สุรินทร์ อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์ 46000
วันที่ 13 มีนาคม 2552
ถึง นางสาวขวัญนภา ถนอมพุธ
เมื่อครบกําหนด 30 วัน นับจากที่ที่ลงในตั๋วแลกเงินนี้ให้ท่านจ่ายเงินให้แก่
นางปรียานุช นามจันทร์ดา จํานวน 30,000 บาท (สามหมื่นบาทถ้วน) ณ ภูมิลําเนาของ
ท่านด้วย
นางผกากรอง บรรดาศักดิ์
รับรองว่าจะใช้เงินตามี่กําหนด
(ลงชื่อ) ขวัญนภา ถนอมพุธ
14 มีนาคม 2552
ตั๋วแลกเงินแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
1. ตั๋วแลกเงินในประเทศ เป็นตั๋วเงินที่ทําขึ้นโดยผู้สั่งจ่าย ผู้จ่ายเงิน และผู้รับเงิน
อยู่ในประเทศเดียวกัน
2. ตั๋วแลกเงินต่างประเทศ เป็นตั๋วเงินที่ทําขึ้นโดยที่ผู้สั่งจ่าย ผู้จ่ายเงินและผู้รับเงิน
อยู่คนละประเทศกัน
4.2 ตั๋วสัญญาใช้เงิน
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 982 ได้บัญญัติว่า “อันว่าตั๋วสัญญา
ใช้เงินนั้นคือ หนังสือตราสารซึ่งบุคคลคนหนึ่งเรียกว่า ผู้ออกตั๋ว ให้คํามั่นว่าจะใช้เงินจํานวนหนึ่ง
ให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่งหรือใช้คําสั่งของบุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่า ผู้รับเงิน”
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 983 ได้กําหนดรายการในตั๋วสัญญาใช้
เงินไว้ดังนี้
1. คําบอกชื่อว่าเป็นตั๋วสัญญาใช้เงิน
2. คํามั่นสัญญาอันปราศจากเงื่อนไขว่าใช้เงินเป็นจํานวนที่แน่นอน
3. วันถึงกําหนดใช้เงิน
4. สถานที่ใช้เงิน
5. ชื่อหรือยี่ห้อของผู้รับเงิน
6. วันละสถานที่ออกตั๋วสัญญาใช้เงิน
7. ลายมือชื่อผู้ออกตั๋ว
การบัญชีตั๋วเงิน 6
ตัวอย่างตั๋วสัญญาใช้เงิน
ตั๋วสัญญาใช้เงิน เลขที่ 096
17/6 ถ.สุรินทร์ อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์ 46000
วันที่ 13 มีนาคม 2552
สี่สิบห้าวันนับตั้งแต่วันที่ข้าพเจ้าขอสัญญาว่าจะจ่ายเงินให้ นางปรียานุช
นามจันทร์ดา จํานวน 30,000 บาท (สามหมื่นบาทถ้วน) พร้อมดอกเบี้ยในอัตรา 9% ต่อปี
ที่ธนาคารกรุงไทยจํากัด สาขากาฬสินธุ์
ผกากรอง บรรดาศักดิ์
ตั๋วสัญญาใช้เงินโดยทั่วไปในกรณีต่าง ๆ ดังนี้
1. ลูกหนี้จะทําตั๋วสัญญาใช้เงินเพื่อชําระหนี้ในการซื้อสินทรัพย์ ซื้อสินค้า หรือบริการให้แก่
เจ้าหนี้
2. บุคคลโดยทั่วไปจัดทําขึ้นเพื่อใช้เป็นหลักฐานในการกู้ยืมเงินจากธนาคาร
ข้อแตกต่างของตั๋วแลกเงินและตั๋วสัญญาใช้เงิน
ตั๋วแลกเงิน ตั๋วสัญญาใช้เงิน
1. เป็นคําสั่งให้ใช้เงิน
2. มีบุคคลเกี่ยวข้อง อาจจะเป็น 2 ฝ่ายหรือ
3 ฝ่ายก็ได้
3. เจ้าหนี้เป็นผู้ออกตั๋ว และลูกหนี้เป็นผู้
รับรองตั๋ว
4. ผู้จ่ายเงินต้องลงชื่อรับรองรายการจ่ายเงิน
จึงจะถือว่าตั๋วนั้นสมบูรณ์
1. เป็นคํามั่นสัญญาว่าจะใช้เงิน
2. มีบุคคลเกี่ยวข้อง 2 ฝ่ายเท่านั้น
3. ลูกหนี้เป็นผู้ออกตั๋วให้กับเจ้าหนี้
4. ไม่ต้องมีการรับรองตั๋วเพราะผู้
จ่ายเงินเป็นผู้ออกตั๋ว
การบัญชีตั๋วเงิน 7
4.3 เช็ค
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 987 บัญญัติไว้ “อันว่าเช็คนั้นคือ
หนังสือตราสารซึ่งบุคคลหนึ่งเรียกว่า ผู้สั่งจ่าย สั่งธนาคารให้ใช้เงินจํานวนหนึ่งเมื่อทวงถามให้แก่
บุคคลอีกบุคคลหนึ่งเรียกว่า ผู้รับเงิน” ผู้ที่จะใช้เช็คนั้นจะต้องติดต่อกับธนาคารเพื่อขอเปิดบัญชี
เงินฝากประเภทกระแสรายวัน เมื่อต้องการใช้เงินหรือจ่ายชําระหนี้ก็จะเขียนเช็คสั่งจ่าย และผู้ทรง
เช็คก็จะนําเช็คนั้นไปขึ้นเงินที่ธนาคาร (ศึกษารายละเอียดเรื่องเช็คในหน่วยที่ 9)
เช็คมีผู้เกี่ยวข้องอยู่ 3 ฝ่ายคือ
1. ผู้ออกเช็ค หรือผู้สั่งจ่าย
2. ธนาคาร หรือผู้จ่ายเงิน
3. ผู้รับเงิน คือ ผู้ที่มีเช็คในครอบครอง
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 988 บัญญัติไว้ว่า อันว่าเช็คนั้น
จะต้องมีรายการดังต่อไปนี้
1. คําบอกชื่อว่าเป็นเช็ค
2. คําสั่งปราศจากเงื่อนไขให้ใช้เงินจํานวนแน่นอน
3. ชื่อ หรือยี่ห้อและสํานักงานของธนาคาร
4. ชื่อ หรือยี่ห้อของผู้รับเงิน หรือคําจดแจ้งว่าให้ใช้เงินแก่ผู้ถือ
5. สถานที่ใช้เงิน
6. วันและสถานที่ออกเช็ค
7. ลายมือชื่อผู้สั่งจ่าย
การคํานวณวันครบกําหนดอายุตั๋วเงิน ถ้าในการออกตั๋วเงินในแต่ละฉบับไม่ได้กําหนดไว้
ชัดเจนว่าวันครบกําหนดชําระเงินคือวันใด ดังนั้นจะต้องคํานวณหาวันครบกําหนด การคํานวณวัน
ครบกําหนดอายุตั๋วเงิน มีดังนี้
5.1 ตั๋วเงินมีกําหนดระยะเวลาเป็นปี
5.2 ตั๋วเงินมีกําหนดระยะเวลาเป็นเดือน
5.3 ตั๋วเงินมีกําหนดระยะเวลาเป็นวัน
5.1 ตั๋วเงินมีกําหนดระยะเวลาเป็นปี
ตั๋วเงินมีกําหนดระยะเวลาเป็นปี วันถึงกําหนดคือวันที่เดียวกันแต่เป็นปีถัดไป
ตัวอย่างที่ 1 ตั๋วลงวันที่ 14 มีนาคม 2551 กําหนดเวลา 1 ปี จะถึงกําหนดในวันที่ 14
มีนาคม 2552
5. การคํานวณวันครบกําหนดอายุตั๋วเงิน
การบัญชีตั๋วเงิน 8
1 ปี
มีนาคม 2552
อา จ อ พ พฤ ศ ส
1 2 3 4 5 6 7
8 9 10 11 12 13 14
15 16 17 18 19 20 21
22 23 24 25 26 27 28
29 30 31
5.2 ตั๋วเงินมีกําหนดระยะเวลาเป็นเดือน
ตั๋วเงินมีกําหนดระยะเวลาเป็นเดือน วันถึงกําหนดคือวันที่เดียวกันกับวันที่ในตั๋วโดยนับ
จํานวนเดือนตั้งแต่เดือนถัดไป ถ้าวันที่ในตั๋วเป็นวันสิ้นเดือนวันถึงกําหนดก็ต้องเป็นวันสิ้นเดือนแต่ถ้า
ถึงวันครบกําหนดไม่มีวันที่นั้น ให้ถือวันสุดท้ายของเดือนเป็นวันที่ถึงกําหนด
มีนาคม 2551
อา จ อ พ พฤ ศ ส
1
2 3 4 5 6 7 8
9 10 11 12 13 14 15
16 17 18 19 20 21 22
23 24 25 26 27 28 29
30 31
การบัญชีตั๋วเงิน 9
ตัวอย่างที่ 2 ตั๋วลงวันที่ 31 กรกฎาคม 2551 กําหนด 2 เดือน จะถึงกําหนดในวันที่ 30
กันยายน 2551
สิงหาคม 2551
อา จ อ พ พฤ ศ ส
1 2
3 4 5 6 7 8 9
10 11 12 13 14 15 16
17 18 19 20 21 22 23
24 25 26 27 28 29 30
31
กรกฏาคม 2551
อา จ อ พ พฤ ศ ส
1 2 3 4 5
6 7 8 9 10 11 12
13 14 15 16 17 18 19
20 21 22 23 24 25 26
27 28 29 30 31
กันยายน 2551
อา จ อ พ พฤ ศ ส
1 2 3 4 5 6
7 8 9 10 11 12 13
14 15 16 17 18 19 20
21 22 23 24 25 26 27
28 29 30
1 เดือน
+
1 เดือน
= 2 เดือน
การบัญชีตั๋วเงิน 10
5.3 ตั๋วเงินที่มีกําหนดระยะเวลาเป็นวัน
ตั๋วเงินที่มีกําหนดระยะเวลาเป็นวัน นับถัดจากวันที่ออกตั๋วจนถึงวันครบกําหนด
ตัวอย่างที่ 3 ตั๋วลงวันที่ 16 สิงหาคม 2551 กําหนด 60 วัน จะถึงกําหนดในวันที่
15 ตุลาคม 2551
สิงหาคม 2551
อา จ อ พ พฤ ศ ส
1 2
3 4 5 6 7 8 9
10 11 12 13 14 15 16
17 18 19 20 21 22 23
24 25 26 27 28 29 30
31
กันยายน 2551
อา จ อ พ พฤ ศ ส
1 2 3 4 5 6
7 8 9 10 11 12 13
14 15 16 17 18 19 20
21 22 23 24 25 26 27
28 29 30
ตุลาคม 2551
อา จ อ พ พฤ ศ ส
1 2 3 4
5 6 7 8 9 10 11
12 13 14 15 16 17 18
19 20 21 22 23 24 25
26 27 28 29 30 31
15 วัน
+
30 วัน
+
15 วัน
= 60 วัน
การบัญชีตั๋วเงิน 11
หรืออาจคํานวณได้ตามวิธีนี้ เดือน สิงหาคม (31-16) = 15 วัน
กันยายน = 30 วัน
ตุลาคม = 15 วัน (วันครบกําหนด)
รวม = 60 วัน
เพราะฉะนั้นวันครบกําหนดชําระเงินคือ วันที่ 15 ตุลาคม 2551
การคํานวณดอกเบี้ยตั๋วเงินใช้สูตรดังนี้
ดอกเบี้ยตั๋วเงิน = จํานวนเงินในตั๋ว x ระยะเวลาของตั๋วเงิน x อัตราดอกเบี้ยตั๋วเงิน
การคํานวณดอกเบี้ยตั๋วเงิน ถ้าเป็นตั๋วเงินชนิดมีดอกเบี้ยเมื่อถึงกําหนดชําระเงินจะต้อง
คํานวณหาดอกเบี้ยของตั๋วเงินด้วย ทางด้านผู้รับเงินดอกเบี้ยนี้ถือเป็นดอกเบี้ยรับ ส่วนทางด้านผู้
จ่ายเงินดอกเบี้ยนี้ถือเป็นดอกเบี้ยจ่าย
6.1 ตั๋วเงินมีกําหนดระยะเวลาเป็นปี
ตัวอย่างที่ 4 นายนาวินออกตั๋วสัญญาใช้เงิน จํานวน 60,000 บาท ตั๋วลงวันที่ 20 มีนาคม
2552 กําหนดระยะเวลาเป็น 1 ปี อัตราดอกเบี้ย 10% ต่อปี
การคํานวณดอกเบี้ยตั๋วเงินต่อปีจะเป็นดังนี้
ดอกเบี้ย = 60,000 x 1 x 10
100
= 6,000 บาท
6.2 ตั๋วเงินกําหนดระยะเวลาเป็นเดือน
ตัวอย่างที่ 5 นายธาวิน ออกตั๋วสัญญาใช้เงิน จํานวน 60,000 บาท ตั๋วลงวันที่ 31
กรกฎาคม 2552 กําหนดระยะเวลา 2 เดือน อัตราดอกเบี้ย 10% ต่อปี
การคํานวณดอกเบี้ยตั๋วเงินจะเป็นดังนี้
ดอกเบี้ย = 60,000 x 2 x 10
12 100
= 1,000 บาท
6.3 ตั๋วเงินมีกําหนดระยะเวลาเป็นวัน
ถ้าตั๋วเงินมีระยะเวลาเป็นวันให้ใช้เกณฑ์ 1 ปี มี 365 วัน หรือเพื่อสะดวกในการ
คํานวณจะใช้ปีในทางธุรกิจคือ 1 ปี มี 360 วันก็ได้
6. การคํานวณดอกเบี้ยตั๋วเงิน
การบัญชีตั๋วเงิน 12
ตัวอย่างที่ 6 นายวงศกรออกตั๋วสัญญาใช้เงิน จํานวน 60,000 บาท ตั๋วลงวันที่ 16
มีนาคม 2552 กําหนด 60 วัน อัตราดอกเบี้ย 10% ต่อปี
การคํานวณดอกเบี้ยตั๋วเงินจะเป็นดังนี้
ดอกเบี้ย = 60,000 x 60 x 10
365 100
= 986.30 บาท
จากการที่ทราบดอกเบี้ยตั๋วเงินแต่ไม่ทราบจํานวนเงินในตั๋ว อัตราดอกเบี้ยตั๋วเงินและ
ระยะเวลาของตั๋วเงิน วิธีการคํานวณคือนําสูตรหาดอกเบี้ยตั๋วเงินมาใช้ในการคํานวณก็ได้เช่น
ตั๋วเงินมีกําหนดระยะเวลาเป็นปี
จํานวนเงินในตั๋ว = ดอกเบี้ยตั๋วเงิน x 100
อัตราดอกเบี้ยตั๋วเงิน x ระยะเวลาของตั๋วเงิน
อัตราดอกเบี้ยตั๋วเงิน = ดอกเบี้ยตั๋วเงิน x 100
จํานวนเงินในตั๋ว x ระยะเวลาของตั๋วเงิน
ระยะเวลาของตั๋วเงิน = ดอกเบี้ยตั๋วเงิน x 100
จํานวนเงินในตั๋ว x อัตราดอกเบี้ยตั๋วเงินตั๋วเงิน
ตั๋วเงินมีกําหนดระยะเวลาเป็นเดือน
จํานวนเงินในตั๋ว = ดอกเบี้ยตั๋วเงิน x 100 x12
อัตราดอกเบี้ยตั๋วเงิน x ระยะเวลาของตั๋วเงิน
อัตราดอกเบี้ยตั๋วเงิน = ดอกเบี้ยตั๋วเงิน x 100 x12
จํานวนเงินในตั๋ว x ระยะเวลาของตั๋วเงิน
ระยะเวลาของตั๋วเงิน = ดอกเบี้ยตั๋วเงิน x 100 x12
จํานวนเงินในตั๋ว x อัตราดอกเบี้ยตั๋วเงินตั๋วเงิน
ตั๋วเงินมีกําหนดระยะเวลาเป็นวัน
จํานวนเงินในตั๋ว = ดอกเบี้ยตั๋วเงิน x 100 x 365
อัตราดอกเบี้ยตั๋วเงิน x ระยะเวลาของตั๋วเงิน
อัตราดอกเบี้ยตั๋วเงิน = ดอกเบี้ยตั๋วเงิน x 100 x 365
จํานวนเงินในตั๋ว x ระยะเวลาของตั๋วเงิน
ระยะเวลาของตั๋วเงิน = ดอกเบี้ยตั๋วเงิน x 100 x 365
จํานวนเงินในตั๋ว x อัตราดอกเบี้ยตั๋วเงินตั๋วเงิน
การบัญชีตั๋วเงิน 13
คําถามหน่วยที่ 1
เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับตั๋วเงิน
คําชี้แจง ให้ตอบคําถามดังต่อไปนี้
1. ตั๋วเงินประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มีกี่ประเภทอะไรบ้าง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. ตั๋วแลกเงิน คือ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. บุคคลที่เกี่ยวข้องกับตั๋วแลกเงิน 3 ฝ่าย มีใครบ้าง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. ตั๋วสัญญาใช้เงิน คือ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
5. ตั๋วแลกเงินมีลักษณะแตกต่างจากตั๋วสัญญาใช้เงินอย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
การบัญชีตั๋วเงิน 14
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1
เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับตั๋วเงิน
ข้อ 1. ให้คํานวณวันครบกําหนดของตั๋วเงินต่อไปนี้ (เดือนกุมภาพันธ์ ใช้ 28 วัน)
วันออกตั๋ว กําหนดเวลา วันครบกําหนด
1.1
1.2
1.3
1.4
1.5
1.6
1.7
1.8
1.9
1.10
10
25
31
28
5
19
1
27
10
6
ม.ค.
มี.ค.
มี.ค.
ก.พ.
เม.ย.
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค.
ส.ค.
ต.ค.
2552
2552
2552
2552
2552
2552
2552
2552
2552
2552
30
60
3
4
45
2
20
90
70
3
วัน
วัน
เดือน
เดือน
วัน
เดือน
วัน
วัน
วัน
เดือน
…………….......
…………….......
…………….......
…………….......
…………….......
…………….......
…………….......
…………….......
…………….......
…………….......
ข้อ 2. ให้คํานวณวันครบกําหนดของตั๋วเงินต่อไปนี้ (เดือนกุมภาพันธ์ ใช้ 28 วัน)
วันออกตั๋ว กําหนดเวลา วันครบกําหนด
2.1
2.2
2.3
2.4
2.5
2.6
2.7
2.8
2.9
2.10
18
2
22
28
30
31
8
14
25
11
ม.ค.
ก.พ.
ก.พ.
มี.ค.
มี.ค.
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค.
ส.ค.
ต.ค.
2552
2552
2552
2552
2552
2552
2552
2552
2552
2552
45
90
2
3
60
1
30
90
70
4
วัน
วัน
เดือน
เดือน
วัน
เดือน
วัน
วัน
วัน
เดือน
…………….......
…………….......
…………….......
…………….......
…………….......
…………….......
…………….......
…………….......
…………….......
…………….......
การบัญชีตั๋วเงิน 15
ข้อ 3. ให้คํานวณวันครบกําหนดของตั๋วเงินต่อไปนี้ (เดือนกุมภาพันธ์ ใช้ 28 วัน)
เลขที่ตั๋ว วันออกตั๋ว กําหนดเวลา วันครบกําหนด
3.1 301
3.2 302
3.3 303
3.4 304
3.5 305
3.6 306
3.7 307
3.8 308
3.9 309
3.10 310
18
2
22
28
30
31
8
14
25
11
ม.ค.
ก.พ.
ก.พ.
มี.ค.
มี.ค.
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค.
ส.ค.
ต.ค.
2552
2552
2552
2552
2552
2552
2552
2552
2552
2552
45
90
2
3
60
1
30
90
70
4
วัน
วัน
เดือน
เดือน
วัน
เดือน
วัน
วัน
วัน
เดือน
…………….......
…………….......
…………….......
…………….......
…………….......
…………….......
…………….......
…………….......
…………….......
…………….......
ข้อ 4. ให้คํานวณดอกเบี้ยตั๋วเงินเมื่อถึงวันครบกําหนดดังรายละเอียดต่อไปนี้ (1 ปีใช้ 360 วัน)
จํานวนเงิน อัตราดอกเบี้ย/ปี กําหนดเวลา ดอกเบี้ยตั๋วเงิน
4.1
4.2
4.3
4.4
4.5
4.6
4.7
4.8
4.9
4.10
40,000
25,000
30,000
28,000
15,000
48,000
20,000
36,000
24,000
50,000
10%
9%
8%
9%
8%
10%
9%
10%
8%
9%
3
60
30
45
1
4
90
2
30
5
เดือน
วัน
วัน
วัน
เดือน
เดือน
วัน
เดือน
วัน
เดือน
…………….......
…………….......
…………….......
…………….......
…………….......
…………….......
…………….......
…………….......
…………….......
…………….......
การบัญชีตั๋วเงิน 16
ข้อ 5. ให้คํานวณดอกเบี้ยตั๋วเงินเมื่อถึงวันครบกําหนดดังรายละเอียดต่อไปนี้ (1 ปีใช้ 360 วัน)
จํานวนเงิน อัตราดอกเบี้ย/ปี กําหนดเวลา ดอกเบี้ยตั๋วเงิน
5.1
5.2
5.3
5.4
5.5
5.6
5.7
5.8
5.9
5.10
90,000
40,000
60,000
80,000
75,000
50,000
30,000
55,000
84,000
45,000
9%
8%
9%
10%
9%
8%
10%
9%
9%
10%
5
30
45
90
3
2
90
60
3
4
เดือน
วัน
วัน
วัน
เดือน
เดือน
วัน
วัน
เดือน
เดือน
…………….......
…………….......
…………….......
…………….......
…………….......
…………….......
…………….......
…………….......
…………….......
…………….......
ข้อ 6. ให้คํานวณหาวันครบกําหนด และดอกเบี้ยตั๋วเงินดังต่อไปนี้ (1 ปีใช้ 360 วัน และเดือน
กุมภาพันธ์ใช้ 28 วัน)
จํานวน
เงิน วันออกตั๋ว
อัตรา
ดอกเบี้ย
กําหนด
เวลา
วันครบ
กําหนด
ดอกเบี้ย
ตั๋วเงิน
6.1
6.2
6.3
6.4
6.5
6.6
6.7
6.8
6.9
6.10
5,000
8,000
4,000
6,000
7,500
6,300
9,600
8,400
6,500
8,900
14
25
31
4
28
9
28
3
11
26
พ.ค.
ม.ค.
ก.ค.
ก.ย.
เม.ย.
ส.ค.
ก.พ.
มี.ค.
มิ.ย.
ต.ค.
52
52
52
52
52
52
52
52
52
52
8.50%
8%
9%
7.75%
8.25%
8%
9%
8.75%
7.50%
7.75%
60
45
2
3
90
50
3
45
2
30
วัน
วัน
เดือน
เดือน
วัน
วัน
เดือน
วัน
เดือน
วัน
…………….....
…………….....
…………….....
…………….....
…………….....
…………….....
…………….....
…………….....
…………….....
…………….....
…………….....
…………….....
…………….....
…………….....
…………….....
…………….....
…………….....
…………….....
…………….....
…………….....
การบัญชีตั๋วเงิน 17
ข้อ 7. ต่อไปนี้เป็นรายการเกี่ยวกับ ตั๋วเงินของร้านเอกมงคล
ฉบับ
ที่
จํานวน
เงิน วันออกตั๋ว
อัตรา
ดอกเบี้ย
กําหนด
เวลา
วันครบ
กําหนด
ดอกเบี้ย
ตั๋วเงิน
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
20,000
60,000
32,000
48,000
24,000
50,000
37,000
46,000
30,000
45,000
15
20
6
10
1
5
28
27
12
11
มี.ค.
พ.ค.
ก.พ.
ก.ย.
ส.ค.
เม.ย.
ม.ค.
มิ.ย.
ต.ค.
ก.ค.
52
52
52
52
52
52
52
52
52
52
8%
9%
8.5%
8%
8.25%
9%
9%
8.75%
8%
9%
4
60
3
2
90
6
45
5
30
60
เดือน
วัน
เดือน
เดือน
วัน
เดือน
เดือน
เดือน
เดือน
วัน
…………….....
…………….....
…………….....
…………….....
…………….....
…………….....
…………….....
…………….....
…………….....
…………….....
…………….....
…………….....
…………….....
…………….....
…………….....
…………….....
…………….....
…………….....
…………….....
…………….....
ให้คํานวณหาวันครบกําหนดและดอกเบี้ยตั๋วเงินแต่ละฉบับ (เพื่อความสะดวกในการคํานวณ 1 ปี ใช้
360 วัน และเดือนกุมภาพันธ์ใช้ 28 วัน)
ข้อ 8. ให้คํานวณหาวันครบกําหนด และดอกเบี้ยตั๋วเงินดังต่อไปนี้ (1 ปีใช้ 360 วัน และเดือน
กุมภาพันธ์ใช้ 28 วัน)
จํานวน
เงิน วันออกตั๋ว
อัตรา
ดอกเบี้ย
กําหนด
เวลา
วันครบ
กําหนด
ดอกเบี้ย
ตั๋วเงิน
8.1
8.2
8.3
8.4
8.5
8.6
8.7
8.8
8.9
8.10
4,000
8,000
10,000
5,000
6,000
7,000
15,000
12,000
16,000
18,000
14
25
31
4
28
9
28
3
11
26
พ.ค.
ม.ค.
ก.ค.
ก.ย.
เม.ย.
ส.ค.
ก.พ.
มี.ค.
มิ.ย.
ต.ค.
52
52
52
52
52
52
52
52
52
52
8.50%
8%
9%
7.75%
8.25%
8%
9%
8.75%
7.50%
7.75%
60
45
2
3
90
50
3
45
2
30
วัน
วัน
เดือน
เดือน
วัน
วัน
เดือน
วัน
เดือน
วัน
……………..
……………..
……………..
……………..
……………..
……………..
……………..
……………..
……………..
……………..
…………….....
…………….....
…………….....
…………….....
…………….....
…………….....
…………….....
…………….....
…………….....
…………….....
การบัญชีตั๋วเงิน 18
ข้อ 9. ให้คํานวณหารายการที่เว้นว่างดังนี้ ( 1 ปีใช้ 360 วัน)
จํานวนเงินในตั๋ว กําหนดเวลา อัตราดอกเบี้ย/ปี ดอกเบี้ยตั๋วเงิน
5.1 65,000 .................... 10% 1,625
5.2 40,000 60 วัน ........................ 600
5.3 ....................... 1 เดือน 8% 200
5.4 30,000 3 เดือน 9% ........................
5.5 ........................ 90 วัน 8% 500
การบัญชีตั๋วเงิน 19
แบบทดสอบหลังการเรียนรู้
เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับตั๋วเงิน
คําชี้แจง ให้นักเรียนทําเครื่องหมาย X หน้าข้อที่เป็นคําตอบที่ถูกต้องที่สุด
ข้อ 1. ข้อใดต่อไปนี้คือความหมายของตั๋วเงิน
ก. เอกสารหรือหลักฐานที่แสดงการเป็นหนี้ระหว่างกัน
ข. เอกสารที่ลูกหนี้ใช้ประกอบการบันทึกบัญชี
ค. เอกสารที่เจ้าหนี้ใช้ประกอบการบันทึกบัญชี
ง. เอกสารที่เจ้าหนี้ใช้ในการฟ้องร้องลูกหนี้
ข้อ 2. ตั๋วเงินตามคําจํากัดความในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มี 3 ประเภท
ตามข้อใด
ก. ตั๋วแลกเงิน เช็ค ดราฟท์ธนาคาร
ข. ตั๋วแลกเงิน ตั๋วสัญญาใช้เงิน ดราฟท์ธนาคาร
ค. ตั๋วแลกเงิน ตั๋วสัญญาใช้เงิน แคชเชียร์เช็ค
ง. ตั๋วแลกเงิน ตั๋วสัญญาใช้เงิน เช็ค
ข้อ 3. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่ลักษณะของตั๋วเงินสัญญาใช้เงิน
ก. เป็นคําสั่งใช้ให้เงิน
ข. เป็นคํามั่นสัญญาว่าจะใช้เงิน
ค. มีบุคคลเกี่ยวข้อง 2 ฝ่ายเท่านั้น
ง. ลูกหนี้เป็นผู้ออกตั๋วให้กับเจ้าหนี้
ข้อ 4. ตั๋วเงินสัญญาใช้เงินลงวันที่ 31 มกราคม 2553 กําหนดอายุ 3 เดือน จะครบกําหนด
เมื่อใด
ก. 31 มีนาคม 2553
ข. 29 เมษายน 2553
ค. 30 เมษายน 2553
ง. 1 พฤษภาคม 2553
ข้อ 5. ตั๋วแลกเงินลงวันที่ 18 มีนาคม 2553 กําหนด 90 วัน จะครบกําหนดเมื่อใด
ก. 16 มิถุนายน 2553
ข. 17 มิถุนายน 2553
ค. 18 มิถุนายน 2553
ง. 19 มิถุนายน 2553
การบัญชีตั๋วเงิน 20
ข้อ 6. ตั๋วสัญญาใช้เงิน ลงวันที่ 28 มกราคม 2553 กําหนด 3 เดือน จะครบกําหนดเมื่อใด
ก. 28 มีนาคม 2553
ข. 31 มีนาคม 2553
ค. 28 เมษายน 2553
ง. 30 เมษายน 2553
ข้อ 7. ตั๋วสัญญาใช้เงินมูลค่า 50,000 บาท ตั๋วลงวันที่ 31 กรกฎาคม 2553 จะครบกําหนดวันที่
30 พฤศจิกายน 2553 อัตราดอกเบี้ย 9% ต่อปี ดอกเบี้ยตั๋วเงินมีจํานวนเท่าใด
ก. 1,125 บาท
ข. 1,500 บาท
ค. 1,875 บาท
ง. 4,500 บาท
ข้อ 8. จากโจทย์ข้อ 7 ตั๋วสัญญาใช้เงินมีกําหนดอายุกี่เดือน
ก. 3 เดือน
ข. 4 เดือน
ค. 5 เดือน
ง. 6 เดือน
ข้อ 9. ตั๋วแลกเงินมูลค่า 80,000 บาท ตั๋วลงวันที่ 7 กันยายน 2553 จะครบกําหนดวันที่ 6
ธันวาคม 2553 อัตราดอกเบี้ย 10% ต่อปี ตั๋วแลกเงินมีกําหนดกี่วัน (1 ปี ใช้ 365 วัน)
ก. 60 วัน
ข. 70 วัน
ค. 80 วัน
ง. 90 วัน
ข้อ 10. จากโจทย์ข้อ 9 ดอกเบี้ยตั๋วเงินมีจํานวนเท่าใด
ก. 2,000 บาท
ข. 2,666.67 บาท
ค. 1,972.60 บาท
ง. 1,928.76 บาท

More Related Content

What's hot

Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานPattapong Promchai
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดA-NKR Ning
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจ
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจPinutchaya Nakchumroon
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202พัน พัน
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลsa
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพOrnkapat Bualom
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์Kruorawan Kongpila
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานOrnkapat Bualom
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้นTik Msr
 
พลังงานความร้อน
พลังงานความร้อนพลังงานความร้อน
พลังงานความร้อนพัน พัน
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกายเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกายKan Pan
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนKobwit Piriyawat
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการพัน พัน
 

What's hot (20)

ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจ
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
 
รากที่สอง..
รากที่สอง..รากที่สอง..
รากที่สอง..
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
พลังงานความร้อน
พลังงานความร้อนพลังงานความร้อน
พลังงานความร้อน
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกายเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
สถิติการเกษตร
สถิติการเกษตรสถิติการเกษตร
สถิติการเกษตร
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 

Viewers also liked

Ch5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สินCh5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สินple2516
 
การบัญชี
การบัญชีการบัญชี
การบัญชีrattanapachai
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Witthawat Mulasiwa
 
ศัพท์ทางการบัญชี
ศัพท์ทางการบัญชีศัพท์ทางการบัญชี
ศัพท์ทางการบัญชีpeepai
 
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้าแบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้าKu'kab Ratthakiat
 
กระแสเงินสด
กระแสเงินสดกระแสเงินสด
กระแสเงินสดZéro Aé's
 
Exim5เงื่อนไขราคาและการขนส่ง
Exim5เงื่อนไขราคาและการขนส่งExim5เงื่อนไขราคาและการขนส่ง
Exim5เงื่อนไขราคาและการขนส่งWannarat Wattananimitkul
 
แบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชี
แบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชีแบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชี
แบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชีวาสนา ทีคะสาย
 
ตอนที่ 5: ตัวอย่างหุ้นใน SET 50
ตอนที่ 5: ตัวอย่างหุ้นใน SET 50ตอนที่ 5: ตัวอย่างหุ้นใน SET 50
ตอนที่ 5: ตัวอย่างหุ้นใน SET 50ex_aim
 
เรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
เรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคารเรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
เรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคารNoo Jomkwan Parida
 

Viewers also liked (17)

ชั้นกลาง 2(ตั๋วเงิน)
ชั้นกลาง 2(ตั๋วเงิน)ชั้นกลาง 2(ตั๋วเงิน)
ชั้นกลาง 2(ตั๋วเงิน)
 
Ch5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สินCh5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สิน
 
acc1
acc1acc1
acc1
 
ชั้นกลาง 2(ตั๋วเงิน)
ชั้นกลาง 2(ตั๋วเงิน)ชั้นกลาง 2(ตั๋วเงิน)
ชั้นกลาง 2(ตั๋วเงิน)
 
Ac+102+เฉลยหลักการบัญชี+2
Ac+102+เฉลยหลักการบัญชี+2Ac+102+เฉลยหลักการบัญชี+2
Ac+102+เฉลยหลักการบัญชี+2
 
การบัญชี
การบัญชีการบัญชี
การบัญชี
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
Accout
AccoutAccout
Accout
 
ศัพท์ทางการบัญชี
ศัพท์ทางการบัญชีศัพท์ทางการบัญชี
ศัพท์ทางการบัญชี
 
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้าแบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
 
กระแสเงินสด
กระแสเงินสดกระแสเงินสด
กระแสเงินสด
 
ชั้นกลาง 2(ตั๋วเงิน)
ชั้นกลาง 2(ตั๋วเงิน)ชั้นกลาง 2(ตั๋วเงิน)
ชั้นกลาง 2(ตั๋วเงิน)
 
Exim5เงื่อนไขราคาและการขนส่ง
Exim5เงื่อนไขราคาและการขนส่งExim5เงื่อนไขราคาและการขนส่ง
Exim5เงื่อนไขราคาและการขนส่ง
 
แบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชี
แบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชีแบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชี
แบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชี
 
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
 
ตอนที่ 5: ตัวอย่างหุ้นใน SET 50
ตอนที่ 5: ตัวอย่างหุ้นใน SET 50ตอนที่ 5: ตัวอย่างหุ้นใน SET 50
ตอนที่ 5: ตัวอย่างหุ้นใน SET 50
 
เรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
เรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคารเรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
เรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
 

การกำนวณตั่วเงิน

  • 1. การบัญชีตั๋วเงิน หน่วยที่ 1 เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับตั๋วเงิน 1. ความหมายของตั๋วเงิน 2. ประโยชน์และข้อจํากัดของการใช้ตั๋วเงินและเช็ค 3. จริยธรรมของผู้ใช้ตั๋วเงิน 4. ประเภทของตั๋วเงิน 5. การคํานวณวันครบกําหนดอายุตั๋วเงิน 6. การคํานวณดอกเบี้ยตั๋วเงิน 1. อธิบายความหมายของตั๋วเงินได้ 2. จําแนกประเภทของตั๋วเงินได้ 3. คํานวณวันครบกําหนดอายุตั๋วเงินได้ 4. คํานวณดอกเบี้ยตั๋วเงินได้ สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้
  • 2. การบัญชีตั๋วเงิน 2 ในทางบัญชีตั๋วเงิน หมายถึง เอกสาร หรือหลักฐานที่แสดงการเป็นหนี้กันระหว่างลูกหนี้ กับเจ้าหนี้ ซึ่งมีความน่าเชื่อถือมากกว่าลูกหนี้การค้า ในการประกอบธุรกิจมีการซื้อขายสินค้าหรือสินทรัพย์เป็นจํานวนมากมีทั้งการซื้อขายเป็น เงินสดและเงินเชื่อในกรณีซื้อขายกันจํานวนไม่มาก และเวลาการชําระเงินเป็นระยะเวลาสั้นๆ ผู้ซื้อ ก็จะบันทึกไว้ในบัญชีเจ้าหนี้การค้า ส่วนผู้ขายก็จะบันทึกไว้ในบัญชีลูกหนี้การค้า แต่ถ้าซื้อขายกัน เป็นจํานวนมากเวลาการให้เครดิตนาน การที่ผู้ขายจะมีความมั่นใจว่าจะได้รับเงินจากลูกหนี้แน่นอน นั้นคือการชําระเป็นตั๋วเงิน เพราะตั๋วเงินเป็นหลักประกันในการเรียกเก็บเงินได้ดีกว่าลูกหนี้การค้า ซึ่งทางด้านผู้ซื้อจะบันทึกไว้ในบัญชีตั๋วเงินจ่าย และทางด้านผู้ขายจะบันทึกไว้ในบัญชีตั๋วเงินรับ ในการซื้อขายสินค้าเป็นจํานวนมาก ผู้ขายต้องการรับชําระหนี้เป็นตั๋วเงินมากกว่าตั้งเป็น ลูกหนี้การค้าเพราะเหตุผลดังต่อไปนี้ 1. ในการทําธุรกิจที่มีการขายสินค้า หรือบริการเป็นจํานวนมากและมีมูลค่าสูง เพื่อให้เกิด ความมั่นใจว่าจะได้รับเงินตามจํานวนและตรงเวลา ผู้ขายจึงต้องการรับชําระเป็นตั๋วเงิน เพราะตั๋ว เงินเป็นเอกสารหลักฐานระบุจํานวนเงินที่เป็นหนี้ ระยะเวลาชําระเงินที่แน่นอน เมื่อวันครบกําหนด ก็จะได้รับชําระหนี้ตามจํานวนเงินในตั๋ว หรือถ้าผู้จ่ายเงินตามตั๋วปฏิเสธการจ่ายเงินเมื่อวันครบ กําหนดก็สามารถฟ้องร้องบังคับคดีกันได้ 2. จากการที่กิจการได้รับตั๋วเงินจากการขายสินค้าและบริการ ต่อมาเมื่อกิจการมีความ จําเป็นที่จะต้องใช้จ่ายเงินก่อนวันที่ตั๋วจะครบกําหนดก็สามารถนําตั๋วเงินนั้นไปขายลดให้กับธนาคาร หรือสถาบันการเงิน หรืออาจจะนําตั๋วเงินนั้นสลักหลังโอนเพื่อชําระหนี้ให้กับเจ้าหนี้ก็ได้ 3. ถ้าเป็นตั๋วเงินชนิดมีดอกเบี้ยเมื่อถึงวันครบกําหนดของตั๋วเงิน นอกจากจะได้รับชําระ ตามตั๋วแล้วก็จะได้รับดอกเบี้ยด้วย ซึ่งดอกเบี้ยรับนี้ถือเป็นรายได้ของกิจการอีกทางหนึ่ง ในการใช้ตั๋วเงินนั้นผู้ใช้ตั๋วเงินจะต้องมีจริยธรรม คือ 1. การตรงต่อเวลา ผู้ใช้ตั๋วเงินจะต้องรักษาเวลาในการชําระหนี้เมื่อตั๋วเงินนั้นครบกําหนด ชําระเพราะถ้าไม่รักษาเวลาจะทําให้กิจการขาดความน่าเชื่อถือ และจะมีผลกระทบต่อการประกอบ ธุรกิจในอนาคตของกิจการด้วย 1. ความหมายของตั๋วเงิน 2. ประโยชน์และข้อจํากัดของการใช้ตั๋วเงินและเช็ค 3. จริยธรรมของผู้ใช้ตั๋วเงิน
  • 3. การบัญชีตั๋วเงิน 3 2. ความซื่อสัตย์ ผู้ใช้ตั๋วเงินจะต้องมีความซื่อสัตย์ คือ จะต้องจ่ายเงินตามจํานวนที่ระบุใน ตั๋วโดยไม่บิดพริ้ว หรือถ้าเป็นผู้รับเงินตามตั๋วจะต้องไม่แก้ไขจํานวนเงินในตั๋วให้มากขึ้นเพื่อเอา เปรียบผู้จ่ายตามตั๋ว ซึ่งผู้จ่ายตามตั๋วอาจฟ้องร้องให้กิจการเสียชื่อเสียงได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 898 ได้แบ่งตั๋วเงินออกเป็น 3 ประเภท คือ 4.1 ตั๋วแลกเงิน ( Bill of Exchange ) 4.2 ตั๋วสัญญาใช้เงิน ( Promissory Note ) 4.3 เช็ค ( Chegue ) 4.1 ตั๋วแลกเงิน ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 908 ได้บัญญัติว่า อันว่าตั๋วแลกเงินนั้น คือ หนังสือตราสารซึ่งบุคคลคนหนึ่งเรียกว่า ผู้สั่งจ่าย สั่งให้บุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่า ผู้จ่ายเงิน ให้ใช้เงินจํานวนหนึ่งแก่บุคคลอีกคนหนึ่ง หรือใช้ตามคําสั่งของบุคคลหนึ่งซึ่งเรียกว่า ผู้รับเงิน การออกตั๋วแลกเงินจะต้องทําตามแบบที่กฎหมายกําหนดไว้ในประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์ มาตรา 909 อันตั๋วแลกเงินนั้นจะต้องมีรายการดังต่อไปนี้ 1. คําบอกชื่อว่าเป็นตั๋วแลกเงิน 2. คําสั่งปราศจากเงื่อนไขให้จ่ายเงินเป็นจํานวนแน่นอน 3. ชื่อหรือยี่ห้อผู้จ่ายเงิน 4. วันถึงกําหนดใช้เงิน 5. สถานที่ใช้เงิน 6. ชื่อหรือยี่ห้อผู้รับเงิน หรือคําจดแจ้งว่าให้ใช้เงินแก่ผู้ถือ 7. วันและสถานที่ที่ออกตั๋วแลกเงิน 8. ลายมือชื่อผู้สั่งจ่าย ตั๋วแลกเงินจะเป็นเอกสารที่สมบูรณ์ก็ต่อเมื่อผู้สั่งจ่าย (เจ้าหนี้) ทําขึ้น และส่งให้ผู้จ่าย (ลูกหนี้) รับรองก่อน ในการรับรองตั๋วผู้จ่ายเงินจะเขียนใจความว่า “รับรองการใช้เงิน”หรือ “รับรองแล้ว” พร้อมทั้งลงลายมือชื่อและวันที่ไว้ด้านหน้าของตั๋วเงิน ตั๋วแลกเงินอาจเป็นสัญญาที่เกี่ยวข้องกับบุคคล 2 ฝ่ายหรือ 3 ฝ่าย ดังนี้ 4.1.1 เกี่ยวกับบุคคล 2 ฝ่าย คือ ผู้สั่งจ่าย (เจ้าหนี้) และผู้จ่ายเงิน (ลูกหนี้) เป็นผู้ รับรองตั๋วโดยที่ผู้สั่งจ่ายกับผู้รับเงินนั้นเป็นบุคคลเดียวกัน 4. ประเภทของตั๋วเงิน
  • 4. การบัญชีตั๋วเงิน 4 ตัวอย่างตั๋วแลกเงินที่เกี่ยวข้องกับบุคคล 2 ฝ่าย ตั๋วแลกเงิน เลขที่ 038 17/6 ถ.สุรินทร์ อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์ 46000 วันที่ 13 มีนาคม 2552 ถึง นางสาวขวัญนภา ถนอมพุธ เมื่อครบกําหนด 30 วัน นับจากที่ที่ลงในตั๋วแลกเงินนี้ให้ท่านจ่ายเงินให้แก่ ข้าพเจ้าจํานวน 50,000 บาท (ห้าหมื่นบาทถ้วน) ณ ภูมิลําเนาของท่านด้วย นางผกากรอง บรรดาศักดิ์ รับรองว่าจะใช้เงินตามที่กําหนด (ลงชื่อ) ขวัญนภา ถนอมพุธ 14 มีนาคม 2552 4.1.2 เกี่ยวข้องกับบุคคล 3 ฝ่าย คือ 1) ผู้สั่งจ่าย (ผู้ออกตั๋วหรือเจ้าหนี้) 2) ผู้รับรอง (ผู้จ่ายเงินหรือลูกหนี้) 3) ผู้รับเงิน
  • 5. การบัญชีตั๋วเงิน 5 ตัวอย่างตั๋วแลกเงินเกี่ยวข้องกับบุคคล 3 ฝ่าย ตั๋วแลกเงิน เลขที่ 038 17/6 ถ.สุรินทร์ อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์ 46000 วันที่ 13 มีนาคม 2552 ถึง นางสาวขวัญนภา ถนอมพุธ เมื่อครบกําหนด 30 วัน นับจากที่ที่ลงในตั๋วแลกเงินนี้ให้ท่านจ่ายเงินให้แก่ นางปรียานุช นามจันทร์ดา จํานวน 30,000 บาท (สามหมื่นบาทถ้วน) ณ ภูมิลําเนาของ ท่านด้วย นางผกากรอง บรรดาศักดิ์ รับรองว่าจะใช้เงินตามี่กําหนด (ลงชื่อ) ขวัญนภา ถนอมพุธ 14 มีนาคม 2552 ตั๋วแลกเงินแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1. ตั๋วแลกเงินในประเทศ เป็นตั๋วเงินที่ทําขึ้นโดยผู้สั่งจ่าย ผู้จ่ายเงิน และผู้รับเงิน อยู่ในประเทศเดียวกัน 2. ตั๋วแลกเงินต่างประเทศ เป็นตั๋วเงินที่ทําขึ้นโดยที่ผู้สั่งจ่าย ผู้จ่ายเงินและผู้รับเงิน อยู่คนละประเทศกัน 4.2 ตั๋วสัญญาใช้เงิน ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 982 ได้บัญญัติว่า “อันว่าตั๋วสัญญา ใช้เงินนั้นคือ หนังสือตราสารซึ่งบุคคลคนหนึ่งเรียกว่า ผู้ออกตั๋ว ให้คํามั่นว่าจะใช้เงินจํานวนหนึ่ง ให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่งหรือใช้คําสั่งของบุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่า ผู้รับเงิน” ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 983 ได้กําหนดรายการในตั๋วสัญญาใช้ เงินไว้ดังนี้ 1. คําบอกชื่อว่าเป็นตั๋วสัญญาใช้เงิน 2. คํามั่นสัญญาอันปราศจากเงื่อนไขว่าใช้เงินเป็นจํานวนที่แน่นอน 3. วันถึงกําหนดใช้เงิน 4. สถานที่ใช้เงิน 5. ชื่อหรือยี่ห้อของผู้รับเงิน 6. วันละสถานที่ออกตั๋วสัญญาใช้เงิน 7. ลายมือชื่อผู้ออกตั๋ว
  • 6. การบัญชีตั๋วเงิน 6 ตัวอย่างตั๋วสัญญาใช้เงิน ตั๋วสัญญาใช้เงิน เลขที่ 096 17/6 ถ.สุรินทร์ อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์ 46000 วันที่ 13 มีนาคม 2552 สี่สิบห้าวันนับตั้งแต่วันที่ข้าพเจ้าขอสัญญาว่าจะจ่ายเงินให้ นางปรียานุช นามจันทร์ดา จํานวน 30,000 บาท (สามหมื่นบาทถ้วน) พร้อมดอกเบี้ยในอัตรา 9% ต่อปี ที่ธนาคารกรุงไทยจํากัด สาขากาฬสินธุ์ ผกากรอง บรรดาศักดิ์ ตั๋วสัญญาใช้เงินโดยทั่วไปในกรณีต่าง ๆ ดังนี้ 1. ลูกหนี้จะทําตั๋วสัญญาใช้เงินเพื่อชําระหนี้ในการซื้อสินทรัพย์ ซื้อสินค้า หรือบริการให้แก่ เจ้าหนี้ 2. บุคคลโดยทั่วไปจัดทําขึ้นเพื่อใช้เป็นหลักฐานในการกู้ยืมเงินจากธนาคาร ข้อแตกต่างของตั๋วแลกเงินและตั๋วสัญญาใช้เงิน ตั๋วแลกเงิน ตั๋วสัญญาใช้เงิน 1. เป็นคําสั่งให้ใช้เงิน 2. มีบุคคลเกี่ยวข้อง อาจจะเป็น 2 ฝ่ายหรือ 3 ฝ่ายก็ได้ 3. เจ้าหนี้เป็นผู้ออกตั๋ว และลูกหนี้เป็นผู้ รับรองตั๋ว 4. ผู้จ่ายเงินต้องลงชื่อรับรองรายการจ่ายเงิน จึงจะถือว่าตั๋วนั้นสมบูรณ์ 1. เป็นคํามั่นสัญญาว่าจะใช้เงิน 2. มีบุคคลเกี่ยวข้อง 2 ฝ่ายเท่านั้น 3. ลูกหนี้เป็นผู้ออกตั๋วให้กับเจ้าหนี้ 4. ไม่ต้องมีการรับรองตั๋วเพราะผู้ จ่ายเงินเป็นผู้ออกตั๋ว
  • 7. การบัญชีตั๋วเงิน 7 4.3 เช็ค ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 987 บัญญัติไว้ “อันว่าเช็คนั้นคือ หนังสือตราสารซึ่งบุคคลหนึ่งเรียกว่า ผู้สั่งจ่าย สั่งธนาคารให้ใช้เงินจํานวนหนึ่งเมื่อทวงถามให้แก่ บุคคลอีกบุคคลหนึ่งเรียกว่า ผู้รับเงิน” ผู้ที่จะใช้เช็คนั้นจะต้องติดต่อกับธนาคารเพื่อขอเปิดบัญชี เงินฝากประเภทกระแสรายวัน เมื่อต้องการใช้เงินหรือจ่ายชําระหนี้ก็จะเขียนเช็คสั่งจ่าย และผู้ทรง เช็คก็จะนําเช็คนั้นไปขึ้นเงินที่ธนาคาร (ศึกษารายละเอียดเรื่องเช็คในหน่วยที่ 9) เช็คมีผู้เกี่ยวข้องอยู่ 3 ฝ่ายคือ 1. ผู้ออกเช็ค หรือผู้สั่งจ่าย 2. ธนาคาร หรือผู้จ่ายเงิน 3. ผู้รับเงิน คือ ผู้ที่มีเช็คในครอบครอง ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 988 บัญญัติไว้ว่า อันว่าเช็คนั้น จะต้องมีรายการดังต่อไปนี้ 1. คําบอกชื่อว่าเป็นเช็ค 2. คําสั่งปราศจากเงื่อนไขให้ใช้เงินจํานวนแน่นอน 3. ชื่อ หรือยี่ห้อและสํานักงานของธนาคาร 4. ชื่อ หรือยี่ห้อของผู้รับเงิน หรือคําจดแจ้งว่าให้ใช้เงินแก่ผู้ถือ 5. สถานที่ใช้เงิน 6. วันและสถานที่ออกเช็ค 7. ลายมือชื่อผู้สั่งจ่าย การคํานวณวันครบกําหนดอายุตั๋วเงิน ถ้าในการออกตั๋วเงินในแต่ละฉบับไม่ได้กําหนดไว้ ชัดเจนว่าวันครบกําหนดชําระเงินคือวันใด ดังนั้นจะต้องคํานวณหาวันครบกําหนด การคํานวณวัน ครบกําหนดอายุตั๋วเงิน มีดังนี้ 5.1 ตั๋วเงินมีกําหนดระยะเวลาเป็นปี 5.2 ตั๋วเงินมีกําหนดระยะเวลาเป็นเดือน 5.3 ตั๋วเงินมีกําหนดระยะเวลาเป็นวัน 5.1 ตั๋วเงินมีกําหนดระยะเวลาเป็นปี ตั๋วเงินมีกําหนดระยะเวลาเป็นปี วันถึงกําหนดคือวันที่เดียวกันแต่เป็นปีถัดไป ตัวอย่างที่ 1 ตั๋วลงวันที่ 14 มีนาคม 2551 กําหนดเวลา 1 ปี จะถึงกําหนดในวันที่ 14 มีนาคม 2552 5. การคํานวณวันครบกําหนดอายุตั๋วเงิน
  • 8. การบัญชีตั๋วเงิน 8 1 ปี มีนาคม 2552 อา จ อ พ พฤ ศ ส 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 5.2 ตั๋วเงินมีกําหนดระยะเวลาเป็นเดือน ตั๋วเงินมีกําหนดระยะเวลาเป็นเดือน วันถึงกําหนดคือวันที่เดียวกันกับวันที่ในตั๋วโดยนับ จํานวนเดือนตั้งแต่เดือนถัดไป ถ้าวันที่ในตั๋วเป็นวันสิ้นเดือนวันถึงกําหนดก็ต้องเป็นวันสิ้นเดือนแต่ถ้า ถึงวันครบกําหนดไม่มีวันที่นั้น ให้ถือวันสุดท้ายของเดือนเป็นวันที่ถึงกําหนด มีนาคม 2551 อา จ อ พ พฤ ศ ส 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31
  • 9. การบัญชีตั๋วเงิน 9 ตัวอย่างที่ 2 ตั๋วลงวันที่ 31 กรกฎาคม 2551 กําหนด 2 เดือน จะถึงกําหนดในวันที่ 30 กันยายน 2551 สิงหาคม 2551 อา จ อ พ พฤ ศ ส 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 กรกฏาคม 2551 อา จ อ พ พฤ ศ ส 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 กันยายน 2551 อา จ อ พ พฤ ศ ส 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 1 เดือน + 1 เดือน = 2 เดือน
  • 10. การบัญชีตั๋วเงิน 10 5.3 ตั๋วเงินที่มีกําหนดระยะเวลาเป็นวัน ตั๋วเงินที่มีกําหนดระยะเวลาเป็นวัน นับถัดจากวันที่ออกตั๋วจนถึงวันครบกําหนด ตัวอย่างที่ 3 ตั๋วลงวันที่ 16 สิงหาคม 2551 กําหนด 60 วัน จะถึงกําหนดในวันที่ 15 ตุลาคม 2551 สิงหาคม 2551 อา จ อ พ พฤ ศ ส 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 กันยายน 2551 อา จ อ พ พฤ ศ ส 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 ตุลาคม 2551 อา จ อ พ พฤ ศ ส 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 15 วัน + 30 วัน + 15 วัน = 60 วัน
  • 11. การบัญชีตั๋วเงิน 11 หรืออาจคํานวณได้ตามวิธีนี้ เดือน สิงหาคม (31-16) = 15 วัน กันยายน = 30 วัน ตุลาคม = 15 วัน (วันครบกําหนด) รวม = 60 วัน เพราะฉะนั้นวันครบกําหนดชําระเงินคือ วันที่ 15 ตุลาคม 2551 การคํานวณดอกเบี้ยตั๋วเงินใช้สูตรดังนี้ ดอกเบี้ยตั๋วเงิน = จํานวนเงินในตั๋ว x ระยะเวลาของตั๋วเงิน x อัตราดอกเบี้ยตั๋วเงิน การคํานวณดอกเบี้ยตั๋วเงิน ถ้าเป็นตั๋วเงินชนิดมีดอกเบี้ยเมื่อถึงกําหนดชําระเงินจะต้อง คํานวณหาดอกเบี้ยของตั๋วเงินด้วย ทางด้านผู้รับเงินดอกเบี้ยนี้ถือเป็นดอกเบี้ยรับ ส่วนทางด้านผู้ จ่ายเงินดอกเบี้ยนี้ถือเป็นดอกเบี้ยจ่าย 6.1 ตั๋วเงินมีกําหนดระยะเวลาเป็นปี ตัวอย่างที่ 4 นายนาวินออกตั๋วสัญญาใช้เงิน จํานวน 60,000 บาท ตั๋วลงวันที่ 20 มีนาคม 2552 กําหนดระยะเวลาเป็น 1 ปี อัตราดอกเบี้ย 10% ต่อปี การคํานวณดอกเบี้ยตั๋วเงินต่อปีจะเป็นดังนี้ ดอกเบี้ย = 60,000 x 1 x 10 100 = 6,000 บาท 6.2 ตั๋วเงินกําหนดระยะเวลาเป็นเดือน ตัวอย่างที่ 5 นายธาวิน ออกตั๋วสัญญาใช้เงิน จํานวน 60,000 บาท ตั๋วลงวันที่ 31 กรกฎาคม 2552 กําหนดระยะเวลา 2 เดือน อัตราดอกเบี้ย 10% ต่อปี การคํานวณดอกเบี้ยตั๋วเงินจะเป็นดังนี้ ดอกเบี้ย = 60,000 x 2 x 10 12 100 = 1,000 บาท 6.3 ตั๋วเงินมีกําหนดระยะเวลาเป็นวัน ถ้าตั๋วเงินมีระยะเวลาเป็นวันให้ใช้เกณฑ์ 1 ปี มี 365 วัน หรือเพื่อสะดวกในการ คํานวณจะใช้ปีในทางธุรกิจคือ 1 ปี มี 360 วันก็ได้ 6. การคํานวณดอกเบี้ยตั๋วเงิน
  • 12. การบัญชีตั๋วเงิน 12 ตัวอย่างที่ 6 นายวงศกรออกตั๋วสัญญาใช้เงิน จํานวน 60,000 บาท ตั๋วลงวันที่ 16 มีนาคม 2552 กําหนด 60 วัน อัตราดอกเบี้ย 10% ต่อปี การคํานวณดอกเบี้ยตั๋วเงินจะเป็นดังนี้ ดอกเบี้ย = 60,000 x 60 x 10 365 100 = 986.30 บาท จากการที่ทราบดอกเบี้ยตั๋วเงินแต่ไม่ทราบจํานวนเงินในตั๋ว อัตราดอกเบี้ยตั๋วเงินและ ระยะเวลาของตั๋วเงิน วิธีการคํานวณคือนําสูตรหาดอกเบี้ยตั๋วเงินมาใช้ในการคํานวณก็ได้เช่น ตั๋วเงินมีกําหนดระยะเวลาเป็นปี จํานวนเงินในตั๋ว = ดอกเบี้ยตั๋วเงิน x 100 อัตราดอกเบี้ยตั๋วเงิน x ระยะเวลาของตั๋วเงิน อัตราดอกเบี้ยตั๋วเงิน = ดอกเบี้ยตั๋วเงิน x 100 จํานวนเงินในตั๋ว x ระยะเวลาของตั๋วเงิน ระยะเวลาของตั๋วเงิน = ดอกเบี้ยตั๋วเงิน x 100 จํานวนเงินในตั๋ว x อัตราดอกเบี้ยตั๋วเงินตั๋วเงิน ตั๋วเงินมีกําหนดระยะเวลาเป็นเดือน จํานวนเงินในตั๋ว = ดอกเบี้ยตั๋วเงิน x 100 x12 อัตราดอกเบี้ยตั๋วเงิน x ระยะเวลาของตั๋วเงิน อัตราดอกเบี้ยตั๋วเงิน = ดอกเบี้ยตั๋วเงิน x 100 x12 จํานวนเงินในตั๋ว x ระยะเวลาของตั๋วเงิน ระยะเวลาของตั๋วเงิน = ดอกเบี้ยตั๋วเงิน x 100 x12 จํานวนเงินในตั๋ว x อัตราดอกเบี้ยตั๋วเงินตั๋วเงิน ตั๋วเงินมีกําหนดระยะเวลาเป็นวัน จํานวนเงินในตั๋ว = ดอกเบี้ยตั๋วเงิน x 100 x 365 อัตราดอกเบี้ยตั๋วเงิน x ระยะเวลาของตั๋วเงิน อัตราดอกเบี้ยตั๋วเงิน = ดอกเบี้ยตั๋วเงิน x 100 x 365 จํานวนเงินในตั๋ว x ระยะเวลาของตั๋วเงิน ระยะเวลาของตั๋วเงิน = ดอกเบี้ยตั๋วเงิน x 100 x 365 จํานวนเงินในตั๋ว x อัตราดอกเบี้ยตั๋วเงินตั๋วเงิน
  • 13. การบัญชีตั๋วเงิน 13 คําถามหน่วยที่ 1 เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับตั๋วเงิน คําชี้แจง ให้ตอบคําถามดังต่อไปนี้ 1. ตั๋วเงินประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มีกี่ประเภทอะไรบ้าง …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ตั๋วแลกเงิน คือ …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. บุคคลที่เกี่ยวข้องกับตั๋วแลกเงิน 3 ฝ่าย มีใครบ้าง …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. ตั๋วสัญญาใช้เงิน คือ …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. 5. ตั๋วแลกเงินมีลักษณะแตกต่างจากตั๋วสัญญาใช้เงินอย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………….
  • 14. การบัญชีตั๋วเงิน 14 แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับตั๋วเงิน ข้อ 1. ให้คํานวณวันครบกําหนดของตั๋วเงินต่อไปนี้ (เดือนกุมภาพันธ์ ใช้ 28 วัน) วันออกตั๋ว กําหนดเวลา วันครบกําหนด 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 1.8 1.9 1.10 10 25 31 28 5 19 1 27 10 6 ม.ค. มี.ค. มี.ค. ก.พ. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ต.ค. 2552 2552 2552 2552 2552 2552 2552 2552 2552 2552 30 60 3 4 45 2 20 90 70 3 วัน วัน เดือน เดือน วัน เดือน วัน วัน วัน เดือน ……………....... ……………....... ……………....... ……………....... ……………....... ……………....... ……………....... ……………....... ……………....... ……………....... ข้อ 2. ให้คํานวณวันครบกําหนดของตั๋วเงินต่อไปนี้ (เดือนกุมภาพันธ์ ใช้ 28 วัน) วันออกตั๋ว กําหนดเวลา วันครบกําหนด 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 2.8 2.9 2.10 18 2 22 28 30 31 8 14 25 11 ม.ค. ก.พ. ก.พ. มี.ค. มี.ค. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ต.ค. 2552 2552 2552 2552 2552 2552 2552 2552 2552 2552 45 90 2 3 60 1 30 90 70 4 วัน วัน เดือน เดือน วัน เดือน วัน วัน วัน เดือน ……………....... ……………....... ……………....... ……………....... ……………....... ……………....... ……………....... ……………....... ……………....... …………….......
  • 15. การบัญชีตั๋วเงิน 15 ข้อ 3. ให้คํานวณวันครบกําหนดของตั๋วเงินต่อไปนี้ (เดือนกุมภาพันธ์ ใช้ 28 วัน) เลขที่ตั๋ว วันออกตั๋ว กําหนดเวลา วันครบกําหนด 3.1 301 3.2 302 3.3 303 3.4 304 3.5 305 3.6 306 3.7 307 3.8 308 3.9 309 3.10 310 18 2 22 28 30 31 8 14 25 11 ม.ค. ก.พ. ก.พ. มี.ค. มี.ค. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ต.ค. 2552 2552 2552 2552 2552 2552 2552 2552 2552 2552 45 90 2 3 60 1 30 90 70 4 วัน วัน เดือน เดือน วัน เดือน วัน วัน วัน เดือน ……………....... ……………....... ……………....... ……………....... ……………....... ……………....... ……………....... ……………....... ……………....... ……………....... ข้อ 4. ให้คํานวณดอกเบี้ยตั๋วเงินเมื่อถึงวันครบกําหนดดังรายละเอียดต่อไปนี้ (1 ปีใช้ 360 วัน) จํานวนเงิน อัตราดอกเบี้ย/ปี กําหนดเวลา ดอกเบี้ยตั๋วเงิน 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 4.6 4.7 4.8 4.9 4.10 40,000 25,000 30,000 28,000 15,000 48,000 20,000 36,000 24,000 50,000 10% 9% 8% 9% 8% 10% 9% 10% 8% 9% 3 60 30 45 1 4 90 2 30 5 เดือน วัน วัน วัน เดือน เดือน วัน เดือน วัน เดือน ……………....... ……………....... ……………....... ……………....... ……………....... ……………....... ……………....... ……………....... ……………....... …………….......
  • 16. การบัญชีตั๋วเงิน 16 ข้อ 5. ให้คํานวณดอกเบี้ยตั๋วเงินเมื่อถึงวันครบกําหนดดังรายละเอียดต่อไปนี้ (1 ปีใช้ 360 วัน) จํานวนเงิน อัตราดอกเบี้ย/ปี กําหนดเวลา ดอกเบี้ยตั๋วเงิน 5.1 5.2 5.3 5.4 5.5 5.6 5.7 5.8 5.9 5.10 90,000 40,000 60,000 80,000 75,000 50,000 30,000 55,000 84,000 45,000 9% 8% 9% 10% 9% 8% 10% 9% 9% 10% 5 30 45 90 3 2 90 60 3 4 เดือน วัน วัน วัน เดือน เดือน วัน วัน เดือน เดือน ……………....... ……………....... ……………....... ……………....... ……………....... ……………....... ……………....... ……………....... ……………....... ……………....... ข้อ 6. ให้คํานวณหาวันครบกําหนด และดอกเบี้ยตั๋วเงินดังต่อไปนี้ (1 ปีใช้ 360 วัน และเดือน กุมภาพันธ์ใช้ 28 วัน) จํานวน เงิน วันออกตั๋ว อัตรา ดอกเบี้ย กําหนด เวลา วันครบ กําหนด ดอกเบี้ย ตั๋วเงิน 6.1 6.2 6.3 6.4 6.5 6.6 6.7 6.8 6.9 6.10 5,000 8,000 4,000 6,000 7,500 6,300 9,600 8,400 6,500 8,900 14 25 31 4 28 9 28 3 11 26 พ.ค. ม.ค. ก.ค. ก.ย. เม.ย. ส.ค. ก.พ. มี.ค. มิ.ย. ต.ค. 52 52 52 52 52 52 52 52 52 52 8.50% 8% 9% 7.75% 8.25% 8% 9% 8.75% 7.50% 7.75% 60 45 2 3 90 50 3 45 2 30 วัน วัน เดือน เดือน วัน วัน เดือน วัน เดือน วัน ……………..... ……………..... ……………..... ……………..... ……………..... ……………..... ……………..... ……………..... ……………..... ……………..... ……………..... ……………..... ……………..... ……………..... ……………..... ……………..... ……………..... ……………..... ……………..... …………….....
  • 17. การบัญชีตั๋วเงิน 17 ข้อ 7. ต่อไปนี้เป็นรายการเกี่ยวกับ ตั๋วเงินของร้านเอกมงคล ฉบับ ที่ จํานวน เงิน วันออกตั๋ว อัตรา ดอกเบี้ย กําหนด เวลา วันครบ กําหนด ดอกเบี้ย ตั๋วเงิน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 20,000 60,000 32,000 48,000 24,000 50,000 37,000 46,000 30,000 45,000 15 20 6 10 1 5 28 27 12 11 มี.ค. พ.ค. ก.พ. ก.ย. ส.ค. เม.ย. ม.ค. มิ.ย. ต.ค. ก.ค. 52 52 52 52 52 52 52 52 52 52 8% 9% 8.5% 8% 8.25% 9% 9% 8.75% 8% 9% 4 60 3 2 90 6 45 5 30 60 เดือน วัน เดือน เดือน วัน เดือน เดือน เดือน เดือน วัน ……………..... ……………..... ……………..... ……………..... ……………..... ……………..... ……………..... ……………..... ……………..... ……………..... ……………..... ……………..... ……………..... ……………..... ……………..... ……………..... ……………..... ……………..... ……………..... ……………..... ให้คํานวณหาวันครบกําหนดและดอกเบี้ยตั๋วเงินแต่ละฉบับ (เพื่อความสะดวกในการคํานวณ 1 ปี ใช้ 360 วัน และเดือนกุมภาพันธ์ใช้ 28 วัน) ข้อ 8. ให้คํานวณหาวันครบกําหนด และดอกเบี้ยตั๋วเงินดังต่อไปนี้ (1 ปีใช้ 360 วัน และเดือน กุมภาพันธ์ใช้ 28 วัน) จํานวน เงิน วันออกตั๋ว อัตรา ดอกเบี้ย กําหนด เวลา วันครบ กําหนด ดอกเบี้ย ตั๋วเงิน 8.1 8.2 8.3 8.4 8.5 8.6 8.7 8.8 8.9 8.10 4,000 8,000 10,000 5,000 6,000 7,000 15,000 12,000 16,000 18,000 14 25 31 4 28 9 28 3 11 26 พ.ค. ม.ค. ก.ค. ก.ย. เม.ย. ส.ค. ก.พ. มี.ค. มิ.ย. ต.ค. 52 52 52 52 52 52 52 52 52 52 8.50% 8% 9% 7.75% 8.25% 8% 9% 8.75% 7.50% 7.75% 60 45 2 3 90 50 3 45 2 30 วัน วัน เดือน เดือน วัน วัน เดือน วัน เดือน วัน …………….. …………….. …………….. …………….. …………….. …………….. …………….. …………….. …………….. …………….. ……………..... ……………..... ……………..... ……………..... ……………..... ……………..... ……………..... ……………..... ……………..... …………….....
  • 18. การบัญชีตั๋วเงิน 18 ข้อ 9. ให้คํานวณหารายการที่เว้นว่างดังนี้ ( 1 ปีใช้ 360 วัน) จํานวนเงินในตั๋ว กําหนดเวลา อัตราดอกเบี้ย/ปี ดอกเบี้ยตั๋วเงิน 5.1 65,000 .................... 10% 1,625 5.2 40,000 60 วัน ........................ 600 5.3 ....................... 1 เดือน 8% 200 5.4 30,000 3 เดือน 9% ........................ 5.5 ........................ 90 วัน 8% 500
  • 19. การบัญชีตั๋วเงิน 19 แบบทดสอบหลังการเรียนรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับตั๋วเงิน คําชี้แจง ให้นักเรียนทําเครื่องหมาย X หน้าข้อที่เป็นคําตอบที่ถูกต้องที่สุด ข้อ 1. ข้อใดต่อไปนี้คือความหมายของตั๋วเงิน ก. เอกสารหรือหลักฐานที่แสดงการเป็นหนี้ระหว่างกัน ข. เอกสารที่ลูกหนี้ใช้ประกอบการบันทึกบัญชี ค. เอกสารที่เจ้าหนี้ใช้ประกอบการบันทึกบัญชี ง. เอกสารที่เจ้าหนี้ใช้ในการฟ้องร้องลูกหนี้ ข้อ 2. ตั๋วเงินตามคําจํากัดความในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มี 3 ประเภท ตามข้อใด ก. ตั๋วแลกเงิน เช็ค ดราฟท์ธนาคาร ข. ตั๋วแลกเงิน ตั๋วสัญญาใช้เงิน ดราฟท์ธนาคาร ค. ตั๋วแลกเงิน ตั๋วสัญญาใช้เงิน แคชเชียร์เช็ค ง. ตั๋วแลกเงิน ตั๋วสัญญาใช้เงิน เช็ค ข้อ 3. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่ลักษณะของตั๋วเงินสัญญาใช้เงิน ก. เป็นคําสั่งใช้ให้เงิน ข. เป็นคํามั่นสัญญาว่าจะใช้เงิน ค. มีบุคคลเกี่ยวข้อง 2 ฝ่ายเท่านั้น ง. ลูกหนี้เป็นผู้ออกตั๋วให้กับเจ้าหนี้ ข้อ 4. ตั๋วเงินสัญญาใช้เงินลงวันที่ 31 มกราคม 2553 กําหนดอายุ 3 เดือน จะครบกําหนด เมื่อใด ก. 31 มีนาคม 2553 ข. 29 เมษายน 2553 ค. 30 เมษายน 2553 ง. 1 พฤษภาคม 2553 ข้อ 5. ตั๋วแลกเงินลงวันที่ 18 มีนาคม 2553 กําหนด 90 วัน จะครบกําหนดเมื่อใด ก. 16 มิถุนายน 2553 ข. 17 มิถุนายน 2553 ค. 18 มิถุนายน 2553 ง. 19 มิถุนายน 2553
  • 20. การบัญชีตั๋วเงิน 20 ข้อ 6. ตั๋วสัญญาใช้เงิน ลงวันที่ 28 มกราคม 2553 กําหนด 3 เดือน จะครบกําหนดเมื่อใด ก. 28 มีนาคม 2553 ข. 31 มีนาคม 2553 ค. 28 เมษายน 2553 ง. 30 เมษายน 2553 ข้อ 7. ตั๋วสัญญาใช้เงินมูลค่า 50,000 บาท ตั๋วลงวันที่ 31 กรกฎาคม 2553 จะครบกําหนดวันที่ 30 พฤศจิกายน 2553 อัตราดอกเบี้ย 9% ต่อปี ดอกเบี้ยตั๋วเงินมีจํานวนเท่าใด ก. 1,125 บาท ข. 1,500 บาท ค. 1,875 บาท ง. 4,500 บาท ข้อ 8. จากโจทย์ข้อ 7 ตั๋วสัญญาใช้เงินมีกําหนดอายุกี่เดือน ก. 3 เดือน ข. 4 เดือน ค. 5 เดือน ง. 6 เดือน ข้อ 9. ตั๋วแลกเงินมูลค่า 80,000 บาท ตั๋วลงวันที่ 7 กันยายน 2553 จะครบกําหนดวันที่ 6 ธันวาคม 2553 อัตราดอกเบี้ย 10% ต่อปี ตั๋วแลกเงินมีกําหนดกี่วัน (1 ปี ใช้ 365 วัน) ก. 60 วัน ข. 70 วัน ค. 80 วัน ง. 90 วัน ข้อ 10. จากโจทย์ข้อ 9 ดอกเบี้ยตั๋วเงินมีจํานวนเท่าใด ก. 2,000 บาท ข. 2,666.67 บาท ค. 1,972.60 บาท ง. 1,928.76 บาท