SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
~ 1 ~
การสอบไล่ภาค 2 ปีการศึกษา 2551
ข้อสอบกระบวนวิชา LAW 1003 (LA 103) (LW 203)
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยนิติกรรมและสัญญา
คาแนะนา ข้อสอบเป็นอัตนัยล้วน มี 4 ข้อ
ข้อ 1. ก . การแสดงเจตนาต่อผู้เยาว์ หรือคนไร้ความสามารถ หรือคนเสมือนไร้ความสามารถมีผลในกฎหมาย
ประการใด ให้อธิบายโดยสังเขป
ข . นายแดงทาสัญญาเช่าบ้านของนางเหลืองมีกาหนด 2 ปี อัตราค่าเช่าเดือนละ 8,000 บาท หลังจากเช่าได้ 7
เดือน นายแดงวิกลจริตและถูกศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถและไม่ได้ชาระค่าเช่าให้ แก่นางเหลืองตั้งแต่นั้น
เป็นต้นมา นางเหลืองได้ส่งจดหมายเตือนให้นายแดงชาระค่าเช่าแต่นายแดงก็ยังไม่นาค่าเช่า มาชาระ นาง
เหลืองจึงบอกเลิกสัญญาไปยังนายแดง
ข้อเท็จจริงในเรื่องนี้ได้ความว่าใน ระหว่างที่นายเขียวซึ่งเป็นผู้อนุบาลของนายแดงเดินทางไปต่างประเทศ ไม่รู้
เรื่องที่นางเหลืองบอกเลิกสัญญาไปยังนายแดง ดังนี้ การบอกเลิกสัญญาเช่าที่นางเหลืองได้บอกกล่าวไปยังนาย
แดงมีผลในกฎหมายอย่างไร หรือไม่ เพราะเหตุใด
ธงคาตอบ
หลักกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา 170 การแสดงเจตนาซึ่งกระทาต่อผู้เยาว์ หรือผู้ที่ศาลสั่งให้เป็นบุคคลไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้
ความสามารถ จะยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้ผู้รับการแสดงเจตนาไม่ได้ เว้นแต่ผู้แทนโดยชอบธรรม ผู้อนุบาลหรือผู้
พิทักษ์ แล้วแต่กรณีของผู้รับการแสดงเจตนานั้นได้รู้ด้วย หรือได้ให้ความยินยอมไว้ก่อนแล้ว
ความในวรรคหนึ่งมิให้ใช้บังคับ ถ้าการแสดงเจตนานั้นเกี่ยวกับการที่กฎหมายบัญญัติให้ผู้เยาว์หรือคนเสมือนไร้
ความสามารถกระทาได้เองโดยลาพัง
ก. อธิบาย
กรณีการแสดงเจตนาต่อผู้เยาว์ คนไร้ความสามารถ หรือคนเสมือนไร้ความสามารถ
เป็นกรณีที่บุคคลภายนอกมาแสดงเจตนาต่อผู้บกพร่องในความสามารถ หาใช่เป็นเรื่องที่ผู้บกพร่องใน
ความสามารถได้แสดงเจตนาต่อบุคคลภายนอกไม่ ผู้บกพร่องในความสามารถในที่นี้ได้แก่ ผู้เยาว์ซึ่งมีผู้แทนโดย
ชอบธรรมคุ้มครองดูแล คนไร้ความสามารถซึ่งมีผู้อนุบาลคุ้มครองดูแล และคนเสมือนไร้ความสามารถซึ่งมีผู้
พิทักษ์คุ้มครองดูแล
~ 2 ~
หลักทั่วไป ผู้แสดงเจตนาจะยกเอาการแสดงเจตนานั้น ขึ้นเป็นข้อต่อสู้ผู้รับการแสดงเจตนาซึ่งเป็นผู้เยาว์ คนไร้
ความสามรถ หรือคนเสมือนไร้ความสามารถนั้นไม่ได้
ข้อยกเว้น ผู้แสดงเจตนาสามารถยกเอาการแสดงเจตนาขึ้นมาต่อสู้กับผู้รับการแสดงเจตนาได้ถ้าเป็นกรณี
ต่อไปนี้
1. ผู้คุ้มครองดูแลผู้เยาว์ คนไร้ความสามารถ หรือคนเสมือนไร้ความสามารถ (ได้แก่ผู้แทนโดยชอบธรรม
ผู้อนุบาล หรือผู้พิทักษ์) แล้วแต่กรณี ได้รู้ถึงการแสดงเจตนานั้นด้วยหรือได้ให้ความยินยอมไว้ก่อนแล้ว (มาตรา
170 วรรคแรก) หรือ
2. การแสดงเจตนานั้น กฎหมายบัญญัติให้ผู้เยาว์ คนเสมือนไร้ความสามารถกระทาได้เองโดยลาพัง ตาม
มาตรา 170 วรรคสอง (สังเกตว่า กรณีนี้กฎหมายไม่ได้บัญญัติรวมถึงคนไร้ความสามารถ เพราะคนไร้
ความสามารถไม่อาจทานิติกรรมได้เองโดยลาพัง)
ข . วินิจฉัย
กรณี ตามอุทาหรณ์ ปัญหาที่ต้องวินิจฉัยมีว่า การบอกเลิกสัญญาเช่าที่นางเหลืองบอกกล่าวไปยังนายแดงมีผล
ในทางกฎหมายหรือไม่ อย่างไร เห็นว่า ในขณะที่นางเหลืองแสดงเจตนาบอกเลิกสัญญาเช่าบ้านไปยังนายแดง
ซึ่งเป็นคนไร้ ความสามารถ โดยนายเขียวผู้อนุบาลได้เดินทางไปต่างประเทศและไม่ทราบการเลิกสัญญา
ดังกล่าว กรณีเช่นนี้ถือเป็นการแสดงงเจตนาต่อคนไร้ความสามารถโดยผู้อนุบาลไม่ได้รู้ ด้วยหรือได้ไห้ความ
ยินยอมไว้ก่อน กรณีจึงต้องตามหลักทั่วไปของการแสดงเจตนาต่อผู้บกพร่องในความสามารถที่ผู้ แสดงเจตนา
จะยกเอาการแสดงเจตนานั้นขึ้นมาต่อสู้กับผู้รับการแสดงเจตนาไม่ได้ ตามมาตรา 170 วรรคแรก
ดังนั้น การที่นางเหลืองบอกเลิกสัญญาเช่า โดยบอกกล่าวไปยังนายแดงคนไร้ความสามารถโดยผู้อนุบาลไม่ได้
รู้ด้วยหรือมิได้ให้ความยินยอมไว้ก่อน มีผลในทางกฎหมายคือ นางเหลืองจะยกเอาการบอกเลิกสัญญาเช่า
บ้านขึ้นต่อสู้นายแดงไม่ได้
สรุป ผลทางกฎหมาย คือ นางเหลืองจะยกเอาการบอกเลิกสัญญาเช่าบ้านขึ้นต่อสู้นายแดงคนไร้ความสามารถ
ไม่ได้
ข้อ 2. กรณีโมฆียะกรรมได้กระทาขึ้นโดยคนไร้ความสามรถนั้น ถามว่าใครบ้างเป็นผู้มีสิทธิบอกล้าง
โมฆียะกรรมนั้นในทุกกรณี อธิบาย
~ 3 ~
ธงคาตอบ
หลักกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา 175 โมฆียะกรรมนั้น บุคคลต่อไปนี้จะบอกล้างเสียก็ได้
(2 ) บุคคลซึ่งศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ เมื่อบุคคลนั้นพ้นจากการเป็นคน
ไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถแล้ว หรือผู้อนุบาล หรือผู้พิทักษ์แล้วแต่กรณีแต่คนเสมือนไร้
ความสามารถจะบอกล้างก่อนที่ตนจะพ้น จาการเป็นคนเสมือนไร้ความสามรถก็ได้ถ้าได้รับความยินยอมของผู้
พิทักษ์
ถ้าบุคคลผู้ทานิติกรรมอันเป็นโมฆียะถึงแก่ความตายก่อนมีการบอกล้างโมฆียะกรรม ทายาทของบุคคลดังกล่าว
อาจบอกล้างโมฆียะกรรมนั้นได้
อธิบาย
“การบอกล้างโมฆียะกรรม” คือ การแสดงเจตนาทาลายโมฆียะกรรมให้กลายเป็นโมฆะกรรมย้อนหลังไปถึงวัน
เวลาที่ทานิติกรรมนั้น
กรณีโมฆียะกรรมได้ทาขึ้นโดยคนไร้ความสามารถ ผู้มีสิทธิบอกล้างโมฆียะกรรมนั้น ได้แก่
1. คนไร้ความสามารถ แต่จะทาการบอกล้างโมฆียะกรรมได้ต่อเมื่อได้พ้นจากการเป็นคนไร้ความสามารถแล้ว
2. ผู้อนุบาล เนื่องจากคนไร้ความสามารถอยู่ในความดูแลของผู้อนุบาล
3. ทายาทของคนไร้ความสามารถ ในกรณีที่ผู้ไร้ความสามารถได้ถึงแก่ความตายก่อนมีการบอกล้าง
โมฆียะกรรม ตามมาตรา 175 วรรคสอง ที่ว่า “ถ้าบุคคลผู้ทานิติกรรมอันเป็นโมฆียะถึงแก่ความตายก่อนมีการ
บอกล้างโมฆียะกรรม ทายาทของบุคคลดังกล่าวอาจบอกล้างโมฆียะกรรมนั้นได้” แต่ถ้าผู้ไร้ความสามารถยังมี
ชีวิตอยู่ทายาทจะไม่มีสิทธิบอกล้างโมฆียะกรรมเลย เว้นแต่ ทายาทนั้นมีฐานะเป็นผู้อนุบาลด้วย
ข้อ 3. นายแดงได้ทาบัตรเครดิตกับธนาคารสยามไทย จากัด จานวน 1 ใบ ธนาคารกาหนดเงิน 50,000 บาท
ในเดือนกันยายน 2549 นายแดงได้นาบัตรเครดิตไปซื้อสินค้ารวมเป็นเงินทั้งสิ้น 35,000 บาท ธนาคารฯ
กาหนดให้นายแดงนาเงินไปชาระภายในวันที่ 10 ตุลาคม 2549 ถ้าชาระภายในกาหนดนายแดงไม่ต้องเสีย
ดอกเบี้ย แต่พอถึงกาหนดนายแดงไม่นาเงินไปชาระให้แก่ธนาคาร ธนาคารได้มีหนังสือทวงถามมาหลายครั้ง
แต่นายแดงก็ไม่นาเงินไปชาระ
จนกระทั่งวันที่ 1 ตุลาคม 2551 ซึ่งเหลือเวลา 9 วัน จะครบกาหนดอายุความ 2 ปี นายแดงได้นาเงินไปชาระ
โดยผ่านเครื่องรับชาระเงินเป็นจานวน 2,000 บาท หลังจากนั้นนายแดงมิได้นาเงินไปชาระให้ธนาคารฯ อีกเลย
ต่อมาธนาคารฯได้นาคดีมาฟ้องศาลเรียกทั้งเงินที่ค้างชาระพร้อมดอกเบี้ยในวันที่ 2 มีนาคม 2552 นายแดง
ต่อสู้ว่าขาดอายุความแล้ว ธนาคารฯ อ้างว่ายังไม่ขาดเพราะอายุความสะดุดหยุดลงในวันที่ 1 ตุลาคม 2551
ดังนี้ อยากทราบว่าข้ออ้างของธนาคารฯ ฟังขึ้นหรือไม่ เพราะเหตุใด
หมายเหตุ ป.พ.พ. มาตรา 193/34 บัญญัติว่า “สิทธิเรียกร้องดังต่อไปนี้ ให้มีกาหนดอายุความสองปี”
~ 4 ~
(7) บุคคลซึ่งมิได้เข้าอยู่ในประเภทที่ระบุไว้ใน (1) แต่เป็นผู้ประกอบธุรกิจในการดูแลกิจการของผู้อื่น... เรียก
เอาสินจ้างอันจะพึงได้รับในการนั้น...”
ธงคาตอบ
หลักกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา 193/14 อายุความย่อมสะดุดหยุดลงในกรณีดังต่อไปนี้
(1) ลูกหนี้รับสภาพหนี้ต่อเจ้าหนี้ตามสิทธิเรียกร้องโดยทาเป็นหนังสือรับสภาพหนี้ให้ ชาระหนี้ให้บางส่วน
ชาระดอกเบี้ย ให้ประกัน หรือกระทาการใด ๆ อันปราศจากข้อสงสัยแสดงให้เป็นปริยายว่ายอมรับสภาพหนี้
ตามสิทธิเรียกร้อง
มาตรา 193/15 เมื่ออายุความสะดุดหยุดลงแล้ว ระยะเวลาที่ล่วงไปก่อนนั้นไม่นับเข้าในอายุความเมื่อเหตุที่ทา
ให้อายุความสะดุดหยุดลงสิ้นสุดเวลาใด ให้เริ่มนับอายุความใหม่ตั้งแต่เวลานั้น
มาตรา 193/34 สิทธิเรียกร้องดังต่อไปนี้ให้มีกาหนดอายุความสองปี
(7) บุคคลซึ่งมิได้เข้าอยู่ในประเภทที่ระบุไว้ใน (1) แต่เป็นผู้ประกอบธุรกิจในการดูแลกิจการของผู้อื่นหรือรับทา
การงานต่าง ๆ เรียกเอาสินจ้างอันจะพึงได้รับในการนั้น รวมทั้งเงินที่ได้ออกทดรองไป
วินิจฉัย
กรณีตามอุทาหรณ์ ประเด็นที่ต้องวินิจฉัยมีว่า ข้ออ้างของธนาคารฯ ที่ว่าคดียังไม่ขาดอายุความเพราะอายุความ
สะดุดหยุดลงนั้น ฟังขึ้นหรือไม่ เห็นว่า นายแดงได้ทาบัตรเครดิตไว้กับธนาคารฯ และธนาคารฯได้กาหนดวงเงิน
50,000 บาท และกาหนดให้นายแดงนาเงินไปชาระภายในวันที่ 10 ตุลาคม 2549 การที่นายแดงได้นาบัตร
เครดิตไปซื้อสินค้าและบริการรวมทั้งสิ้น 35,000 บาท กรณีเช่นนี้ถือว่านายแดงเป็นหนี้ธนาคารฯ อยู่เพียง
35,000 บาทเท่านั้น แม้บัตรเครดิตจะกาหนดวงเงินไว้ถึง 50,000 บาท ก็เป็นเพียงแต่การจากัดมิให้นาย
แดงใช้บัตรเครดิตซื้อสินค้าและบริการเกินไปกว่าวงเงินที่กาหนดไว้ในการให้สินเชื่อบัตรเครดิตเท่านั้น หามีผล
ทาให้นายแดงเป็นหนี้ธนาคาร 50,000 บาท แต่อย่างใด
เมื่อ ข้อเท็จจริงปรากฏว่า ในวันที่ 10 ตุลาคม 2549 ซึ่งเป็นวันถึงกาหนดชาระหนี้ นายแดงไม่ได้นาเงินไปชาระ
ให้แก่ธนาคารฯ เช่นนี้สิทธิเรียกร้องของธนาคารย่อมเกิดขึ้นนับแต่วันนั้นเป็นต้นไป อายุความก็เริ่มนับตั้งแต่
วันที่อาจใช้สิทธิเรียกร้องเป็นต้นไปเช่นเดียวกัน ตามมาตรา 193/12 โดยเริ่มนับในวันรุ่งขึ้นคือ วันที่ 11
ตุลาคม 2549 ส่วนกาหนดอายุความนั้น กรณีธนาคารฯ เป็นผู้ประกอบธุรกิจในการรับการทาการงานต่างๆ
โดยให้ลูกค้านาบัตรเครดิตไปใช้ซื้อสินค้าได้ก่อนแล้วธนาคารฯ จะมาเรียกเก็บเงินจากลูกค้าในภายหลังถือได้ว่า
เป็นการเรียกเอาค่าที่ได้ออกเงินทดรองจ่ายไปก่อน สิทธิเรียกร้องของธนาคารฯ ในกรณีนี้มีอายุความ 2 ปี ตาม
มาตรา 193/34(7) ดังนั้นอายุความตามสิทธิเรียกร้องของธนาคารฯ จึงจะครบกาหนดในวันที่ 10 ตุลาคม
2551 (ฏ.1517/2550)
~ 5 ~
แต่ต่อมาในวันที่ 1 ตุลาคม 2551 ซึ่งเหลือเวลาอีก 9 วันจะครบกาหนดอายุความ 2 ปีดังกล่าว นายแดงได้นา
เงินไปชาระโดยผ่านเครื่องชาระเงินเป็นจานวน 2, 000 บาท และหลังจากนั้นนายแดงก็มิได้นาเงินไปชาระให้
ธนาคารฯ อีกเลย จึงเป็นกรณีที่นายแดงชาระเงินให้ธนาคารเจ้าหนี้แต่เพียงบางส่วน อันถือว่าเป็นการรับสภาพ
หนี้ตามสิทธิเรียกร้องแล้ว ตามมาตรา 193/14(1) อายุความสะดุดหยุดลง และเมื่ออายุความสะดุดหยุดลงแล้ว
ระยะเวลาที่ล่วงไปก่อนนั้นไม่นับเข้าในอายุความ แต่ให้นับอายุความใหม่ตั้งแต่เวลานั้น กรณีนี้จึงต้องเริ่มนับ
อายุความใหม่เท่าอายุความเดิม 2 ปี ตามมาตรา 193/34(7) ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2551 ซึ่งเป็นวันที่อายุความ
สะดุดหยุดลง ตามมาตรา 193/15
ดังนั้นเมื่อธนาคารฯ นาคดีมาฟ้องในวันที่ 2 มีนาคม 2552 ซึ่งยังไม่เกิน 2 ปีนับแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2551 คดีจึง
ยังไม่ขาดอายุความ ข้ออ้างของธนาคารฯ ที่ว่าคดียังไม่ขาดอายุความเพราะอายุความสะดุดหยุดลงแล้วจึงฟังขึ้น
(ฎ. 8801/2550)
สรุป ข้ออ้างของธนาคารฯ ฟังขึ้น
ข้อ 4. ก. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ กาหนดหลักเกณฑ์การชาระหนี้ตามสัญญาต่างตอบแทนไว้
อย่างไร อธิบายโดยสังเขป
ข . บริษัทโกงกางค้าไม้ จากัด ผู้ได้รับสัมปทานทาไม้ในเขตป่าชายเลนตกลงขายไม้ฟืน จานวน 1 ต้น แก่นายสัก
ราคา 800,000 บาท ในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2552 ทั้งสองฝ่ายกาหนดเวลาชาระราคาไม้ฟืนและกาหนดส่งมอบ
ไม้ฟืนกันในวันที่ 19 มีนาคม 2552 แต่เมื่อถึงวันที่ 4 มีนาคม 2552 บริษัทโกงกางค้าค้าไม้ จากัด ได้รับคาสั่ง
จากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ให้สัมปทานทาไม้ในเขตป่าชายเลนที่จะตัดไม้ฟืนเพื่อส่งมอบให้นายสักนั้นเป็น
อันสิ้นสุดลง ซึ่ง ณ เวลานั้นบริษัทโกงกางค้าไม้ จากัด ยังไม่ได้เริ่มทาการตัดฟันไม้ฟืนในป่าชายเลนแต่อย่างใด
จึงเป็นเหตุให้บริษัทโกงกางค้าไม้ จากัด ไม่สามารถส่งมอบไม้ฟืนที่ซื้อขายให้แก่นายสักได้
ดังนี้ บริษัทโกงกางค้าไม้ จากัด มีสิทธิเรียกให้นายสักชาระราคาไม้ฟืนดังกล่าวหรือไม่ เพราะเหตุใด
ธงคาตอบ
หลักกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา 369 ในสัญญาต่างตอบแทนนั้น คู่สัญญาฝ่ายหนึ่งจะไม่ยอมชาระหนี้จนกว่าอีกฝ่ายหนึ่ง
จะชาระหนี้หรือขอปฏิบัติการชาระหนี้ก็ได้ แต่ความข้อนี้ท่านมิให้ใช้บังคับ ถ้าหนี้ของคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งยังไม่
ถึงกาหนด
มาตรา 372 วรรคแรก นอกจากกรณีที่กล่าวไว้ในสองมาตราก่อน ถ้าการชาระหนี้ตกเป็นพ้นวิสัยเพราะเหตุ
อย่างใดอย่างหนึ่งอันจะโทษฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดก็ไม่ได้ไซร้ ท่านว่าลูกหนี้หามีสิทธิจะรับชาระหนี้ตอบแทนไม่
ก. อธิบาย
~ 6 ~
“สัญญาต่างตอบแทน” คือ สัญญาที่ก่อให้เกิดหนี้ทาให้คู่สัญญาต่างมีหนี้ที่ต้องชาระตอบแทนกัน หรือกล่าวอีก
นัยหนึ่งคือ เป็นสัญญาที่คู่สัญญาแต่ละฝ่ายต่างเป็นทั้งเจ้าหนี้และลูกหนี้ซึ่งกันและกันนั่นเอง เช่น สัญญาซื้อขาย
ผู้ขายย่อมมีหน้าที่ต้องส่งมอบทรัพย์สินที่ซื้อขาย และผู้ซื้อมีหน้าที่ต้องชาระราคาตอบแทนเป็นต้น
สาหรับหลักเกณฑ์การชาระหนี้ตามสัญญาต่างตอบแทน มีดังนี้
หลักทั่วไป คู่สัญญาฝ่ายหนึ่งจะไม่ยอมชาระหนี้จนกว่าอีกฝ่ายหนึ่งจะชาระหนี้ หรือขอปฏิบัติการชาระหนี้ก็ได้
กล่าวคือ คู่สัญญาในสัญญาต่างตอบแทนต้องชาระหนี้ตอบแทนกันในขณะเดียวกันในเมื่อถึงกาหนดชาระแล้ว
พร้อมกัน ถ้าคู่สัญญาฝ่ายหนึ่งไม่ชาระหนี้และไม่เสนอที่จะชาระหนี้ของตนตามข้อผูกพันในสัญญา คู่สัญญาอีก
ฝ่ายหนึ่งอาจปฏิเสธไม่ยอมชาระหนี้จนกว่าจะได้รับชาระหนี้ตอบแทนก็ได้
ตัวอย่าง ก. ตกลงซื้อรถยนต์จาก ข. 1 คัน เมื่อตกลงกันเรียบร้อยแล้ว ก. เรียกให้ ข. ส่งมอบรถยนต์ให้แก่ตน
แต่ยังไม่ยอมชาระราคารถยนต์ให้ ข. เช่นนี้ ข. อาจปฏิเสธไม่ส่งมอบรถยนต์ให้ ก. จนกว่าจะได้ชาระราคาจาก
ก. ก็ได้
ข้อยกเว้น แต่ความข้อนี้ท่านมิให้ใช้บังคับ ถ้าหนี้ของคู่สัญญาฝ่ายหนึ่งยังไม่ถึงกาหนด กล่าวคือ ในกรณีที่สัญญา
ต่างตอบแทนใดมีข้อกาหนดเงื่อนไขเวลาการชาระหนี้ ซึ่งมีผลให้คู่สัญญาฝ่ายหนึ่งได้รับประโยชน์จากเงื่อนไข
เวลา คือ ยังไม่ต้องชาระหนี้ตอบแทนในทันทีที่ทาสัญญากัน แต่จะต้องชาระเมื่อถึงกาหนดเวลาที่กาหนดไว้
และเจ้าหนี้จะเรียกให้ลูกหนี้ชาระหนี้ก่อนถึงที่กาหนดไว้ไม่ได้
ตัวอย่าง ก. ตกลงซื้อรถยนต์จาก ข. ในราคา 50,000 บาท โดยมีข้อตกลงกันว่า ข. ยอมให้ ก. ผ่อนชาระราคา
เป็นรายเดือนๆ ละ 5,000 บาท มีกาหนด 10 เดือน เช่นนี้เป็นกรณีที่สัญญาต่างตอบแทนมีข้อกาหนดเงื่อนเวลา
ในการชาระราคารถยนต์ ดังนั้น ข องส่งรถยนต์ให้ ก ในทันที เพราะหนี้ของ ข ถึงกาหนดชาระแล้ว แต่
ก. ยังไม่ต้องชาระราคาทั้งหมดให้ ข. ในทันทีแต่ต้องชาระให้เป็นรายเดือนตามที่ตกลงกันไว้ ถ้า ข. เรียกให้ ก.
ชาระราคารถยนต์ทั้งหมดในทันที ก. ย่อมปฏิเสธได้ (ตามมาตรา 369 ตอนท้าย)
ข. วินิจฉัย
กรณีตามอุทาหรณ์ ประเด็นที่ต้องวินิจฉัยมีว่า บริษัทฯ มีสิทธิเรียกให้นายสักชาระราคาไม้ฟืนดังกล่าวได้หรือไม่
เห็นว่า การที่บริษัทฯ ไม่สามารถส่งมอบไม้ฟืนให้แก่นายสักได้ เพราะได้รับคาสั่งจากกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ให้สัมปทานทาไม้ในเขตป่าชายเลนที่จะตัดไม้ฟืนเพื่อส่งมอบให้นายสักนั้นเป็นอันสิ้นสุดลง ทาให้การ
ชาระหนี้ที่บริษัทฯ จะส่งไม้ฟืนให้แก่นายสักเป็นไปไม่ได้
การชาระหนี้ของบริษัทฯ (การส่งไม้)จึงตกเป็นพ้นวิสัยเพราะเหตุอย่างใดอย่างหนึ่งอันจะโทษฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง
มิได้ และสัญญาการซื้อขายไม้ฟืนที่บริษัทฯ ทากับนายสักนั้นมีลักษณะเป็นสัญญาต่างตอบแทน ซึ่งคู่สัญญามี
หนี้ที่จะต้องชาระตอบแทนกัน ดังนั้นเมื่อบริษัทฯไม่สามารถชาระหนี้ให้แก่นายสักได้ (ส่งมอบไม้ฟืน) บริษัทฯ
~ 7 ~
ก็หามีสิทธิที่จะได้รับชาระหนี้ตอบแทนจากนายสักดุจเดียวกัน ตามมาตรา 369 ประกอบมาตรา 372 วรรค
แรก บริษัทฯ จึงเรียกให้นายสักชาระราคาไม้ฟืนไม่ได้ (ฎ. 149/2539)
สรุป บริษัทฯ เรียกให้นายสักชาระราคาไม้ฟืนไม่ได้
ที่มา http://www.mjsheetramfree.com/law1003-la103-lw203-kdhmay-phaeng-laea-phanichy-
wa-dwy-nitikrrm-sayya-phakh-2-2551
นามาเผยแพร่โดย
http://valrom.igetweb.com

More Related Content

What's hot

กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้Yosiri
 
แบบทดสอบก่อนเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียนแบบทดสอบก่อนเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียนNimanong Nim
 
สมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไกสมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไก593non
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้Yosiri
 
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญากฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญาYosiri
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นNattha Namm
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพkhorntee
 
บทที่ 2 นิติกรรม
บทที่ 2 นิติกรรมบทที่ 2 นิติกรรม
บทที่ 2 นิติกรรมChi Wasana
 
บทที่ 5 ซื้อขาย
บทที่ 5 ซื้อขายบทที่ 5 ซื้อขาย
บทที่ 5 ซื้อขายChi Wasana
 
บทเรียนสำเร็จรูป การกางเต็นท์
บทเรียนสำเร็จรูป การกางเต็นท์บทเรียนสำเร็จรูป การกางเต็นท์
บทเรียนสำเร็จรูป การกางเต็นท์watdang
 
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็กแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็กSakad Rinrith
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมYosiri
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม Yosiri
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาAon Narinchoti
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญาYosiri
 
โครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะ
โครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะโครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะ
โครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะPoramate Minsiri
 
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)Nongkran Jarurnphong
 

What's hot (20)

กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
แบบทดสอบก่อนเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียนแบบทดสอบก่อนเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน
 
สมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไกสมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไก
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญากฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
 
บทที่ 2 นิติกรรม
บทที่ 2 นิติกรรมบทที่ 2 นิติกรรม
บทที่ 2 นิติกรรม
 
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
 
บทที่ 5 ซื้อขาย
บทที่ 5 ซื้อขายบทที่ 5 ซื้อขาย
บทที่ 5 ซื้อขาย
 
บทเรียนสำเร็จรูป การกางเต็นท์
บทเรียนสำเร็จรูป การกางเต็นท์บทเรียนสำเร็จรูป การกางเต็นท์
บทเรียนสำเร็จรูป การกางเต็นท์
 
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็กแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
 
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้งชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
โครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะ
โครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะโครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะ
โครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะ
 
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
 

More from ประพันธ์ เวารัมย์

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้และนักวิชาการจัดเก็บรายได้
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้และนักวิชาการจัดเก็บรายได้แนวข้อสอบเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้และนักวิชาการจัดเก็บรายได้
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้และนักวิชาการจัดเก็บรายได้ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป สอบท้องถิ่น
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป สอบท้องถิ่นแนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป สอบท้องถิ่น
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป สอบท้องถิ่นประพันธ์ เวารัมย์
 
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินครั้งที่ 2 เพื่อคัดเลือกพนักงานราชกา...
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินครั้งที่ 2 เพื่อคัดเลือกพนักงานราชกา...ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินครั้งที่ 2 เพื่อคัดเลือกพนักงานราชกา...
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินครั้งที่ 2 เพื่อคัดเลือกพนักงานราชกา...ประพันธ์ เวารัมย์
 
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ชุดที่ 2
แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น  ชุดที่ 2แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น  ชุดที่ 2
แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ชุดที่ 2ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยประพันธ์ เวารัมย์
 
สรุปแผนยุทธศาสตร์แผนกรมพัฒนาชุมชน
สรุปแผนยุทธศาสตร์แผนกรมพัฒนาชุมชนสรุปแผนยุทธศาสตร์แผนกรมพัฒนาชุมชน
สรุปแผนยุทธศาสตร์แผนกรมพัฒนาชุมชนประพันธ์ เวารัมย์
 
ประกาศรายชื่อมีสิทธิเข้ารับการประเมินฯ กำหนดวัน เวลา สถานที่ และระเบียบฯ เพื่...
ประกาศรายชื่อมีสิทธิเข้ารับการประเมินฯ กำหนดวัน เวลา สถานที่ และระเบียบฯ เพื่...ประกาศรายชื่อมีสิทธิเข้ารับการประเมินฯ กำหนดวัน เวลา สถานที่ และระเบียบฯ เพื่...
ประกาศรายชื่อมีสิทธิเข้ารับการประเมินฯ กำหนดวัน เวลา สถานที่ และระเบียบฯ เพื่...ประพันธ์ เวารัมย์
 
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยประพันธ์ เวารัมย์
 
หัวข้อสอบเตรียมสอบ นักวิเคราะห์นโยบายบายและแผน สังกัดท้องถิ่น
หัวข้อสอบเตรียมสอบ นักวิเคราะห์นโยบายบายและแผน สังกัดท้องถิ่น หัวข้อสอบเตรียมสอบ นักวิเคราะห์นโยบายบายและแผน สังกัดท้องถิ่น
หัวข้อสอบเตรียมสอบ นักวิเคราะห์นโยบายบายและแผน สังกัดท้องถิ่น ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบท้องถิ่น บรรจุแต่งตั้งสังกัดอบต. เทศบาล อบจ. และเมืองพัทยา จำนวน 211...
แนวข้อสอบท้องถิ่น บรรจุแต่งตั้งสังกัดอบต. เทศบาล อบจ. และเมืองพัทยา จำนวน 211...แนวข้อสอบท้องถิ่น บรรจุแต่งตั้งสังกัดอบต. เทศบาล อบจ. และเมืองพัทยา จำนวน 211...
แนวข้อสอบท้องถิ่น บรรจุแต่งตั้งสังกัดอบต. เทศบาล อบจ. และเมืองพัทยา จำนวน 211...ประพันธ์ เวารัมย์
 
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)
แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)
แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)ประพันธ์ เวารัมย์
 

More from ประพันธ์ เวารัมย์ (20)

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้และนักวิชาการจัดเก็บรายได้
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้และนักวิชาการจัดเก็บรายได้แนวข้อสอบเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้และนักวิชาการจัดเก็บรายได้
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้และนักวิชาการจัดเก็บรายได้
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป สอบท้องถิ่น
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป สอบท้องถิ่นแนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป สอบท้องถิ่น
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป สอบท้องถิ่น
 
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินครั้งที่ 2 เพื่อคัดเลือกพนักงานราชกา...
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินครั้งที่ 2 เพื่อคัดเลือกพนักงานราชกา...ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินครั้งที่ 2 เพื่อคัดเลือกพนักงานราชกา...
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินครั้งที่ 2 เพื่อคัดเลือกพนักงานราชกา...
 
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
 
แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ชุดที่ 2
แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น  ชุดที่ 2แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น  ชุดที่ 2
แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ชุดที่ 2
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
 
สรุปแผนยุทธศาสตร์แผนกรมพัฒนาชุมชน
สรุปแผนยุทธศาสตร์แผนกรมพัฒนาชุมชนสรุปแผนยุทธศาสตร์แผนกรมพัฒนาชุมชน
สรุปแผนยุทธศาสตร์แผนกรมพัฒนาชุมชน
 
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณแนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
 
ประกาศรายชื่อมีสิทธิเข้ารับการประเมินฯ กำหนดวัน เวลา สถานที่ และระเบียบฯ เพื่...
ประกาศรายชื่อมีสิทธิเข้ารับการประเมินฯ กำหนดวัน เวลา สถานที่ และระเบียบฯ เพื่...ประกาศรายชื่อมีสิทธิเข้ารับการประเมินฯ กำหนดวัน เวลา สถานที่ และระเบียบฯ เพื่...
ประกาศรายชื่อมีสิทธิเข้ารับการประเมินฯ กำหนดวัน เวลา สถานที่ และระเบียบฯ เพื่...
 
แนวข้อสอบท้องถิ่น 407 ข้อ
แนวข้อสอบท้องถิ่น 407 ข้อแนวข้อสอบท้องถิ่น 407 ข้อ
แนวข้อสอบท้องถิ่น 407 ข้อ
 
แนวข้อสอบท้องถิ่น
แนวข้อสอบท้องถิ่นแนวข้อสอบท้องถิ่น
แนวข้อสอบท้องถิ่น
 
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
 
หัวข้อสอบเตรียมสอบ นักวิเคราะห์นโยบายบายและแผน สังกัดท้องถิ่น
หัวข้อสอบเตรียมสอบ นักวิเคราะห์นโยบายบายและแผน สังกัดท้องถิ่น หัวข้อสอบเตรียมสอบ นักวิเคราะห์นโยบายบายและแผน สังกัดท้องถิ่น
หัวข้อสอบเตรียมสอบ นักวิเคราะห์นโยบายบายและแผน สังกัดท้องถิ่น
 
แนวข้อสอบท้องถิ่น บรรจุแต่งตั้งสังกัดอบต. เทศบาล อบจ. และเมืองพัทยา จำนวน 211...
แนวข้อสอบท้องถิ่น บรรจุแต่งตั้งสังกัดอบต. เทศบาล อบจ. และเมืองพัทยา จำนวน 211...แนวข้อสอบท้องถิ่น บรรจุแต่งตั้งสังกัดอบต. เทศบาล อบจ. และเมืองพัทยา จำนวน 211...
แนวข้อสอบท้องถิ่น บรรจุแต่งตั้งสังกัดอบต. เทศบาล อบจ. และเมืองพัทยา จำนวน 211...
 
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
 
แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)
แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)
แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)
 

ข้อสอบกระบวนวิชา Law 1003 (la 103) (lw 203)

  • 1. ~ 1 ~ การสอบไล่ภาค 2 ปีการศึกษา 2551 ข้อสอบกระบวนวิชา LAW 1003 (LA 103) (LW 203) กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยนิติกรรมและสัญญา คาแนะนา ข้อสอบเป็นอัตนัยล้วน มี 4 ข้อ ข้อ 1. ก . การแสดงเจตนาต่อผู้เยาว์ หรือคนไร้ความสามารถ หรือคนเสมือนไร้ความสามารถมีผลในกฎหมาย ประการใด ให้อธิบายโดยสังเขป ข . นายแดงทาสัญญาเช่าบ้านของนางเหลืองมีกาหนด 2 ปี อัตราค่าเช่าเดือนละ 8,000 บาท หลังจากเช่าได้ 7 เดือน นายแดงวิกลจริตและถูกศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถและไม่ได้ชาระค่าเช่าให้ แก่นางเหลืองตั้งแต่นั้น เป็นต้นมา นางเหลืองได้ส่งจดหมายเตือนให้นายแดงชาระค่าเช่าแต่นายแดงก็ยังไม่นาค่าเช่า มาชาระ นาง เหลืองจึงบอกเลิกสัญญาไปยังนายแดง ข้อเท็จจริงในเรื่องนี้ได้ความว่าใน ระหว่างที่นายเขียวซึ่งเป็นผู้อนุบาลของนายแดงเดินทางไปต่างประเทศ ไม่รู้ เรื่องที่นางเหลืองบอกเลิกสัญญาไปยังนายแดง ดังนี้ การบอกเลิกสัญญาเช่าที่นางเหลืองได้บอกกล่าวไปยังนาย แดงมีผลในกฎหมายอย่างไร หรือไม่ เพราะเหตุใด ธงคาตอบ หลักกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 170 การแสดงเจตนาซึ่งกระทาต่อผู้เยาว์ หรือผู้ที่ศาลสั่งให้เป็นบุคคลไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ ความสามารถ จะยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้ผู้รับการแสดงเจตนาไม่ได้ เว้นแต่ผู้แทนโดยชอบธรรม ผู้อนุบาลหรือผู้ พิทักษ์ แล้วแต่กรณีของผู้รับการแสดงเจตนานั้นได้รู้ด้วย หรือได้ให้ความยินยอมไว้ก่อนแล้ว ความในวรรคหนึ่งมิให้ใช้บังคับ ถ้าการแสดงเจตนานั้นเกี่ยวกับการที่กฎหมายบัญญัติให้ผู้เยาว์หรือคนเสมือนไร้ ความสามารถกระทาได้เองโดยลาพัง ก. อธิบาย กรณีการแสดงเจตนาต่อผู้เยาว์ คนไร้ความสามารถ หรือคนเสมือนไร้ความสามารถ เป็นกรณีที่บุคคลภายนอกมาแสดงเจตนาต่อผู้บกพร่องในความสามารถ หาใช่เป็นเรื่องที่ผู้บกพร่องใน ความสามารถได้แสดงเจตนาต่อบุคคลภายนอกไม่ ผู้บกพร่องในความสามารถในที่นี้ได้แก่ ผู้เยาว์ซึ่งมีผู้แทนโดย ชอบธรรมคุ้มครองดูแล คนไร้ความสามารถซึ่งมีผู้อนุบาลคุ้มครองดูแล และคนเสมือนไร้ความสามารถซึ่งมีผู้ พิทักษ์คุ้มครองดูแล
  • 2. ~ 2 ~ หลักทั่วไป ผู้แสดงเจตนาจะยกเอาการแสดงเจตนานั้น ขึ้นเป็นข้อต่อสู้ผู้รับการแสดงเจตนาซึ่งเป็นผู้เยาว์ คนไร้ ความสามรถ หรือคนเสมือนไร้ความสามารถนั้นไม่ได้ ข้อยกเว้น ผู้แสดงเจตนาสามารถยกเอาการแสดงเจตนาขึ้นมาต่อสู้กับผู้รับการแสดงเจตนาได้ถ้าเป็นกรณี ต่อไปนี้ 1. ผู้คุ้มครองดูแลผู้เยาว์ คนไร้ความสามารถ หรือคนเสมือนไร้ความสามารถ (ได้แก่ผู้แทนโดยชอบธรรม ผู้อนุบาล หรือผู้พิทักษ์) แล้วแต่กรณี ได้รู้ถึงการแสดงเจตนานั้นด้วยหรือได้ให้ความยินยอมไว้ก่อนแล้ว (มาตรา 170 วรรคแรก) หรือ 2. การแสดงเจตนานั้น กฎหมายบัญญัติให้ผู้เยาว์ คนเสมือนไร้ความสามารถกระทาได้เองโดยลาพัง ตาม มาตรา 170 วรรคสอง (สังเกตว่า กรณีนี้กฎหมายไม่ได้บัญญัติรวมถึงคนไร้ความสามารถ เพราะคนไร้ ความสามารถไม่อาจทานิติกรรมได้เองโดยลาพัง) ข . วินิจฉัย กรณี ตามอุทาหรณ์ ปัญหาที่ต้องวินิจฉัยมีว่า การบอกเลิกสัญญาเช่าที่นางเหลืองบอกกล่าวไปยังนายแดงมีผล ในทางกฎหมายหรือไม่ อย่างไร เห็นว่า ในขณะที่นางเหลืองแสดงเจตนาบอกเลิกสัญญาเช่าบ้านไปยังนายแดง ซึ่งเป็นคนไร้ ความสามารถ โดยนายเขียวผู้อนุบาลได้เดินทางไปต่างประเทศและไม่ทราบการเลิกสัญญา ดังกล่าว กรณีเช่นนี้ถือเป็นการแสดงงเจตนาต่อคนไร้ความสามารถโดยผู้อนุบาลไม่ได้รู้ ด้วยหรือได้ไห้ความ ยินยอมไว้ก่อน กรณีจึงต้องตามหลักทั่วไปของการแสดงเจตนาต่อผู้บกพร่องในความสามารถที่ผู้ แสดงเจตนา จะยกเอาการแสดงเจตนานั้นขึ้นมาต่อสู้กับผู้รับการแสดงเจตนาไม่ได้ ตามมาตรา 170 วรรคแรก ดังนั้น การที่นางเหลืองบอกเลิกสัญญาเช่า โดยบอกกล่าวไปยังนายแดงคนไร้ความสามารถโดยผู้อนุบาลไม่ได้ รู้ด้วยหรือมิได้ให้ความยินยอมไว้ก่อน มีผลในทางกฎหมายคือ นางเหลืองจะยกเอาการบอกเลิกสัญญาเช่า บ้านขึ้นต่อสู้นายแดงไม่ได้ สรุป ผลทางกฎหมาย คือ นางเหลืองจะยกเอาการบอกเลิกสัญญาเช่าบ้านขึ้นต่อสู้นายแดงคนไร้ความสามารถ ไม่ได้ ข้อ 2. กรณีโมฆียะกรรมได้กระทาขึ้นโดยคนไร้ความสามรถนั้น ถามว่าใครบ้างเป็นผู้มีสิทธิบอกล้าง โมฆียะกรรมนั้นในทุกกรณี อธิบาย
  • 3. ~ 3 ~ ธงคาตอบ หลักกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 175 โมฆียะกรรมนั้น บุคคลต่อไปนี้จะบอกล้างเสียก็ได้ (2 ) บุคคลซึ่งศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ เมื่อบุคคลนั้นพ้นจากการเป็นคน ไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถแล้ว หรือผู้อนุบาล หรือผู้พิทักษ์แล้วแต่กรณีแต่คนเสมือนไร้ ความสามารถจะบอกล้างก่อนที่ตนจะพ้น จาการเป็นคนเสมือนไร้ความสามรถก็ได้ถ้าได้รับความยินยอมของผู้ พิทักษ์ ถ้าบุคคลผู้ทานิติกรรมอันเป็นโมฆียะถึงแก่ความตายก่อนมีการบอกล้างโมฆียะกรรม ทายาทของบุคคลดังกล่าว อาจบอกล้างโมฆียะกรรมนั้นได้ อธิบาย “การบอกล้างโมฆียะกรรม” คือ การแสดงเจตนาทาลายโมฆียะกรรมให้กลายเป็นโมฆะกรรมย้อนหลังไปถึงวัน เวลาที่ทานิติกรรมนั้น กรณีโมฆียะกรรมได้ทาขึ้นโดยคนไร้ความสามารถ ผู้มีสิทธิบอกล้างโมฆียะกรรมนั้น ได้แก่ 1. คนไร้ความสามารถ แต่จะทาการบอกล้างโมฆียะกรรมได้ต่อเมื่อได้พ้นจากการเป็นคนไร้ความสามารถแล้ว 2. ผู้อนุบาล เนื่องจากคนไร้ความสามารถอยู่ในความดูแลของผู้อนุบาล 3. ทายาทของคนไร้ความสามารถ ในกรณีที่ผู้ไร้ความสามารถได้ถึงแก่ความตายก่อนมีการบอกล้าง โมฆียะกรรม ตามมาตรา 175 วรรคสอง ที่ว่า “ถ้าบุคคลผู้ทานิติกรรมอันเป็นโมฆียะถึงแก่ความตายก่อนมีการ บอกล้างโมฆียะกรรม ทายาทของบุคคลดังกล่าวอาจบอกล้างโมฆียะกรรมนั้นได้” แต่ถ้าผู้ไร้ความสามารถยังมี ชีวิตอยู่ทายาทจะไม่มีสิทธิบอกล้างโมฆียะกรรมเลย เว้นแต่ ทายาทนั้นมีฐานะเป็นผู้อนุบาลด้วย ข้อ 3. นายแดงได้ทาบัตรเครดิตกับธนาคารสยามไทย จากัด จานวน 1 ใบ ธนาคารกาหนดเงิน 50,000 บาท ในเดือนกันยายน 2549 นายแดงได้นาบัตรเครดิตไปซื้อสินค้ารวมเป็นเงินทั้งสิ้น 35,000 บาท ธนาคารฯ กาหนดให้นายแดงนาเงินไปชาระภายในวันที่ 10 ตุลาคม 2549 ถ้าชาระภายในกาหนดนายแดงไม่ต้องเสีย ดอกเบี้ย แต่พอถึงกาหนดนายแดงไม่นาเงินไปชาระให้แก่ธนาคาร ธนาคารได้มีหนังสือทวงถามมาหลายครั้ง แต่นายแดงก็ไม่นาเงินไปชาระ จนกระทั่งวันที่ 1 ตุลาคม 2551 ซึ่งเหลือเวลา 9 วัน จะครบกาหนดอายุความ 2 ปี นายแดงได้นาเงินไปชาระ โดยผ่านเครื่องรับชาระเงินเป็นจานวน 2,000 บาท หลังจากนั้นนายแดงมิได้นาเงินไปชาระให้ธนาคารฯ อีกเลย ต่อมาธนาคารฯได้นาคดีมาฟ้องศาลเรียกทั้งเงินที่ค้างชาระพร้อมดอกเบี้ยในวันที่ 2 มีนาคม 2552 นายแดง ต่อสู้ว่าขาดอายุความแล้ว ธนาคารฯ อ้างว่ายังไม่ขาดเพราะอายุความสะดุดหยุดลงในวันที่ 1 ตุลาคม 2551 ดังนี้ อยากทราบว่าข้ออ้างของธนาคารฯ ฟังขึ้นหรือไม่ เพราะเหตุใด หมายเหตุ ป.พ.พ. มาตรา 193/34 บัญญัติว่า “สิทธิเรียกร้องดังต่อไปนี้ ให้มีกาหนดอายุความสองปี”
  • 4. ~ 4 ~ (7) บุคคลซึ่งมิได้เข้าอยู่ในประเภทที่ระบุไว้ใน (1) แต่เป็นผู้ประกอบธุรกิจในการดูแลกิจการของผู้อื่น... เรียก เอาสินจ้างอันจะพึงได้รับในการนั้น...” ธงคาตอบ หลักกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 193/14 อายุความย่อมสะดุดหยุดลงในกรณีดังต่อไปนี้ (1) ลูกหนี้รับสภาพหนี้ต่อเจ้าหนี้ตามสิทธิเรียกร้องโดยทาเป็นหนังสือรับสภาพหนี้ให้ ชาระหนี้ให้บางส่วน ชาระดอกเบี้ย ให้ประกัน หรือกระทาการใด ๆ อันปราศจากข้อสงสัยแสดงให้เป็นปริยายว่ายอมรับสภาพหนี้ ตามสิทธิเรียกร้อง มาตรา 193/15 เมื่ออายุความสะดุดหยุดลงแล้ว ระยะเวลาที่ล่วงไปก่อนนั้นไม่นับเข้าในอายุความเมื่อเหตุที่ทา ให้อายุความสะดุดหยุดลงสิ้นสุดเวลาใด ให้เริ่มนับอายุความใหม่ตั้งแต่เวลานั้น มาตรา 193/34 สิทธิเรียกร้องดังต่อไปนี้ให้มีกาหนดอายุความสองปี (7) บุคคลซึ่งมิได้เข้าอยู่ในประเภทที่ระบุไว้ใน (1) แต่เป็นผู้ประกอบธุรกิจในการดูแลกิจการของผู้อื่นหรือรับทา การงานต่าง ๆ เรียกเอาสินจ้างอันจะพึงได้รับในการนั้น รวมทั้งเงินที่ได้ออกทดรองไป วินิจฉัย กรณีตามอุทาหรณ์ ประเด็นที่ต้องวินิจฉัยมีว่า ข้ออ้างของธนาคารฯ ที่ว่าคดียังไม่ขาดอายุความเพราะอายุความ สะดุดหยุดลงนั้น ฟังขึ้นหรือไม่ เห็นว่า นายแดงได้ทาบัตรเครดิตไว้กับธนาคารฯ และธนาคารฯได้กาหนดวงเงิน 50,000 บาท และกาหนดให้นายแดงนาเงินไปชาระภายในวันที่ 10 ตุลาคม 2549 การที่นายแดงได้นาบัตร เครดิตไปซื้อสินค้าและบริการรวมทั้งสิ้น 35,000 บาท กรณีเช่นนี้ถือว่านายแดงเป็นหนี้ธนาคารฯ อยู่เพียง 35,000 บาทเท่านั้น แม้บัตรเครดิตจะกาหนดวงเงินไว้ถึง 50,000 บาท ก็เป็นเพียงแต่การจากัดมิให้นาย แดงใช้บัตรเครดิตซื้อสินค้าและบริการเกินไปกว่าวงเงินที่กาหนดไว้ในการให้สินเชื่อบัตรเครดิตเท่านั้น หามีผล ทาให้นายแดงเป็นหนี้ธนาคาร 50,000 บาท แต่อย่างใด เมื่อ ข้อเท็จจริงปรากฏว่า ในวันที่ 10 ตุลาคม 2549 ซึ่งเป็นวันถึงกาหนดชาระหนี้ นายแดงไม่ได้นาเงินไปชาระ ให้แก่ธนาคารฯ เช่นนี้สิทธิเรียกร้องของธนาคารย่อมเกิดขึ้นนับแต่วันนั้นเป็นต้นไป อายุความก็เริ่มนับตั้งแต่ วันที่อาจใช้สิทธิเรียกร้องเป็นต้นไปเช่นเดียวกัน ตามมาตรา 193/12 โดยเริ่มนับในวันรุ่งขึ้นคือ วันที่ 11 ตุลาคม 2549 ส่วนกาหนดอายุความนั้น กรณีธนาคารฯ เป็นผู้ประกอบธุรกิจในการรับการทาการงานต่างๆ โดยให้ลูกค้านาบัตรเครดิตไปใช้ซื้อสินค้าได้ก่อนแล้วธนาคารฯ จะมาเรียกเก็บเงินจากลูกค้าในภายหลังถือได้ว่า เป็นการเรียกเอาค่าที่ได้ออกเงินทดรองจ่ายไปก่อน สิทธิเรียกร้องของธนาคารฯ ในกรณีนี้มีอายุความ 2 ปี ตาม มาตรา 193/34(7) ดังนั้นอายุความตามสิทธิเรียกร้องของธนาคารฯ จึงจะครบกาหนดในวันที่ 10 ตุลาคม 2551 (ฏ.1517/2550)
  • 5. ~ 5 ~ แต่ต่อมาในวันที่ 1 ตุลาคม 2551 ซึ่งเหลือเวลาอีก 9 วันจะครบกาหนดอายุความ 2 ปีดังกล่าว นายแดงได้นา เงินไปชาระโดยผ่านเครื่องชาระเงินเป็นจานวน 2, 000 บาท และหลังจากนั้นนายแดงก็มิได้นาเงินไปชาระให้ ธนาคารฯ อีกเลย จึงเป็นกรณีที่นายแดงชาระเงินให้ธนาคารเจ้าหนี้แต่เพียงบางส่วน อันถือว่าเป็นการรับสภาพ หนี้ตามสิทธิเรียกร้องแล้ว ตามมาตรา 193/14(1) อายุความสะดุดหยุดลง และเมื่ออายุความสะดุดหยุดลงแล้ว ระยะเวลาที่ล่วงไปก่อนนั้นไม่นับเข้าในอายุความ แต่ให้นับอายุความใหม่ตั้งแต่เวลานั้น กรณีนี้จึงต้องเริ่มนับ อายุความใหม่เท่าอายุความเดิม 2 ปี ตามมาตรา 193/34(7) ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2551 ซึ่งเป็นวันที่อายุความ สะดุดหยุดลง ตามมาตรา 193/15 ดังนั้นเมื่อธนาคารฯ นาคดีมาฟ้องในวันที่ 2 มีนาคม 2552 ซึ่งยังไม่เกิน 2 ปีนับแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2551 คดีจึง ยังไม่ขาดอายุความ ข้ออ้างของธนาคารฯ ที่ว่าคดียังไม่ขาดอายุความเพราะอายุความสะดุดหยุดลงแล้วจึงฟังขึ้น (ฎ. 8801/2550) สรุป ข้ออ้างของธนาคารฯ ฟังขึ้น ข้อ 4. ก. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ กาหนดหลักเกณฑ์การชาระหนี้ตามสัญญาต่างตอบแทนไว้ อย่างไร อธิบายโดยสังเขป ข . บริษัทโกงกางค้าไม้ จากัด ผู้ได้รับสัมปทานทาไม้ในเขตป่าชายเลนตกลงขายไม้ฟืน จานวน 1 ต้น แก่นายสัก ราคา 800,000 บาท ในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2552 ทั้งสองฝ่ายกาหนดเวลาชาระราคาไม้ฟืนและกาหนดส่งมอบ ไม้ฟืนกันในวันที่ 19 มีนาคม 2552 แต่เมื่อถึงวันที่ 4 มีนาคม 2552 บริษัทโกงกางค้าค้าไม้ จากัด ได้รับคาสั่ง จากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ให้สัมปทานทาไม้ในเขตป่าชายเลนที่จะตัดไม้ฟืนเพื่อส่งมอบให้นายสักนั้นเป็น อันสิ้นสุดลง ซึ่ง ณ เวลานั้นบริษัทโกงกางค้าไม้ จากัด ยังไม่ได้เริ่มทาการตัดฟันไม้ฟืนในป่าชายเลนแต่อย่างใด จึงเป็นเหตุให้บริษัทโกงกางค้าไม้ จากัด ไม่สามารถส่งมอบไม้ฟืนที่ซื้อขายให้แก่นายสักได้ ดังนี้ บริษัทโกงกางค้าไม้ จากัด มีสิทธิเรียกให้นายสักชาระราคาไม้ฟืนดังกล่าวหรือไม่ เพราะเหตุใด ธงคาตอบ หลักกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 369 ในสัญญาต่างตอบแทนนั้น คู่สัญญาฝ่ายหนึ่งจะไม่ยอมชาระหนี้จนกว่าอีกฝ่ายหนึ่ง จะชาระหนี้หรือขอปฏิบัติการชาระหนี้ก็ได้ แต่ความข้อนี้ท่านมิให้ใช้บังคับ ถ้าหนี้ของคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งยังไม่ ถึงกาหนด มาตรา 372 วรรคแรก นอกจากกรณีที่กล่าวไว้ในสองมาตราก่อน ถ้าการชาระหนี้ตกเป็นพ้นวิสัยเพราะเหตุ อย่างใดอย่างหนึ่งอันจะโทษฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดก็ไม่ได้ไซร้ ท่านว่าลูกหนี้หามีสิทธิจะรับชาระหนี้ตอบแทนไม่ ก. อธิบาย
  • 6. ~ 6 ~ “สัญญาต่างตอบแทน” คือ สัญญาที่ก่อให้เกิดหนี้ทาให้คู่สัญญาต่างมีหนี้ที่ต้องชาระตอบแทนกัน หรือกล่าวอีก นัยหนึ่งคือ เป็นสัญญาที่คู่สัญญาแต่ละฝ่ายต่างเป็นทั้งเจ้าหนี้และลูกหนี้ซึ่งกันและกันนั่นเอง เช่น สัญญาซื้อขาย ผู้ขายย่อมมีหน้าที่ต้องส่งมอบทรัพย์สินที่ซื้อขาย และผู้ซื้อมีหน้าที่ต้องชาระราคาตอบแทนเป็นต้น สาหรับหลักเกณฑ์การชาระหนี้ตามสัญญาต่างตอบแทน มีดังนี้ หลักทั่วไป คู่สัญญาฝ่ายหนึ่งจะไม่ยอมชาระหนี้จนกว่าอีกฝ่ายหนึ่งจะชาระหนี้ หรือขอปฏิบัติการชาระหนี้ก็ได้ กล่าวคือ คู่สัญญาในสัญญาต่างตอบแทนต้องชาระหนี้ตอบแทนกันในขณะเดียวกันในเมื่อถึงกาหนดชาระแล้ว พร้อมกัน ถ้าคู่สัญญาฝ่ายหนึ่งไม่ชาระหนี้และไม่เสนอที่จะชาระหนี้ของตนตามข้อผูกพันในสัญญา คู่สัญญาอีก ฝ่ายหนึ่งอาจปฏิเสธไม่ยอมชาระหนี้จนกว่าจะได้รับชาระหนี้ตอบแทนก็ได้ ตัวอย่าง ก. ตกลงซื้อรถยนต์จาก ข. 1 คัน เมื่อตกลงกันเรียบร้อยแล้ว ก. เรียกให้ ข. ส่งมอบรถยนต์ให้แก่ตน แต่ยังไม่ยอมชาระราคารถยนต์ให้ ข. เช่นนี้ ข. อาจปฏิเสธไม่ส่งมอบรถยนต์ให้ ก. จนกว่าจะได้ชาระราคาจาก ก. ก็ได้ ข้อยกเว้น แต่ความข้อนี้ท่านมิให้ใช้บังคับ ถ้าหนี้ของคู่สัญญาฝ่ายหนึ่งยังไม่ถึงกาหนด กล่าวคือ ในกรณีที่สัญญา ต่างตอบแทนใดมีข้อกาหนดเงื่อนไขเวลาการชาระหนี้ ซึ่งมีผลให้คู่สัญญาฝ่ายหนึ่งได้รับประโยชน์จากเงื่อนไข เวลา คือ ยังไม่ต้องชาระหนี้ตอบแทนในทันทีที่ทาสัญญากัน แต่จะต้องชาระเมื่อถึงกาหนดเวลาที่กาหนดไว้ และเจ้าหนี้จะเรียกให้ลูกหนี้ชาระหนี้ก่อนถึงที่กาหนดไว้ไม่ได้ ตัวอย่าง ก. ตกลงซื้อรถยนต์จาก ข. ในราคา 50,000 บาท โดยมีข้อตกลงกันว่า ข. ยอมให้ ก. ผ่อนชาระราคา เป็นรายเดือนๆ ละ 5,000 บาท มีกาหนด 10 เดือน เช่นนี้เป็นกรณีที่สัญญาต่างตอบแทนมีข้อกาหนดเงื่อนเวลา ในการชาระราคารถยนต์ ดังนั้น ข องส่งรถยนต์ให้ ก ในทันที เพราะหนี้ของ ข ถึงกาหนดชาระแล้ว แต่ ก. ยังไม่ต้องชาระราคาทั้งหมดให้ ข. ในทันทีแต่ต้องชาระให้เป็นรายเดือนตามที่ตกลงกันไว้ ถ้า ข. เรียกให้ ก. ชาระราคารถยนต์ทั้งหมดในทันที ก. ย่อมปฏิเสธได้ (ตามมาตรา 369 ตอนท้าย) ข. วินิจฉัย กรณีตามอุทาหรณ์ ประเด็นที่ต้องวินิจฉัยมีว่า บริษัทฯ มีสิทธิเรียกให้นายสักชาระราคาไม้ฟืนดังกล่าวได้หรือไม่ เห็นว่า การที่บริษัทฯ ไม่สามารถส่งมอบไม้ฟืนให้แก่นายสักได้ เพราะได้รับคาสั่งจากกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ให้สัมปทานทาไม้ในเขตป่าชายเลนที่จะตัดไม้ฟืนเพื่อส่งมอบให้นายสักนั้นเป็นอันสิ้นสุดลง ทาให้การ ชาระหนี้ที่บริษัทฯ จะส่งไม้ฟืนให้แก่นายสักเป็นไปไม่ได้ การชาระหนี้ของบริษัทฯ (การส่งไม้)จึงตกเป็นพ้นวิสัยเพราะเหตุอย่างใดอย่างหนึ่งอันจะโทษฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง มิได้ และสัญญาการซื้อขายไม้ฟืนที่บริษัทฯ ทากับนายสักนั้นมีลักษณะเป็นสัญญาต่างตอบแทน ซึ่งคู่สัญญามี หนี้ที่จะต้องชาระตอบแทนกัน ดังนั้นเมื่อบริษัทฯไม่สามารถชาระหนี้ให้แก่นายสักได้ (ส่งมอบไม้ฟืน) บริษัทฯ
  • 7. ~ 7 ~ ก็หามีสิทธิที่จะได้รับชาระหนี้ตอบแทนจากนายสักดุจเดียวกัน ตามมาตรา 369 ประกอบมาตรา 372 วรรค แรก บริษัทฯ จึงเรียกให้นายสักชาระราคาไม้ฟืนไม่ได้ (ฎ. 149/2539) สรุป บริษัทฯ เรียกให้นายสักชาระราคาไม้ฟืนไม่ได้ ที่มา http://www.mjsheetramfree.com/law1003-la103-lw203-kdhmay-phaeng-laea-phanichy- wa-dwy-nitikrrm-sayya-phakh-2-2551 นามาเผยแพร่โดย http://valrom.igetweb.com