SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
รายงาน
  เรื่อ ง อาชญากรรม
       คอมพิว เตอร์
            และ
  กฎหมายที่เ กี่ย วข้อ ง
            โดย
 นางสาวกัญจน์นรี พัฒน
            วินิจ
   เลขที่ 24 ชั้น ม.6/1
           เสนอ
 อาจารย์ จุฑารัตน์ ใจบุญ
    โรงเรีย นรัษ ฎานุ
ประดิษ ฐ์อ นุส รณ์
คำา นำา
      รายงานฉบับนี้จัดทำาขึ้นเพื่อประกอบการเรียนการสอน ใน
รายวิชา การงานอาชีพละเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยมี
จุดประสงค์ เพื่อหาอาชญากรคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่
เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นการทบทวนความรู้จากการเรียนในชั้นเรียน
และเพื่อนำาไปใช้ในการเรียน

       ผู้จัดทำาหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์
ต่อผู้อ่านไม่มากก็น้อย หากผิดพลาดประการใด ก็ ขออภัยไว้ ณ
โอกาสนี้ด้วย



                                    นางสาวกัญจน์นรี พัฒนวินิจ
สารบัญ
เรื่อ ง
หน้า
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
         1
ประเภทของอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
               1
การลักลอบเข้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาต
         2
รูปแบบของการก่ออาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ที่พบเห็นทั่วไป
                    3
การรักษาความปลอดภัยระบบคอมพิวเตอร์
         3
อาชญากรคอมพิวเตอร์
         3
พระราชบัญญัติว่าด้วย การกระทำาความผิดเกี่ยวกับ
คอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550               6
อ้างอิง
      10
อาชญากรรมคอมพิว เตอร์
      อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง            การกระทำาผิดทาง
อาญาในระบบคอมพิวเตอร์ หรือการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อกระทำาผิด
ทางอาญา เช่น ทำาลาย เปลี่ยนแปลง หรือขโมยข้อมูลต่าง ๆ
เป็นต้น ระบบคอมพิวเตอร์ในที่นี้ หมายรวมถึงระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เชื่อมกับระบบดังกล่าวด้วย
      สำาหรับอาชญากรรมในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (เช่น
อินเทอร์เน็ต) อาจเรียกได้อีกอย่างหนึ่ง คืออาชญากรรมไซเบอร์
(อังกฤษ: Cybercrime) อาชญากรที่ก่ออาชญากรรมประเภทนี้
มักถูกเรียกว่า แครกเกอร์
      อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ คือ
      1.การกระทำาการใด ๆ เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ อัน
ทำาให้เหยื่อได้รับความเสียหาย และผู้กระทำาได้รับผลประโยชน์
ตอบแทน
      2.การกระทำาผิดกฎหมายใด ๆ ซึ่งใช้เทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือและในการสืบสวนสอบสวนของเจ้า
หน้าที่เพื่อนำาผู้กระทำาผิดมาดำาเนินคดีต้องใช้ความรู้ทาง
เทคโนโลยีเช่นเดียวกัน
      การประกอบอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ได้ก่อให้เกิด
ความเสียหาย ต่อเศรษฐกิจของประเทศจำานวนมหาศาล
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ จึงจัดเป็นอาชญากรรมทาง
เศรษฐกิจ หรือ อาชญากรรมทางธุรกิจรูปแบบ หนึ่งที่มีความ
สำาคัญ

ประเภทของอาชญากรรมทางคอมพิว เตอร์
      1. พวกมือใหม่หรือมือสมัครเล่น อยากทดลองความรู้ และ
ส่วนใหญ่จะไม่ใช่ผู้ที่เป็นอาชญากรโดยนิสัย ไม่ได้ดำารงชีพโดย
การกระทำาความผิด
      2. นัก เจาะข้อมูล ผู้ที่เจาะข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
พยายามหาความท้าทายทางเทคโนโลยี เข้าไปในเครือข่ายของผู้
อื่นโดยที่ไม่ได้รับอนุญาต
3. อาชญากรในรูปแบบเดิมที่ใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือ
เช่น พวกลักเล็กขโมยน้อยที่พยายามขโมยบัตรเอทีเอ็ม ของผูอื่น ้
      4. อาชญากรมืออาชีพ คนพวกนี้จะดำารงชีพจากการกระ
ทำาความผิด เช่น พวกที่มักจะใช้ความรู้ทางเทคโนโลยีฉ้อโกง
สถาบันการเงิน หรือการจารกรรมข้อมูลไปขาย เป็นต้น
      5. พวกหัวรุนแรงคลั่งอุดมการณ์หรือลัทธิ มักก่อ
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์เพื่ออุดมการณ์ทางการเมือง
เศรษฐกิจ ศาสนา หรือสิทธิมนุษยชน เป็นต้น
      ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์นั้น
คงจะไม่ใช่มีผลกระทบเพียงแต่ความมั่นคงของบุคคลใด บุคคล
หนึ่งเพียงเท่านั้น แต่ยังมีผลกระทบไปถึงเรื่องความมั่นคงของ
ประเทศชาติเป็นการส่วนรวม ทั้งความมั่นคงภายในและภายนอก
ประเทศ โดยเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับข่าวกรอง หรือการจารกรรม
ข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับความมั่นคงของประเทศ ซึ่งในปัจจุบันได้มี
การเปลี่ยนแปลงรูปแบบไปจากเดิมเช่น
      1. ในปัจจุบันความมั่นคงของรัฐนั้นมิใช่จะอยู่ในวงการ
ทหารเพียงเท่านั้น บุคคลธรรมดาก็สามารถป้องกัน หรือ
ทำาลาย ความมั่นคงของประเทศได้
      2. ในปัจจุบันการป้องกันประเทศอาจไม่ได้อยู่ที่พรมแดนอีก
ต่อไปแล้ว แต่อยู่ที่ทำาอย่างไรจึงจะไม่ให้มีการคุกคาม
หรือ ทำาลายโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ
      3. การทำาจารกรรมในสมัยนี้มักจะใช้วิธีการทางเทคโนโลยี
ที่ซับซ้อนเกี่ยวกับเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์
      บน โครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ ความผิดต่าง ๆ ล้วนแต่
สามารถเกิดขึ้นได้ เช่น การจารกรรม การก่อการร้าย การค้ายา
เสพติด การแบ่งแยกดินแดน การฟอกเงิน การโจมตีระบบ
สาธารณูปโภคพื้นฐานของประเทศที่มีระบบคอมพิวเตอร์ควบคุม เ
ช่น ระบบจราจร หรือระบบรถไฟฟ้า เป็นต้น ซึ่งทำาให้เห็นว่า
ความสัมพันธ์ระหว่างอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ความ
มั่นคง ของ ประเทศ และโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศของชาติ
เป็นเรื่องที่ไม่สามารถแยกจากกันได้อย่างเด็ดขาด การโจมตีผ่าน
ทางระบบโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ สามารถทำาได้ด้วย
ความเร็วเกือบเท่ากับการเคลื่อนที่ความเร็วแสง ซึ่งเหนือกว่า การ
เคลื่อนทัพทางบก หรือการโจมตีทางอากาศ

การลัก ลอบเข้า ถึง โดยไม่ไ ด้ร ับ อนุญ าต
การลักลอบนำาเอาข้อมูลไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต รวมถึง
การสร้างความเสียหายต่อบุคคลและสังคมสารสนเทศโดย “ผู้ไม่
ประสงค์ดี” ที่กระจายอยู่ทั่วทุกมุมโลกนี้ ทำาให้เกิดปัญหาที่เรียกว่า
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Crime) ขึน ซึ่งเป็น   ้
ปัญหาที่ก่อให้เกิดความเสียหายเป็นอย่างมาก สิ่งเหล่านี้เกิดขึ้น
จากการขาด “จริยธรรมที่ดี” ซึ่ง นอกจากเป็นการกระทำาที่ขาด
จริยธรรมที่ดีแล้ว ยังถือว่าเป็นการกระทำาที่ผิดกฎหมายอีกด้วย
หลายประเทศมีการออกกฎหมายรองรับเกี่ยวกับการก่อ
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ขึ้น แล้ว แต่อาจแตกต่างกันไปใน
ประเด็นของเนื้อหาที่กระทำาผิด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับวัฒนธรรม สภาพ
แวดล้อมและระดับความร้ายแรงของการก่ออาชญากรรมที่กระทำา
ขึ้นด้วย สำาหรับประเทศไทยได้เล็งเห็นถึงความสำาคัญเกี่ยวกับ
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์เช่น เดียวกับนานาประเทศ และได้ออก
ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ซึ่งผ่าน
คณะรัฐมนตรีแล้วเมื่อวันที่ 23 กันยายน 2546 ใช้เป็นกฎหมายที่
กำาหนดฐานความผิดเกี่ยวกับการกระทำาต่อระบบคอมพิวเตอร์และ
ข้อมูล คอมพิวเตอร์


รูป แบบของการก่อ อาชญากรรมทางคอมพิว เตอร์ท ี่
พบเห็น ทั่ว ไป
      1.การลักลอบเข้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาต ซึ่งกลุ่มคนที่
ลักลอบเข้าถึงข้อมูลโดยไม่ได้รับอนุญาตสามารถแบ่งได้เป็น 3
กลุ่มด้วยกันคือ
            1.1 แฮกเกอร์ (Hacker) คือกลุ่มคนที่มีความรู้ความ
      สามารถและต้องการทดสอบความสามารถของตนเอง โดย
      ไม่มีประสงค์ร้าย
            1.2 แครกเกอร์ (Cracker) คือกลุ่มคนที่มีความรู้ความ
      สามารถคล้ายกับ Hacker แต่กลุ่มนี้จะเป็นผู้ที่ประสงค์จะ
      ทำาลายและสร้างความเสียหายแก่ผู้อื่น
            1.3 สคริปต์คิดดี้ (Script Kiddy) คือกลุ่มเด็กหรือ
      นักศึกษาที่เพิ่งจบใหม่ โดยกลุ่มนี้จะมีความต้องการอยาก
      ทดลอง อยากรู้อยากเห็น โดยหลังจะก่อกวนผู้อื่น
            2. การขโมยและทำาลายอุปกรณ์ (Hardware Theft
and Vandalism)
3. การขโมยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Software
Theft)
           4. การก่อกวนระบบด้วยโปรแกรมประสงค์ร้าย
(Malicious Code)เช่น ไวรัสคอมพิวเตอร์ หนอนอินเตอร์เน็ต
ม้าโทรจัน
          5. การก่อกวนระบบด้วยสปายแวร์ (Spyware) สร้าง
ความรำาคาญ
          6. การก่อกวนระบบด้วยสแปมเมล์ (Spam Mail) เมล์
โฆษณา
          7.การหลอกลวงเหยื่อเพื่อล้วงเอาข้อมูลส่วนตัว
(Phishing)

การรัก ษาความปลอดภัย ระบบคอมพิว เตอร์
      1. การติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัส (Antivirus
Program)
      2. การใช้ระบบไฟล์วอลล์ (Firewall System)
         3. การเข้ารหัสข้อมูล (Encryption)
         4. การสำารองข้อมูล (Back Up)

"อาชญากรคอมพิว เตอร์"
       เมื่อก่อนเราอาจจะคิดว่า ห้องสมุดน่าจะเป็นแหล่งความรู้ที่มี
ข้อมูลมากมายมหาศาลที่สุด แต่ในปัจจุบันทุกอย่างได้เปลี่ยนไป
อินเตอร์เน็ตเข้ามาแทนที่ เป็นแหล่งข้อมูลที่มหาศาลเพราะข้อมูล
ทั่วโลกถูกเก็บรวบรวมไว้ในอินเตอร์เน็ต โดยจัดเก็บในรูปของ
เว็บไซต์ เครือ ข่ายอินเทอร์เน็ต การเปิดประตูบ้านออกสู่ถนน
สาธารณะย่อมเสี่ยงต่อผู้แปลกปลอมที่จะลักลอบเข้า มาในระบบ
ดังนั้น ระบบรักษาความปลอดภัยของเครือข่ายเป็นเรื่องที่ต้องให้
ความสำาคัญภายในเครือ ข่าย ถ้ามีการเปิดประตูให้บุคคล
ภายนอกเข้าได้ หรือเปิดช่องทางไว้ ย่อมเสี่ยงต่อการรักษาความ
ปลอดภัย เช่น นำาเครือข่ายขององค์กรเชื่อมกับอินเทอร์เน็ต หรือมี
ช่องทางให้ใช้ติดต่อผ่านทางโมเด็มได้ ถึงแม้ว่าบางระบบอาจจะ
วางมาตรการรักษาความปลอดภัยไว้อย่างดีแล้ว มีผดูแลระบบที่
                                                 ู้
เรียกว่า System Admin ระบบดังกล่าวก็ยังไม่วายที่จะมีผู้
ก่อกวนที่เรียกว่า แฮกเกอร์ (Hacker) แฮ กเกอร์ คือ ผู้ที่
พยายามหาวิธีการ หรือหาช่องโหว่ของระบบ เพื่อแอบลักลอบเข้า
สู่ระบบ เพื่อล้วงความลับ หรือแอบดูขอมูลข่าวสาร บางครั้งมีการ
                                    ้

More Related Content

What's hot

กิจกรรมที่ 4 อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
กิจกรรมที่ 4 อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกิจกรรมที่ 4 อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
กิจกรรมที่ 4 อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องkook603
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องtlmklmt11
 
รายงาน1
รายงาน1รายงาน1
รายงาน1BenzLoveNok
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องรายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องMind Candle Ka
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องwasan601
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์4971
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงานsiriluk602
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1Nukaem Ayoyo
 
อาชญากรรม ปอ
อาชญากรรม ปออาชญากรรม ปอ
อาชญากรรม ปอHatairat Srisawat
 

What's hot (11)

กิจกรรมที่ 4 อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
กิจกรรมที่ 4 อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกิจกรรมที่ 4 อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
กิจกรรมที่ 4 อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
 
รายงาน1
รายงาน1รายงาน1
รายงาน1
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องรายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
 
Poopdf
PoopdfPoopdf
Poopdf
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
 
อาชญากรรม ปอ
อาชญากรรม ปออาชญากรรม ปอ
อาชญากรรม ปอ
 
รายงานคอม12
รายงานคอม12รายงานคอม12
รายงานคอม12
 

Viewers also liked

01 колодяжный
01 колодяжный01 колодяжный
01 колодяжныйUkrProstir
 
Evolución de la enseñanza asistida por computadoras
Evolución de la enseñanza asistida por computadorasEvolución de la enseñanza asistida por computadoras
Evolución de la enseñanza asistida por computadorasLiseth Pinilla
 
Presentacindebullyng 090623192205-phpapp01
Presentacindebullyng 090623192205-phpapp01Presentacindebullyng 090623192205-phpapp01
Presentacindebullyng 090623192205-phpapp01Maria Andrea Giulietti
 
About Avalon Bali
About Avalon BaliAbout Avalon Bali
About Avalon Baliavalonbali
 
Creating a Like Page on Facebook and the Policies That Should be Followed
Creating a Like Page on Facebook and the Policies That Should be FollowedCreating a Like Page on Facebook and the Policies That Should be Followed
Creating a Like Page on Facebook and the Policies That Should be FollowedTechJunky
 
Calendario marzo
Calendario marzoCalendario marzo
Calendario marzotatiana_g20
 
Miscarile feministe
Miscarile feministeMiscarile feministe
Miscarile feministegruianul
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Rina Scarlet
 
Dirija com responsabilidade
Dirija com responsabilidadeDirija com responsabilidade
Dirija com responsabilidadeaxel74
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทยikwanz
 
Presentation 26 08-2014
Presentation 26 08-2014Presentation 26 08-2014
Presentation 26 08-2014Binuja Joyson
 

Viewers also liked (20)

Hugo iván
Hugo ivánHugo iván
Hugo iván
 
Alisya Homestay
Alisya HomestayAlisya Homestay
Alisya Homestay
 
01 колодяжный
01 колодяжный01 колодяжный
01 колодяжный
 
Geoplano
GeoplanoGeoplano
Geoplano
 
4
44
4
 
Evolución de la enseñanza asistida por computadoras
Evolución de la enseñanza asistida por computadorasEvolución de la enseñanza asistida por computadoras
Evolución de la enseñanza asistida por computadoras
 
Presentacindebullyng 090623192205-phpapp01
Presentacindebullyng 090623192205-phpapp01Presentacindebullyng 090623192205-phpapp01
Presentacindebullyng 090623192205-phpapp01
 
Yo mommy
Yo mommyYo mommy
Yo mommy
 
About Avalon Bali
About Avalon BaliAbout Avalon Bali
About Avalon Bali
 
Creating a Like Page on Facebook and the Policies That Should be Followed
Creating a Like Page on Facebook and the Policies That Should be FollowedCreating a Like Page on Facebook and the Policies That Should be Followed
Creating a Like Page on Facebook and the Policies That Should be Followed
 
Calendario marzo
Calendario marzoCalendario marzo
Calendario marzo
 
Miscarile feministe
Miscarile feministeMiscarile feministe
Miscarile feministe
 
Tarlow design
Tarlow designTarlow design
Tarlow design
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
P3b
P3bP3b
P3b
 
Dirija com responsabilidade
Dirija com responsabilidadeDirija com responsabilidade
Dirija com responsabilidade
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
El gp spresentacio
El gp spresentacioEl gp spresentacio
El gp spresentacio
 
Presentation 26 08-2014
Presentation 26 08-2014Presentation 26 08-2014
Presentation 26 08-2014
 

Similar to รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์

งานคอมฯ
งานคอมฯงานคอมฯ
งานคอมฯKannaree Jar
 
คอมเปา
คอมเปาคอมเปา
คอมเปาdowsudarat
 
คอมเปา
คอมเปาคอมเปา
คอมเปาpaotogether
 
อาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯอาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯKannaree Jar
 
อาชญากรรม เบส
อาชญากรรม เบสอาชญากรรม เบส
อาชญากรรม เบสMind Candle Ka
 
อาชญากรรม บาว
อาชญากรรม บาวอาชญากรรม บาว
อาชญากรรม บาวMind Candle Ka
 
คอมน องใหม
คอมน องใหม คอมน องใหม
คอมน องใหม dowsudarat
 
อาชญากรรม
อาชญากรรมอาชญากรรม
อาชญากรรมJariya Huangjing
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์Thalatchanan Netboot
 
อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋AY'z Felon
 
อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋AY'z Felon
 
รายงาน จ๊ะ
รายงาน จ๊ะรายงาน จ๊ะ
รายงาน จ๊ะJiraprapa Noinoo
 
สมพร เหมทานนท์
สมพร เหมทานนท์สมพร เหมทานนท์
สมพร เหมทานนท์Jiraprapa Noinoo
 

Similar to รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ (20)

งานคอมฯ
งานคอมฯงานคอมฯ
งานคอมฯ
 
คอมเปา
คอมเปาคอมเปา
คอมเปา
 
คอมเปา
คอมเปาคอมเปา
คอมเปา
 
อาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯอาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯ
 
อาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯอาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯ
 
อาชญากรรม เบส
อาชญากรรม เบสอาชญากรรม เบส
อาชญากรรม เบส
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
อาชญากรรม นิว
อาชญากรรม นิวอาชญากรรม นิว
อาชญากรรม นิว
 
อาชญากรรม บาว
อาชญากรรม บาวอาชญากรรม บาว
อาชญากรรม บาว
 
คอมน องใหม
คอมน องใหม คอมน องใหม
คอมน องใหม
 
รายงานเจียบ
รายงานเจียบรายงานเจียบ
รายงานเจียบ
 
อาชญากรรม
อาชญากรรมอาชญากรรม
อาชญากรรม
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
 
ตุก Pdf
ตุก Pdfตุก Pdf
ตุก Pdf
 
ตุก Pdf
ตุก Pdfตุก Pdf
ตุก Pdf
 
อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋
 
อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋
 
รายงาน จ๊ะ
รายงาน จ๊ะรายงาน จ๊ะ
รายงาน จ๊ะ
 
สมพร เหมทานนท์
สมพร เหมทานนท์สมพร เหมทานนท์
สมพร เหมทานนท์
 
รายงานโจ
รายงานโจรายงานโจ
รายงานโจ
 

รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์

  • 1. รายงาน เรื่อ ง อาชญากรรม คอมพิว เตอร์ และ กฎหมายที่เ กี่ย วข้อ ง โดย นางสาวกัญจน์นรี พัฒน วินิจ เลขที่ 24 ชั้น ม.6/1 เสนอ อาจารย์ จุฑารัตน์ ใจบุญ โรงเรีย นรัษ ฎานุ ประดิษ ฐ์อ นุส รณ์
  • 2. คำา นำา รายงานฉบับนี้จัดทำาขึ้นเพื่อประกอบการเรียนการสอน ใน รายวิชา การงานอาชีพละเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยมี จุดประสงค์ เพื่อหาอาชญากรคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่ เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นการทบทวนความรู้จากการเรียนในชั้นเรียน และเพื่อนำาไปใช้ในการเรียน ผู้จัดทำาหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ ต่อผู้อ่านไม่มากก็น้อย หากผิดพลาดประการใด ก็ ขออภัยไว้ ณ โอกาสนี้ด้วย นางสาวกัญจน์นรี พัฒนวินิจ
  • 3. สารบัญ เรื่อ ง หน้า อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 1 ประเภทของอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ 1 การลักลอบเข้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาต 2 รูปแบบของการก่ออาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ที่พบเห็นทั่วไป 3 การรักษาความปลอดภัยระบบคอมพิวเตอร์ 3 อาชญากรคอมพิวเตอร์ 3 พระราชบัญญัติว่าด้วย การกระทำาความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 6 อ้างอิง 10
  • 4. อาชญากรรมคอมพิว เตอร์ อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง การกระทำาผิดทาง อาญาในระบบคอมพิวเตอร์ หรือการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อกระทำาผิด ทางอาญา เช่น ทำาลาย เปลี่ยนแปลง หรือขโมยข้อมูลต่าง ๆ เป็นต้น ระบบคอมพิวเตอร์ในที่นี้ หมายรวมถึงระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เชื่อมกับระบบดังกล่าวด้วย สำาหรับอาชญากรรมในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (เช่น อินเทอร์เน็ต) อาจเรียกได้อีกอย่างหนึ่ง คืออาชญากรรมไซเบอร์ (อังกฤษ: Cybercrime) อาชญากรที่ก่ออาชญากรรมประเภทนี้ มักถูกเรียกว่า แครกเกอร์ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ คือ 1.การกระทำาการใด ๆ เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ อัน ทำาให้เหยื่อได้รับความเสียหาย และผู้กระทำาได้รับผลประโยชน์ ตอบแทน 2.การกระทำาผิดกฎหมายใด ๆ ซึ่งใช้เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือและในการสืบสวนสอบสวนของเจ้า หน้าที่เพื่อนำาผู้กระทำาผิดมาดำาเนินคดีต้องใช้ความรู้ทาง เทคโนโลยีเช่นเดียวกัน การประกอบอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ได้ก่อให้เกิด ความเสียหาย ต่อเศรษฐกิจของประเทศจำานวนมหาศาล อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ จึงจัดเป็นอาชญากรรมทาง เศรษฐกิจ หรือ อาชญากรรมทางธุรกิจรูปแบบ หนึ่งที่มีความ สำาคัญ ประเภทของอาชญากรรมทางคอมพิว เตอร์ 1. พวกมือใหม่หรือมือสมัครเล่น อยากทดลองความรู้ และ ส่วนใหญ่จะไม่ใช่ผู้ที่เป็นอาชญากรโดยนิสัย ไม่ได้ดำารงชีพโดย การกระทำาความผิด 2. นัก เจาะข้อมูล ผู้ที่เจาะข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น พยายามหาความท้าทายทางเทคโนโลยี เข้าไปในเครือข่ายของผู้ อื่นโดยที่ไม่ได้รับอนุญาต
  • 5. 3. อาชญากรในรูปแบบเดิมที่ใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือ เช่น พวกลักเล็กขโมยน้อยที่พยายามขโมยบัตรเอทีเอ็ม ของผูอื่น ้ 4. อาชญากรมืออาชีพ คนพวกนี้จะดำารงชีพจากการกระ ทำาความผิด เช่น พวกที่มักจะใช้ความรู้ทางเทคโนโลยีฉ้อโกง สถาบันการเงิน หรือการจารกรรมข้อมูลไปขาย เป็นต้น 5. พวกหัวรุนแรงคลั่งอุดมการณ์หรือลัทธิ มักก่อ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์เพื่ออุดมการณ์ทางการเมือง เศรษฐกิจ ศาสนา หรือสิทธิมนุษยชน เป็นต้น ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์นั้น คงจะไม่ใช่มีผลกระทบเพียงแต่ความมั่นคงของบุคคลใด บุคคล หนึ่งเพียงเท่านั้น แต่ยังมีผลกระทบไปถึงเรื่องความมั่นคงของ ประเทศชาติเป็นการส่วนรวม ทั้งความมั่นคงภายในและภายนอก ประเทศ โดยเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับข่าวกรอง หรือการจารกรรม ข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับความมั่นคงของประเทศ ซึ่งในปัจจุบันได้มี การเปลี่ยนแปลงรูปแบบไปจากเดิมเช่น 1. ในปัจจุบันความมั่นคงของรัฐนั้นมิใช่จะอยู่ในวงการ ทหารเพียงเท่านั้น บุคคลธรรมดาก็สามารถป้องกัน หรือ ทำาลาย ความมั่นคงของประเทศได้ 2. ในปัจจุบันการป้องกันประเทศอาจไม่ได้อยู่ที่พรมแดนอีก ต่อไปแล้ว แต่อยู่ที่ทำาอย่างไรจึงจะไม่ให้มีการคุกคาม หรือ ทำาลายโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ 3. การทำาจารกรรมในสมัยนี้มักจะใช้วิธีการทางเทคโนโลยี ที่ซับซ้อนเกี่ยวกับเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ บน โครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ ความผิดต่าง ๆ ล้วนแต่ สามารถเกิดขึ้นได้ เช่น การจารกรรม การก่อการร้าย การค้ายา เสพติด การแบ่งแยกดินแดน การฟอกเงิน การโจมตีระบบ สาธารณูปโภคพื้นฐานของประเทศที่มีระบบคอมพิวเตอร์ควบคุม เ ช่น ระบบจราจร หรือระบบรถไฟฟ้า เป็นต้น ซึ่งทำาให้เห็นว่า ความสัมพันธ์ระหว่างอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ความ มั่นคง ของ ประเทศ และโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศของชาติ เป็นเรื่องที่ไม่สามารถแยกจากกันได้อย่างเด็ดขาด การโจมตีผ่าน ทางระบบโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ สามารถทำาได้ด้วย ความเร็วเกือบเท่ากับการเคลื่อนที่ความเร็วแสง ซึ่งเหนือกว่า การ เคลื่อนทัพทางบก หรือการโจมตีทางอากาศ การลัก ลอบเข้า ถึง โดยไม่ไ ด้ร ับ อนุญ าต
  • 6. การลักลอบนำาเอาข้อมูลไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต รวมถึง การสร้างความเสียหายต่อบุคคลและสังคมสารสนเทศโดย “ผู้ไม่ ประสงค์ดี” ที่กระจายอยู่ทั่วทุกมุมโลกนี้ ทำาให้เกิดปัญหาที่เรียกว่า อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Crime) ขึน ซึ่งเป็น ้ ปัญหาที่ก่อให้เกิดความเสียหายเป็นอย่างมาก สิ่งเหล่านี้เกิดขึ้น จากการขาด “จริยธรรมที่ดี” ซึ่ง นอกจากเป็นการกระทำาที่ขาด จริยธรรมที่ดีแล้ว ยังถือว่าเป็นการกระทำาที่ผิดกฎหมายอีกด้วย หลายประเทศมีการออกกฎหมายรองรับเกี่ยวกับการก่อ อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ขึ้น แล้ว แต่อาจแตกต่างกันไปใน ประเด็นของเนื้อหาที่กระทำาผิด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับวัฒนธรรม สภาพ แวดล้อมและระดับความร้ายแรงของการก่ออาชญากรรมที่กระทำา ขึ้นด้วย สำาหรับประเทศไทยได้เล็งเห็นถึงความสำาคัญเกี่ยวกับ อาชญากรรมคอมพิวเตอร์เช่น เดียวกับนานาประเทศ และได้ออก ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ซึ่งผ่าน คณะรัฐมนตรีแล้วเมื่อวันที่ 23 กันยายน 2546 ใช้เป็นกฎหมายที่ กำาหนดฐานความผิดเกี่ยวกับการกระทำาต่อระบบคอมพิวเตอร์และ ข้อมูล คอมพิวเตอร์ รูป แบบของการก่อ อาชญากรรมทางคอมพิว เตอร์ท ี่ พบเห็น ทั่ว ไป 1.การลักลอบเข้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาต ซึ่งกลุ่มคนที่ ลักลอบเข้าถึงข้อมูลโดยไม่ได้รับอนุญาตสามารถแบ่งได้เป็น 3 กลุ่มด้วยกันคือ 1.1 แฮกเกอร์ (Hacker) คือกลุ่มคนที่มีความรู้ความ สามารถและต้องการทดสอบความสามารถของตนเอง โดย ไม่มีประสงค์ร้าย 1.2 แครกเกอร์ (Cracker) คือกลุ่มคนที่มีความรู้ความ สามารถคล้ายกับ Hacker แต่กลุ่มนี้จะเป็นผู้ที่ประสงค์จะ ทำาลายและสร้างความเสียหายแก่ผู้อื่น 1.3 สคริปต์คิดดี้ (Script Kiddy) คือกลุ่มเด็กหรือ นักศึกษาที่เพิ่งจบใหม่ โดยกลุ่มนี้จะมีความต้องการอยาก ทดลอง อยากรู้อยากเห็น โดยหลังจะก่อกวนผู้อื่น 2. การขโมยและทำาลายอุปกรณ์ (Hardware Theft and Vandalism)
  • 7. 3. การขโมยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Software Theft) 4. การก่อกวนระบบด้วยโปรแกรมประสงค์ร้าย (Malicious Code)เช่น ไวรัสคอมพิวเตอร์ หนอนอินเตอร์เน็ต ม้าโทรจัน 5. การก่อกวนระบบด้วยสปายแวร์ (Spyware) สร้าง ความรำาคาญ 6. การก่อกวนระบบด้วยสแปมเมล์ (Spam Mail) เมล์ โฆษณา 7.การหลอกลวงเหยื่อเพื่อล้วงเอาข้อมูลส่วนตัว (Phishing) การรัก ษาความปลอดภัย ระบบคอมพิว เตอร์ 1. การติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัส (Antivirus Program) 2. การใช้ระบบไฟล์วอลล์ (Firewall System) 3. การเข้ารหัสข้อมูล (Encryption) 4. การสำารองข้อมูล (Back Up) "อาชญากรคอมพิว เตอร์" เมื่อก่อนเราอาจจะคิดว่า ห้องสมุดน่าจะเป็นแหล่งความรู้ที่มี ข้อมูลมากมายมหาศาลที่สุด แต่ในปัจจุบันทุกอย่างได้เปลี่ยนไป อินเตอร์เน็ตเข้ามาแทนที่ เป็นแหล่งข้อมูลที่มหาศาลเพราะข้อมูล ทั่วโลกถูกเก็บรวบรวมไว้ในอินเตอร์เน็ต โดยจัดเก็บในรูปของ เว็บไซต์ เครือ ข่ายอินเทอร์เน็ต การเปิดประตูบ้านออกสู่ถนน สาธารณะย่อมเสี่ยงต่อผู้แปลกปลอมที่จะลักลอบเข้า มาในระบบ ดังนั้น ระบบรักษาความปลอดภัยของเครือข่ายเป็นเรื่องที่ต้องให้ ความสำาคัญภายในเครือ ข่าย ถ้ามีการเปิดประตูให้บุคคล ภายนอกเข้าได้ หรือเปิดช่องทางไว้ ย่อมเสี่ยงต่อการรักษาความ ปลอดภัย เช่น นำาเครือข่ายขององค์กรเชื่อมกับอินเทอร์เน็ต หรือมี ช่องทางให้ใช้ติดต่อผ่านทางโมเด็มได้ ถึงแม้ว่าบางระบบอาจจะ วางมาตรการรักษาความปลอดภัยไว้อย่างดีแล้ว มีผดูแลระบบที่ ู้ เรียกว่า System Admin ระบบดังกล่าวก็ยังไม่วายที่จะมีผู้ ก่อกวนที่เรียกว่า แฮกเกอร์ (Hacker) แฮ กเกอร์ คือ ผู้ที่ พยายามหาวิธีการ หรือหาช่องโหว่ของระบบ เพื่อแอบลักลอบเข้า สู่ระบบ เพื่อล้วงความลับ หรือแอบดูขอมูลข่าวสาร บางครั้งมีการ ้