SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
รายงาน
เรื่อง....อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และ
           กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
           จัดทาโดย
     นางสาวกัญญาณี ศรีส ุกใส
        เลขที่ 28 ชัน ม.6/1
                    ้
              เสนอ
      ค ุณคร ูจุฑารัตน์ ใจบ ุญ
รายงานเล่มนี้เปนส่วนหนึ่งของรายวิชา
               ็
    การงานอาชีพและเทคโนโลยี
  โรงเรียนรัษฏาน ุประดิษฐ์อน ุสรณ์
         อ.วังวิเศษ จ.ตรัง
คานา
        รายงานเล่มนี้เป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี(ง33102 )
ซึ่งได้จดทาขึ้นในเรื่ องของอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และได้
        ั
รวบรวมเนื้อหาสาระต่างๆที่เกี่ยวกับอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ไว้ในรายงานเล่มนี้แล้วซึ่งมีท้งความหมายของอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ ประเภท
                                ั
ของอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ กระทาความผิดที่เป็ นการก่ออาชญากรรม
คอมพิวเตอร์ รวมทั้งกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ ไว้ในรายงาน
เล่มนี้แล้วซึ่งรายงานเล่มนี้เหมาะสมแก่ผที่สนใจในเรื่ องของคอมพิวเตอร์ และสามารถ
                                        ู้
นาไปใช้เป็ นสื่ อการเรี ยนการสอนได้ไม่มากก็นอยตามความเหมาะสมของเนื้อหาสาระ
                                              ้
        หากรายงานเล่มนี้มีขอผิดพลาดประการใดก็ขออภัยไว้ ณ ที่น้ ีดวย
                              ้                                    ้

                                                               ผูจดทา
                                                                 ้ั
                                                      นางสาวกัญญาณี ศรี สุกใส
                                                          ชั้นม. 6/1 เลขที่ 28
สารบัญ
เรื่อง                                                            หน้ า
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์                                                1
พระราชบัญญัติวาด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
              ่                                                     4
หมวด ๑ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์                                   5
หมวด ๒พนักงานเจ้าหน้าที่                                            7
อ้างอิง                                                             11
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ กฎหมายที่เกียวข้ อง
                                                         ่
      อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง การกระทาผิดทางอาญาในระบบคอมพิวเตอร์ หรื อการใช้
คอมพิวเตอร์ เพื่อกระทาผิดทางอาญา เช่น ทาลาย เปลี่ยนแปลง หรื อขโมยข้อมูลต่าง ๆ เป็ นต้น ระบบ
คอมพิวเตอร์ ในที่น้ ี หมายรวมถึงระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ที่เชื่อมกับระบบดังกล่าวด้วย
สาหรับอาชญากรรมในระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ (เช่น อินเทอร์ เน็ต) อาจเรี ยกได้อีกอย่างหนึ่ง คือ
อาชญากรรมไซเบอร์ (อังกฤษ: Cybercrime) อาชญากรที่ก่ออาชญากรรมประเภทนี้ มักถูกเรี ยกว่า แครก
เกอร์ อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ เป็ นสิ่ งที่เกิดขึ้นมาควบคู่กบการเกิดขึ้นมาของคอมพิวเตอร์ หมายถึง การ
                                                             ั
กระทาความผิดหรื อก่ออาชญากรรมโดยอาศัยความรู ้ในการใช้คอมพิวเตอร์ หรื ออุปกรณ์อื่น ก่อให้เกิดความ
เสี ยหายต่อผูอื่น ต่อระบบเศรษฐกิจ และต่อประเทศชาติ
                ้
       ในการก่ออาชญากรรมคอมพิวเตอร์ น้ น ตัวคอมพิวเตอร์ เอง อาจเป็ นเพียงเครื่ องมือที่ช่วยให้การกระทา
                                            ั
ความผิดสามารถทาได้สะดวกมากขึ้น หรื ออาจเป็ นเครื่ องมือที่ใช้ในการกระทาความผิด หรื อ อาจจะเป็ น
เป้ าหมายในการทาอาชญากรรมก็ได้
        อาชญากรรม 6 ประเภทดังกล่าวได้แก่
1.การเงิน – อาชญากรรมที่ขดขวางความสามารถขององค์กรธุ รกิจในการทาธุ รกรรม อี- คอมเมิร์ซ(หรื อ
                               ั
พาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์ )
 2.การละเมิดลิขสิ ทธิ์ – การคัดลอกผลงานที่มีลิขสิ ทธิ์ ในปั จจุบนคอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคลและอินเทอร์ เน็ต
                                                                   ั
ถูกใช้เป็ นสื่ อในการก่ออาชญากรรม แบบเก่า โดยการโจรกรรมทางออนไลน์หมายรวมถึง การละเมิด
ลิขสิ ทธิ์ ใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้อินเทอร์ เน็ตเพื่อจาหน่ายหรื อเผยแพร่ ผลงานสร้างสรรค์ที่ได้รับการ
คุมครองลิขสิ ทธิ์
    ้
 3.การเจาะระบบ – การให้ได้มาซึ่ งสิ ทธิ ในการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ หรื อเครื อข่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต
และในบางกรณี อาจหมายถึงการใช้สิทธิ การเข้าถึงนี้โดยไม่ได้รับอนุญาต นอกจากนี้การเจาะระบบยังอาจ
รองรับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ในรู ปแบบอื่นๆ (เช่น การปลอมแปลง การก่อการร้าย ฯลฯ)
 4.การก่อการร้ายทางคอมพิวเตอร์ – ผลสื บเนื่องจากการเจาะระบบ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความ
หวาดกลัว เช่นเดียวกับการก่อการร้ายทัวไป โดยการกระทาที่เข้าข่าย การก่อการร้ายทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-
                                          ่
terrorism) จะเกี่ยวข้องกับการเจาระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อก่อเหตุรุนแรงต่อบุ คคลหรื อทรัพย์สิน หรื ออย่าง
น้อยก็มีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความหวาดกลัว
 5.ภาพอนาจารทางออนไลน์ – ตามข้อกาหนด 18 USC 2252 และ 18 USC 2252A การประมวลผลหรื อการ
เผยแพร่ ภาพอนาจารเด็กถือเป็ นการกระทาที่ผดกฎหมาย และตามข้อกาหนด 47 USC 223 การเผยแพร่ ภาพ
                                                 ิ
ลามกอนาจารในรู ปแบบใดๆ แก่เยาวชนถือเป็ นการกระทาที่ขดต่อกฎหมาย อินเทอร์ เน็ตเป็ นเพียงช่องทาง
                                                                 ั
ใหม่สาหรับอาชญากรรม แบบเก่า อย่างไรก็ดี ประเด็นเรื่ องวิธีที่เหมาะสมที่สุดในการควบคุมช่องทางการ
สื่ อสารที่ครอบคลุมทัวโลกและเข้าถึงทุกกลุ่มอายุน้ ีได้ก่อให้เกิดการถกเถียงและการโต้แย้งอย่างกว้างขวาง
                         ่
่
 6.ภายในโรงเรี ยน – ถึงแม้วาอินเทอร์ เน็ตจะเป็ นแหล่งทรัพยากรสาหรับการศึกษาและสันทนาการ แต่
เยาวชนจาเป็ นต้องได้รับทราบเกี่ยวกับวิธีการใช้งานเครื่ องมืออันทรงพลังนี้อย่างปลอดภัยและมีความ
รับผิดชอบ โดยเป้ าหมายหลักของโครงการนี้คือ เพื่อกระตุนให้เด็ กได้เรี ยนรู ้เกี่ยวกับข้อกาหนดทางกฎหมาย
                                                         ้
สิ ทธิ ของตนเอง และวิธีที่เหมาะสมในการป้ องกันการใช้อินเทอร์ เน็ตในทางที่ผด    ิ
                       กระทาความผิดทีเ่ ป็ นการก่ออาชญากรรมคอมพิวเตอร์
       ในปั จจุบนเราคงจะได้ยนข่าวคราวเกี่ยวกับการกระทาความผิดที่เป็ นการก่ออาชญากรรมคอมพิวเตอร์
                  ั          ิ
เป็ นระยะๆ รู ปแบบการก่อความผิดก็แตกต่างกันไป มีท้ งที่เป็ นการกระทาความผิดเพื่อการก่อกวน สร้าง
                                                         ั
ความราคาญ ทาลายชื่อเสี ยง ทาลายทรัพย์สิน ลักทรัพย์ และอื่นๆ อีกมากมาย ตัวอย่างการกระทาความผิด
เช่น 1.การหลอกลวงโดยใช้อีเมล์ เช่น การหลอกลวงว่าเราได้รับรางวัลพิเศษ หรื อถูกล๊อตเตอรี่ ซึ่ งจะต้อง
โอนเงินให้กบผูที่ส่งอีเมล์มาเพื่อให้ได้รางวัลดังกล่าว หรื อหลอกว่าเป็ นผูที่ส่งอีเมล์เป็ นผูที่ได้รับมรดกแต่มี
               ั ้                                                       ้                  ้
เงื่อนไขคือ ต้องโอนเงินเข้าบัญชี บุคคลที่สาม ซึ่งเค้าต้องการให้เรารับโอนเงินและโอนคืนให้เค้า และจะให้
ค่าตอบแทนกับเรา แต่ตองให้เราไปหาเค้าหรื อโอนเงินไปให้เค้าก่อนเพื่อเป็ นหลักประกัน เป็ นต้น
                         ้
      2.การขโมยรหัสผ่าน โดยเฉพาะรหัสผ่านที่เกี่ยวข้องกับระบบ e-banking ซึ่ งอาจทาได้หลายวิธี เช่น การ
เจาะเข้าระบบเราโดยตรงเพื่อขโมยรหัสผ่าน (Hacker/Cracker) หรื อใช้วธี Phishing ซึ่ งก็คือการหลอกล่อให้
                                                                       ิ
                      ั
เราป้ อนข้อมูลให้กบเค้า โดยอาจปลอมแปลงหน้าเว็บไซต์ให้คล้ายคลึงกับหน้าเว็บไซต์ที่เราจะต้องกรอก
ข้อมูลจริ ง เช่น เว็บของธนาคาร เป็ นต้น
        3.Skimming เป็ นการดักคัดลอกข้อมูลจากบัตรเอทีเอ็ม ตั้งแต่รหัสผ่าน ข้อมูลในบัตร เพื่อนาไปใช้ทา
บัตรใบใหม่ มาใช้ทาธุ รกรรมแทนเรา วิธีการนี้ทาได้โดยการติดตั้งอุปกรณ์ไว้ที่ตูเ้ อทีเอ็ม และรอจนเราเข้าไป
ทาธุ รกรรมบนตูเ้ อทีเอ็มนั้น หลังจากที่เราไปแล้ว ผูกระทาความผิดก็จะถอดอุปกรณ์อ อกและนาข้อมูลที่ได้
                                                    ้
ไปสร้างบัตรใหม่ข้ ึนมา
     1.การเล่นพนันบนอินเตอร์ เน็ต
     2.การโพสต์ขอความหมิ่นประมาท
                    ้
     3.การเผยแพร่ ภาพลามกอนาจาร ทั้งทางเครื อข่าย รวมถึงการส่ งอีเมล์ และฟอร์ เวิร์ดเมล์ต่อด้วย
     4.การฆ่าผูอื่นตายโดยเจตนา เช่น แฮคเข้าไปในระบบของโรงพยาบาลแล้วแก้ประวัติการรักษา ประวัติ
                ้
การแพ้ยา ทาให้หมอจ่ายยาผิดพลาดจนคนไข้ตาย
     5.การปัดเศษทศนิยม โดยฝังโปรแกรมลงไปในโปรแกรมของธนาคารหรื อสหกรณ์ เพื่อให้เมื่อมีธุรกรรม
ผ่านโปรแกรม แล้วพบว่ามีเศษทศนิยมที่ต่ากว่า 50 สตางค์ ให้ปัดเศษทศนิยมลงและโอนยอดเงิ นนั้นเข้า
บัญชีของตัวเอง
     6.การขโมย email address
     7.การลักลอบจาหน่ายสิ นค้าผิดกฎหมาย เช่น ใช้ตวละครในเกมส์ออนไลน์ในการติดต่อซื้ อขายยาบ้า แล้ว
                                                      ั
ส่ งยาบ้าทางพัสดุปกติ
พระราชบัญญัติว่าด้ วยการกระทาความผิดเกียวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
                                                      ่

         พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้ประกาศ
ว่า โดยที่เป็ นการสมควรมีกฎหมาย ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ จึงทรงพระกรุ ณาโปรด
เกล้า ฯ ให้ตราพระราชบัญญัติข้ ึนไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของสภานิติบญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้
                                                                       ั
         มาตรา ๑ พระราชบัญญัติน้ ีเรี ยกว่า “พระราชบัญญัติวาด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
                                                           ่
พ.ศ. ๒๕๕๐”

       มาตรา ๒ พระราชบัญญัติน้ ีให้ใช้บงคับเมื่อพ้นกาหนดสามสิ บวันนับแต่วนประกาศในราชกิจจา
                                       ั                                 ั
นุเบกษาเป็ นต้นไป

              มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัติน้ ี “ระบบคอมพิวเตอร์ ” หมายความว่า อุปกรณ์หรื อชุดอุปกรณ์ของ
คอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมการทางานเข้าด้วยกัน โดยได้มีการกาหนดคาสั่ง ชุดคาสั่ง หรื อสิ่ งอื่นใด และแนวทาง
ปฏิบติงานให้อุปกรณ์หรื อชุดอุปกรณ์ทาหน้าที่ประมวลผลข้อมูลโดย อัตโนมัติ
        ั
                                                            ่         ่                      ่
“ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ” หมายความว่า ข้อมูล ข้อความ คาสัง ชุดคาสัง หรื อสิ่ งอื่นใดบรรดาที่อยูในระบบ
คอมพิวเตอร์ในสภาพที่ระบบคอมพิวเตอร์อาจ ประมวลผลได้ และให้หมายความรวมถึงข้อมูล
อิเล็กทรอนิกส์ตามกฎหมายว่าด้วยธุ รกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ดวย       ้
“ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ” หมายความว่า ข้อมูลเกี่ยวกับการติดต่อสื่ อสารของระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่ง
แสดงถึงแหล่งกาเนิด ต้นทาง ปลายทาง เส้นทาง เวลา วันที่ ปริ มาณ ระยะเวลาชนิดของบริ การ หรื ออื่น ๆ ที่
เกี่ยวข้องกับการติดต่อสื่ อสารของระบบคอมพิวเตอร์ น้ น   ั
“ผูให้บริ การ” หมายความว่า
    ้
(๑) ผูให้บริ การแก่บุคคลอื่นในการเข้าสู่ อินเทอร์ เน็ต หรื อให้สามารถติดต่อถึงกันโดยประการอื่น โดยผ่าน
          ้
                                 ่
ทางระบบคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้ ไม่วาจะเป็ นการให้บริ การในนามของตนเอง หรื อในนามหรื อเพื่อประโยชน์
ของบุคคลอื่น
(๒) ผูให้บริ การเก็บรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์ เพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น
            ้
“ผูใช้บริ การ” หมายความว่า ผูใช้บริ การของผูให้บริ การไม่วาต้องเสี ยค่าใช้บริ การหรื อไม่ก็ตาม
      ้                       ้               ้               ่
“พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผูซ่ ึ งรัฐมนตรี แต่งตั้งให้ปฏิบติการตามพระราชบัญญัติน้ ี
                                        ้                           ั
“รัฐมนตรี ” หมายความว่า รัฐมนตรี ผรักษาการตามพระราชบัญญัติน้ ี
                                     ู้

                              ่
         มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรี วาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารรักษาการตาม
พระราชบัญญัติน้ ี และให้มีอานาจออกกฎกระทรวง เพื่อปฏิบติการตามพระราชบัญญัติน้ ี กฎกระทรวงนั้น
                                                     ั
เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บงคับได้
                                          ั
หมวด ๑
                                    ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

          มาตรา ๕ ผูใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่ งระบบคอมพิวเตอร์ ที่มีมาตรการป้ องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและ
                    ้
มาตรการนั้น มิได้มีไว้สาหรับตน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน หรื อปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรื อ
ทั้งจาทั้งปรับ

        มาตรา ๖ ผูใดล่วงรู ้มาตรการป้ องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ ที่ผู ้อื่นจัดทาขึ้นเป็ นการเฉพาะถ้า
                     ้
นามาตรการดังกล่าวไปเปิ ดเผยโดยมิชอบ ในประการที่น่าจะเกิดความเสี ยหายแก่ผอื่น ต้องระวางโทษจาคุก
                                                                                   ู้
ไม่เกินหนึ่งปี หรื อปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ

      มาตรา ๗ ผูใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ที่มีมาตรการป้ องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและ
                   ้
มาตรการนั้นมิได้มีไว้สาหรับตน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสองปี หรื อปรับไม่เกินสี่ หมื่นบาทหรื อทั้งจาทั้ง
ปรับ

        มาตรา ๘ ผูใดกระทาด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่ อดักรับไว้ ซึ่ง
                   ้
                       ้         ่
ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ของผูอื่นที่อยูระหว่างการส่ งในระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์ น้ นมิได้มีไว้
                                                                                         ั
เพื่อประโยชน์สาธารณะหรื อเพื่อให้บุคคล ทัวไปใช้ประโยชน์ได้ตองระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรื อ
                                           ่                 ้
ปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ

                                                                              ่
          มาตรา ๙ ผูใดทาให้เสี ยหาย ทาลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรื อเพิ่มเติมไม่วาทั้งหมดหรื อบางส่ วน ซึ่ง
                    ้
ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ของผูอื่นโดยมิชอบ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรื อปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรื อ
                        ้
ทั้งจาทั้งปรับ

        มาตรา ๑๐ ผูใดกระทาด้วยประการใดโดยมิชอบ เพื่อให้การทางานของระบบคอมพิวเตอร์ของผูอื่น
                   ้                                                                   ้
ถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรื อรบกวนจนไม่สามารถทางานตามปกติได้ตองระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรื อ
                                                             ้
ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ

        มาตรา ๑๑ ผูใดส่ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรื อจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บุคคลอื่นโดยปกปิ ดหรื อปลอม
                   ้
แปลงแหล่งที่มาของการส่ งข้อมูลดังกล่าว อันเป็ นการรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดย
ปกติสุข ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท

        มาตรา ๑๒ ถ้าการกระทาความผิดตามมาตรา ๙ หรื อมาตรา ๑๐
                                         ่                                                       ่
(๑) ก่อให้เกิดความเสี ยหายแก่ประชาชน ไม่วาความเสี ยหายนั้นจะเกิดขึ้นในทันทีหรื อในภายหลัง และไม่วา
จะเกิดขึ้นพร้อมกันหรื อไม่ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสิ บปี และปรับไม่เกินสองแสนบาท
(๒) เป็ นการกระทาโดยประการที่น่าจะเกิดความเสี ยหายต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรื อระบบคอมพิวเตอร์ที่
เกี่ยวกับการรักษาความมันคงปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมันคงในทางเศรษฐกิจ
                        ่                                                      ่
ของประเทศ หรื อการบริ การสาธารณะ หรื อเป็ นการกระทาต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรื อระบบคอมพิวเตอร์ ท่ีมี
ไว้เพื่อ ประโยชน์สาธารณะ ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่สามปี ถึงสิ บห้าปี และปรับตั้งแต่หกหมื่นบาทถึงสาม
แสนบาทถ้าการกระทาความผิดตาม (๒) เป็ นเหตุให้ผอื่นถึงแก่ความตาย ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่สิบปี ถึง
                                                  ู้
ยีสิบปี
  ่

      มาตรา ๑๓ ผูใดจาหน่ายหรื อเผยแพร่ ชุดคาสั่งที่จดทาขึ้นโดยเฉพาะเพื่อนาไปใช้เป็ นเครื่ องมือในการ
                    ้                               ั
กระทาความผิดตามมาตรา ๕ มาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๘ มาตรา ๙ มาตรา ๑๐ หรื อมาตรา ๑๑ ต้องระวาง
โทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรื อปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ

         มาตรา ๑๔ ผูใดกระทาความผิดที่ระบุไว้ดงต่อไปนี้ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรื อปรับไม่
                       ้                              ั
เกินหนึ่งแสนบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
(๑) นาเข้าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์ ซ่ ึ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ปลอมไม่วาทั้งหมดหรื อบางส่ วน หรื อ
                                                                     ่
ข้อมูลคอมพิวเตอร์ อนเป็ นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสี ยหายแก่ผอื่นหรื อประชาชน
                     ั                                                      ู้
(๒) นาเข้าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์ ซ่ ึ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ อนเป็ นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสี ยหายต่อ
                                                           ั
ความมันคงของประเทศหรื อก่อให้เกิดความ ตื่นตระหนกแก่ประชาชน
       ่
(๓) นาเข้าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์ ซ่ ึ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ใด ๆ อันเป็ นความผิดเกี่ยวกับความมันคงแห่ง
                                                                                             ่
ราชอาณาจักรหรื อความผิดเกี่ยวกับการ ก่อการร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา
(๔) นาเข้าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์ ซ่ ึ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ใด ๆ ที่มีลกษณะอันลามกและข้อมูลคอมพิวเตอร์ น้ น
                                                                       ั                                   ั
ประชาชนทัวไปอาจเข้าถึงได้
              ่
                                                         ่
(๕) เผยแพร่ หรื อส่ งต่อซึ่ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ โดยรู ้อยูแล้วว่าเป็ นข้อมูลคอมพิวเตอร์ ตาม (๑)(๒) (๓) หรื อ
(๔)

      มาตรา ๑๕ ผูให้บริ การผูใดจงใจสนับสนุนหรื อยินยอมให้มีการกระทาความผิดตามมาตรา ๑๔ ใน
                    ้        ้
                      ่
ระบบคอมพิวเตอร์ ที่อยูในความควบคุมของตน ต้องระวางโทษเช่นเดียวกับผูกระทาความผิดตามมาตรา ๑๔
                                                                  ้

         มาตรา ๑๖ ผูใดนาเข้าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์ ที่ประชาชนทัวไปอาจเข้าถึงได้ซ่ ึ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ที่
                     ้                                         ่
ปรากฏเป็ นภาพของผูอื่น และภาพนั้นเป็ นภาพที่เกิดจากการสร้างขึ้น ตัดต่อ เติม หรื อดัดแปลงด้วยวิธีการ
                       ้
ทางอิเล็กทรอนิกส์หรื อวิธีการอื่นใด ทั้งนี้ โดยประการที่น่าจะทาให้ผอื่นนั้นเสี ยชื่อเสี ยง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียด
                                                                   ู้
ชัง หรื อได้รับความอับอาย ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรื อ
ปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ ถ้าการกระทาตามวรรคหนึ่ง เป็ นการนาเข้าข้อมูลคอมพิวเตอร์
โดยสุ จริ ต ผูกระทาไม่มีความผิด ความผิดตามวรรคหนึ่งเป็ นความผิดอันยอมความได้ ถ้าผูเ้ สี ยหายใน
              ้
ความผิดตามวรรคหนึ่งตายเสี ยก่อนร้องทุกข์ ให้บิดา มารดา คู่สมรส หรื อ บุตรของผูเ้ สี ยหายร้องทุกข์ได้
และให้ถือว่าเป็ นผูเ้ สี ยหาย

          มาตรา ๑๗ ผูใดกระทาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ีนอกราชอาณาจักรและ
                     ้
(๑) ผูกระทาความผิดนั้นเป็ นคนไทย และรัฐบาลแห่งประเทศที่ความผิดได้เกิดขึ้นหรื อผูเ้ สี ยหายได้ร้องขอให้
      ้
ลงโทษ หรื อ
(๒) ผูกระทาความผิดนั้นเป็ นคนต่างด้าว และรัฐบาลไทยหรื อคนไทยเป็ นผูเ้ สี ยหายและผูเ้ สี ยหายได้ร้อง
        ้
ขอให้ลงโทษจะต้องรับโทษภายในราชอาณาจักร

                                               หมวด ๒
                                           พนักงานเจ้ าหน้ าที่


          มาตรา ๑๘ ภายใต้บงคับมาตรา ๑๙ เพื่อประโยชน์ในการสื บสวนและสอบสวนในกรณี ที่มีเหตุอน
                               ั                                                                       ั
                ่
ควรเชื่อได้วามีการ กระทาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ี ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอานาจอย่างหนึ่งอย่างใด
ดังต่อไปนี้ เฉพาะที่จาเป็ นเพื่อประโยชน์ในการใช้เป็ นหลักฐานเกี่ยวกับการกระทาความผิด และหาตัว
ผูกระทาความผิด
  ้
(๑) มีหนังสื อสอบถามหรื อเรี ยกบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการกระทาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ีมาเพื่อให้
                                                                                ่
ถ้อยคา ส่ งคาชี้แจงเป็ นหนังสื อ หรื อส่ งเอกสาร ข้อมูล หรื อหลักฐานอื่นใดที่อยูในรู ปแบบที่สามารถเข้าใจได้
(๒) เรี ยกข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ จากผูให้บริ การเกี่ยวกับการติดต่อสื่ อสาร ผ่านระบบคอมพิวเตอร์ หรื อ
                                              ้
จากบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้อง
(๓) สั่งให้ผให้บริ การส่ งมอบข้อมูลเกี่ยวกับผูใช้บริ การที่ตองเก็บตามมาตรา ๒๖ หรื อที่อยูในความ
             ู้                                 ้            ้                            ่
ครอบครองหรื อควบคุมของผูให้บริ การให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่
                                 ้
(๔) ทาสาเนาข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ จากระบบคอมพิวเตอร์ที่มีเหตุอนควรเชื่อได้ั
                                                                                        ่
ว่ามีการกระทาความผิดตามพระราช บัญญัติน้ ี ในกรณี ที่ระบบคอมพิวเตอร์ น้ นยังมิได้อยูในความ
                                                                              ั
ครอบครองของพนักงานเจ้า หน้าที่
(๕) สั่งให้บุคคลซึ่ งครอบครองหรื อควบคุมข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรื ออุปกรณ์ที่ใช้เก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์ ส่ ง
มอบข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรื ออุปกรณ์ดงกล่าวให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่
                                          ั
(๖) ตรวจสอบหรื อเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์หรื ออุปกรณ์ที่
ใช้เก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์ ของบุคคล ใด อันเป็ นหลักฐานหรื ออาจใช้เป็ นหลักฐานเกี่ยวกับการกระทา
ความผิด หรื อเพื่อสื บสวนหาตัวผูกระทาความผิดและสั่งให้บุคคลนั้นส่ งข้อมูล คอมพิวเตอร์ขอมูลจราจรทาง
                                   ้                                                         ้
คอมพิวเตอร์ ที่เกี่ยวข้องเท่าที่จาเป็ นให้ดวยก็ได้
                                           ้
(๗) ถอดรหัสลับของข้อมูลคอมพิวเตอร์ ของบุคคลใด หรื อสั่งให้บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการเข้ารหัสลับของ
ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ทาการถอดรหัสลับ หรื อให้ความร่ วมมือกับพนักงานเจ้าหน้าที่ในการถอดรหัสลับ
ดังกล่าว
(๘) ยึดหรื ออายัดระบบคอมพิวเตอร์ เท่าที่จาเป็ นเฉพาะเพื่อประโยชน์ในการทราบราย ละเอียดแห่งความผิด
และผูกระทาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ี
      ้

         มาตรา ๑๙ การใช้อานาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ
(๘) ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ยนคาร้องต่อศาลที่มีเขตอานาจเพื่อมีคาสั่งอนุญาตให้ พนักงานเจ้าหน้าที่
                           ื่
                                                              ่
ดาเนินการตามคาร้อง ทั้งนี้ คาร้องต้องระบุเหตุอนควรเชื่อได้วาบุคคลใดกระทาหรื อกาลังจะกระทาการอย่าง
                                                ั
หนึ่งอย่างใดอันเป็ นความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ี เหตุที่ตองใช้อานาจ ลักษณะของการกระทาความผิด
                                                          ้
รายละเอียดเกี่ยวกับอุปกรณ์ท่ีใช้ในการกระทาความผิดและผูกระทาความผิด เท่าที่สามารถจะระบุได้
                                                            ้
ประกอบคาร้องด้วยในการพิจารณาคาร้องให้ศาลพิจารณาคาร้องดังกล่าวโดยเร็ ว เมื่อศาลมีคาสังอนุญาตแล้ว
                                                                                              ่
ก่อนดาเนินการตามคาสั่งของศาล ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ส่งสาเนาบันทึกเหตุอนควรเชื่อที่ทาให้ตองใช้
                                                                              ั                 ้
อานาจ ตามมาตรา ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) มอบให้เจ้าของหรื อผูครอบครองระบบคอมพิวเตอร์ น้ นไว้
                                                                      ้                               ั
เป็ นหลักฐาน แต่ถาไม่มีเจ้าของหรื อผูครอบครองเครื่ องคอมพิวเตอร์ อยู่ ณ ที่น้ น ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ส่ง
                   ้                 ้                                          ั
มอบสาเนาบันทึกนั้นให้แก่เจ้าของหรื อ
ผูครอบครองดังกล่าวในทันทีที่กระทาได้ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ผเู ้ ป็ นหัวหน้าในการดาเนินการตามมาตรา
   ้
๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ
(๘) ส่ งสาเนาบันทึกรายละเอียดการดาเนินการและเหตุผลแห่งการดาเนินการให้ศาลที่มี เขตอานาจภายในสี่
สิ บแปดชัวโมงนับแต่เวลาลงมือดาเนินการ เพื่อเป็ นหลักฐานการทาสาเนาข้อมูลคอมพิวเตอร์ตามมาตรา ๑๘
          ่
                                                  ่
(๔) ให้กระทาได้เฉพาะเมื่อมีเหตุอนควรเชื่อได้วามีการกระทาความผิดตามพระราช บัญญัติน้ ี และต้องไม่
                                  ั
เป็ นอุปสรรคในการดาเนินกิจการของเจ้าของหรื อผูครอบครองข้อมูล คอมพิวเตอร์ น้ นเกินความจาเป็ น การ
                                                    ้                               ั
ยึดหรื ออายัดตามมาตรา ๑๘ (๘) นอกจากจะต้องส่ งมอบสาเนาหนังสื อแสดงการยึดหรื ออายัดมอบให้
เจ้าของหรื อผู้ ครอบครองระบบคอมพิวเตอร์ น้ นไว้เป็ นหลักฐานแล้ว พนักงานเจ้าหน้าที่จะสั่งยึดหรื ออายัด
                                              ั
ไว้เกินสามสิ บวันมิได้ ในกรณี จาเป็ นที่ตองยึดหรื ออายัดไว้นานกว่านั้น ให้ยนคาร้องต่อศาลที่มีเขตอานาจ
                                         ้                                 ื่
เพื่อขอขยายเวลายึดหรื ออายัดได้ แต่ศาลจะอนุญาตให้ขยายเวลาครั้งเดียวหรื อหลายครั้งรวมกันได้อีกไม่เกิน
หกสิ บ วัน เมื่อหมดความจาเป็ นที่จะยึดหรื ออายัดหรื อครบกาหนดเวลาดังกล่าวแล้ว พนักงานเจ้าหน้าที่ตอง     ้
ส่ งคืนระบบคอมพิวเตอร์ ที่ยดหรื อถอนการอายัดโดยพลัน หนังสื อแสดงการยึดหรื ออายัดตามวรรคห้าให้
                              ึ
เป็ นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๒๐ ในกรณี ที่การกระทาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ีเป็ นการทาให้แพร่ หลายซึ่ ง
ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ที่อาจกระทบกระเทือนต่อความมันคงแห่งราชอาณาจักร ตามที่กาหนดไว้ในภาคสอง
                                                  ่
ลักษณะ ๑ หรื อลักษณะ ๑/๑ แห่งประมวลกฎหมายอาญา หรื อที่มีลกษณะขัดต่อความสงบเรี ยบร้อยหรื อ
                                                                ั
ศีลธรรมอันดีของประชาชน พนักงานเจ้าหน้าที่โดยได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรี อาจยืนคาร้อง พร้อม
                                                                                     ่
แสดงพยานหลักฐานต่อศาลที่มีเขตอานาจขอให้มีคาสั่งระงับการทาให้แพร่ หลายซึ่ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ น้ น ั
ได้ ในกรณี ท่ีศาลมีคาสังให้ระงับการทาให้แพร่ หลายซึ่ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ตามวรรค หนึ่ง ให้พนักงาน
                       ่
เจ้าหน้าที่ทาการระงับการทาให้แพร่ หลายนั้นเอง หรื อสั่งให้ผให้บริ การระงับการทาให้แพร่ หลายซึ่ ง
                                                            ู้
ข้อมูลคอมพิวเตอร์ น้ นก็ ได้
                     ั

          มาตรา ๒๑ ในกรณี ที่พนักงานเจ้าหน้าที่พบว่า ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ใดมีชุดคาสั่งไม่พงประสงค์
                                                                                             ึ
        ่ ้
รวมอยูดวย พนักงานเจ้าหน้าที่อาจยืนคาร้อ งต่อศาลที่มีเขตอานาจเพื่อขอให้มีคาสั่งห้าม จาหน่ายหรื อ
                                    ่
เผยแพร่ หรื อสั่งให้เจ้าของหรื อผูครอบครองข้อมูลคอมพิวเตอร์ น้ นระงับการใช้ ทาลายหรื อแก้ไข
                                  ้                              ั
ข้อมูลคอมพิวเตอร์ น้ นได้ หรื อจะกาหนดเงื่อนไขในการใช้ มีไว้ในครอบครอง หรื อเผยแพร่ ชุดคาสังไม่พึง
                      ั                                                                           ่
ประสงค์ดงกล่าวก็ได้ชุดคาสั่งไม่พึงประสงค์ตาม วรรคหนึ่งหมายถึงชุดคาสั่งที่มีผลทาให้ขอมูลคอมพิวเตอร์
            ั                                                                              ้
หรื อระบบคอมพิวเตอร์ หรื อชุดคาสั่งอื่นเกิดความเสี ยหาย ถูกทาลาย ถูกแก้ไขเปลี่ยนแปลงหรื อเพิ่มเติม
ขัดข้อง หรื อปฏิบติงานไม่ตรงตามคาสั่งที่กาหนดไว้ หรื อโดยประการอื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวงทั้งนี้
                  ั
เว้นแต่เป็ นชุดคาสั่งที่มุ่งหมายในการป้ องกันหรื อแก้ไขชุดคาสั่งดังกล่าว ข้างต้น ตามที่รัฐมนตรี ประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษา

         มาตรา ๒๒ ห้ามมิให้พนักงานเจ้าหน้าที่เปิ ดเผยหรื อส่ งมอบข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทาง
คอมพิวเตอร์ หรื อข้อมูลของผูใช้บริ การ ที่ ได้มาตามมาตรา ๑๘ ให้แก่บุคคลใดความในวรรคหนึ่งมิให้ใช้
                            ้
                                                    ั ้
บังคับกับการกระทาเพื่อประโยชน์ในการดาเนินคดีกบผูกระทาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ี หรื อเพื่อ
ประโยชน์ในการดาเนินคดีกบพนักงานเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการใช้อานาจหน้าที่
                          ั
โดยมิชอบ หรื อเป็ นการกระทาตามคาสั่งหรื อที่ ได้รับอนุญาตจากศาลพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ ใดฝ่ าฝื นวรรค
หนึ่งต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรื อปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ

         มาตรา ๒๓ พนักงานเจ้าหน้าที่ผใดกระทาโดยประมาทเป็ นเหตุให้ผอื่นล่วงรู ้ขอมูลคอมพิวเตอร์
                                      ู้                              ู้       ้
ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ หรื อข้อมูลของผูใช้บริ การ ที่ได้มาตามมาตรา ๑๘ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน
                                              ้
หนึ่งปี หรื อปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ

         มาตรา ๒๔ ผูใดล่วงรู ้ขอมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ หรื อข้อมูลของผูใช้บริ การ ที่
                        ้        ้                                                       ้
พนักงานเจ้าหน้าที่ได้มาตามมาตรา ๑๘ และเปิ ดเผยข้อมูลนั้นต่อผูหนึ่งผูใด ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสอง
                                                             ้      ้
ปี หรื อปรับไม่เกินสี่ หมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
มาตรา ๒๕ ข้อมูล ข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรื อข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ที่พนักงานเจ้าหน้าที่ได้มา
ตามพระราชบัญญัติน้ ี ให้อางและรับฟังเป็ นพยานหลักฐานตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
                         ้
ความอาญาหรื อกฎหมายอื่นอันว่าด้วยการสื บพยานได้ แต่ตองเป็ นชนิดที่มิได้เกิดขึ้นจากการจูงใจมีคามัน
                                                     ้                                          ่
สัญญา ขูเ่ ข็ญ หลอกลวง หรื อโดยมิชอบประการอื่น

         มาตรา ๒๖ ผูให้บริ การต้องเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ไว้ไม่นอยกว่าเก้าสิ บ วันนับแต่
                          ้                                                         ้
วันที่ขอมูลนั้นเข้าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์ แต่ในกรณี จาเป็ นพนักงานเจ้าหน้าที่จะสั่งให้ผให้บริ การผูใดเก็บ
       ้                                                                               ู้            ้
รักษา ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ไว้เกินเก้าสิ บวัน แต่ไม่เกินหนึ่งปี เป็ นกรณี พิเศษเฉพาะรายและเฉพาะ
คราวก็ได้ ผูให้บริ การจะต้องเก็บรักษาข้อมูลของผูใช้บริ การเท่าที่จาเป็ นเพื่อให้ สามารถระบุตวผูใช้บริ การ
                ้                                    ้                                           ั ้
นับตั้งแต่เริ่ มใช้บริ การและต้องเก็บรักษาไว้เป็ นเวลาไม่นอยกว่าเก้าสิ บวัน นับตั้งแต่การใช้บริ การสิ้ นสุ ดลง
                                                          ้
                            ั ้
ความในวรรคหนึ่งจะใช้กบผูให้บริ การประเภทใด อย่างไร และเมื่อใด ให้เป็ นไปตามที่รัฐมนตรี ประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษาผูให้บริ การผูใดไม่ปฏิบติตามมาตรานี้ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าแสนบาท
                        ้        ้         ั

        มาตรา ๒๗ ผูใดไม่ปฏิบติตามคาสั่งของศาลหรื อพนักงานเจ้าหน้าที่ที่สั่งตามมาตรา ๑๘ หรื อมาตรา
                     ้        ั
๒๐ หรื อไม่ปฏิบติตามคาสั่งของศาลตามมาตรา ๒๑ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองแสนบาทและปรั บเป็ น
                ั
รายวันอีกไม่เกินวันละห้าพัน บาทจนกว่าจะปฏิบติให้ถูกต้อง
                                           ั

      มาตรา ๒๘ การแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติน้ ี ให้รัฐมนตรี แต่งตั้งจากผูมีความรู ้
                                                                                          ้
และความชานาญเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ และมีคุณสมบัติตามที่รัฐมนตรี กาหนด

        มาตรา ๒๙ ในการปฏิบติหน้าที่ตามพระราชบัญญัติน้ ี ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เป็ นพนักงานฝ่ าย
                            ั
ปกครองหรื อตารวจชั้นผูใหญ่ตามประมวล กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามีอานาจรับคาร้องทุกข์หรื อ
                      ้
รับคากล่าวโทษ และมีอานาจในการสื บสวนสอบสวนเฉพาะความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ี ในการจับ
ควบคุม ค้น การทาสานวนสอบสวนและดาเนินคดีผกระทาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ี บรรดาที่เป็ น
                                               ู้
อานาจของพนักงานฝ่ ายปกครองหรื อตารวจชั้นผูใหญ่ หรื อพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธี
                                          ้
พิจารณาความอาญา ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ประสานงานกับพนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบเพื่อดาเนินการ
                                                                       ้
ตามอานาจหน้าที่ต่อไป ให้นายกรัฐมนตรี ในฐานะผูกากับดูแลสานักงานตารวจแห่งชาติ และรัฐมนตรี มี
                                             ้
อานาจ ร่ วมกันกาหนดระเบียบเกี่ยวกับแนวทางและวิธีปฏิบติในการดาเนินการตามวรรคสอง
                                                    ั

       มาตรา ๓๐ ในการปฏิบติหน้าที่ พนักงานเจ้าหน้าที่ตองแสดงบัตรประจาตัวต่อบุคคลซึ่ งเกี่ยวข้อง
                           ั                           ้
บัตรประจาตัวของพนักงานเจ้าหน้าที่ให้เป็ นไปตามแบบที่รัฐมนตรี ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
อ้ างอิง

www.microsoft.com/thailand/piracy/cybercrime.aspx
sites.google.com/site/gaiusjustthink/nida.../xachyakrrmkhxmphiwtexr
www.dld.go.th/ict/article/security/sec02.html
ครูจุ๋ม Poopdf

More Related Content

What's hot

อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องอนุตตรีย์ สุขเสน
 
รายงานมุก
รายงานมุกรายงานมุก
รายงานมุกJiraprapa Noinoo
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์4971
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2550
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2550พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2550
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2550Piw ARSENAL
 
รายงานอาชญากรรม เชี่ยว
รายงานอาชญากรรม เชี่ยวรายงานอาชญากรรม เชี่ยว
รายงานอาชญากรรม เชี่ยวAtcharaspk
 
พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550Ch Khankluay
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์Thalatchanan Netboot
 
รายงานคอมของเม 20
รายงานคอมของเม 20รายงานคอมของเม 20
รายงานคอมของเม 20Kamonchapat Boonkua
 
ณรงค์ชัย
ณรงค์ชัยณรงค์ชัย
ณรงค์ชัยNakkarin Keesun
 
งานคอมฯ
งานคอมฯงานคอมฯ
งานคอมฯKannaree Jar
 
อาชญากรรม
อาชญากรรมอาชญากรรม
อาชญากรรมJariya Huangjing
 
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550Sitdhibong Laokok
 

What's hot (16)

อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
 
รายงานมุก
รายงานมุกรายงานมุก
รายงานมุก
 
มิกทกิ้
มิกทกิ้มิกทกิ้
มิกทกิ้
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
แนน คอม Pdf
แนน คอม Pdfแนน คอม Pdf
แนน คอม Pdf
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2550
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2550พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2550
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2550
 
รายงานอาชญากรรม เชี่ยว
รายงานอาชญากรรม เชี่ยวรายงานอาชญากรรม เชี่ยว
รายงานอาชญากรรม เชี่ยว
 
พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
 
รายงานคอมของเม 20
รายงานคอมของเม 20รายงานคอมของเม 20
รายงานคอมของเม 20
 
ณรงค์ชัย
ณรงค์ชัยณรงค์ชัย
ณรงค์ชัย
 
งานคอมฯ
งานคอมฯงานคอมฯ
งานคอมฯ
 
อาชญากรรม
อาชญากรรมอาชญากรรม
อาชญากรรม
 
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
 

Viewers also liked (13)

ใบชำระเงิน
ใบชำระเงินใบชำระเงิน
ใบชำระเงิน
 
E-Book_Intensive_Reading_Chapter3
E-Book_Intensive_Reading_Chapter3E-Book_Intensive_Reading_Chapter3
E-Book_Intensive_Reading_Chapter3
 
ภาษาไทย1 poo
ภาษาไทย1 pooภาษาไทย1 poo
ภาษาไทย1 poo
 
Calculus www.clipvidva.com
Calculus www.clipvidva.com Calculus www.clipvidva.com
Calculus www.clipvidva.com
 
E-Book_Intensive_Reading_Chapter2
E-Book_Intensive_Reading_Chapter2E-Book_Intensive_Reading_Chapter2
E-Book_Intensive_Reading_Chapter2
 
E-Book_Intensive_Reading_Chapter1
E-Book_Intensive_Reading_Chapter1E-Book_Intensive_Reading_Chapter1
E-Book_Intensive_Reading_Chapter1
 
E-Book_Intensive_Reading_Bibliography
E-Book_Intensive_Reading_BibliographyE-Book_Intensive_Reading_Bibliography
E-Book_Intensive_Reading_Bibliography
 
E-Book_Intensive_Reading_Title
E-Book_Intensive_Reading_TitleE-Book_Intensive_Reading_Title
E-Book_Intensive_Reading_Title
 
การกำนวณตั่วเงิน
การกำนวณตั่วเงินการกำนวณตั่วเงิน
การกำนวณตั่วเงิน
 
E-Book_Intensive_Reading_Chapter5
E-Book_Intensive_Reading_Chapter5E-Book_Intensive_Reading_Chapter5
E-Book_Intensive_Reading_Chapter5
 
อาหารอาเซียน
อาหารอาเซียนอาหารอาเซียน
อาหารอาเซียน
 
Pigment
PigmentPigment
Pigment
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงาน
 

Similar to ครูจุ๋ม Poopdf

อาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯอาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯKannaree Jar
 
อาชญากรรม บอล
อาชญากรรม บอลอาชญากรรม บอล
อาชญากรรม บอลAY'z Felon
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1Kamonchapat Boonkua
 
อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋AY'z Felon
 
อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋AY'z Felon
 
อาชญากรรม ปอ
อาชญากรรม ปออาชญากรรม ปอ
อาชญากรรม ปอHatairat Srisawat
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์Nukaem Ayoyo
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์Nukaem Ayoyo
 
รายงาน พืด
รายงาน พืดรายงาน พืด
รายงาน พืดJiraprapa Noinoo
 
รายงาน พืด
รายงาน พืดรายงาน พืด
รายงาน พืดJiraprapa Noinoo
 
งานคอมฯ
งานคอมฯงานคอมฯ
งานคอมฯKannaree Jar
 

Similar to ครูจุ๋ม Poopdf (20)

ตุก Pdf
ตุก Pdfตุก Pdf
ตุก Pdf
 
รายงานเจียบ
รายงานเจียบรายงานเจียบ
รายงานเจียบ
 
อาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯอาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯ
 
อาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯอาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯ
 
อาชญากรรม บอล
อาชญากรรม บอลอาชญากรรม บอล
อาชญากรรม บอล
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
รายงานคอม12
รายงานคอม12รายงานคอม12
รายงานคอม12
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
 
วิก
วิกวิก
วิก
 
อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋
 
อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
อาชญากรรม ปอ
อาชญากรรม ปออาชญากรรม ปอ
อาชญากรรม ปอ
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
 
รายงาน พืด
รายงาน พืดรายงาน พืด
รายงาน พืด
 
รายงาน พืด
รายงาน พืดรายงาน พืด
รายงาน พืด
 
งานคอมฯ
งานคอมฯงานคอมฯ
งานคอมฯ
 

ครูจุ๋ม Poopdf

  • 1. รายงาน เรื่อง....อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง จัดทาโดย นางสาวกัญญาณี ศรีส ุกใส เลขที่ 28 ชัน ม.6/1 ้ เสนอ ค ุณคร ูจุฑารัตน์ ใจบ ุญ รายงานเล่มนี้เปนส่วนหนึ่งของรายวิชา ็ การงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนรัษฏาน ุประดิษฐ์อน ุสรณ์ อ.วังวิเศษ จ.ตรัง
  • 2. คานา รายงานเล่มนี้เป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี(ง33102 ) ซึ่งได้จดทาขึ้นในเรื่ องของอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และได้ ั รวบรวมเนื้อหาสาระต่างๆที่เกี่ยวกับอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ไว้ในรายงานเล่มนี้แล้วซึ่งมีท้งความหมายของอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ ประเภท ั ของอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ กระทาความผิดที่เป็ นการก่ออาชญากรรม คอมพิวเตอร์ รวมทั้งกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ ไว้ในรายงาน เล่มนี้แล้วซึ่งรายงานเล่มนี้เหมาะสมแก่ผที่สนใจในเรื่ องของคอมพิวเตอร์ และสามารถ ู้ นาไปใช้เป็ นสื่ อการเรี ยนการสอนได้ไม่มากก็นอยตามความเหมาะสมของเนื้อหาสาระ ้ หากรายงานเล่มนี้มีขอผิดพลาดประการใดก็ขออภัยไว้ ณ ที่น้ ีดวย ้ ้ ผูจดทา ้ั นางสาวกัญญาณี ศรี สุกใส ชั้นม. 6/1 เลขที่ 28
  • 3. สารบัญ เรื่อง หน้ า อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 1 พระราชบัญญัติวาด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 ่ 4 หมวด ๑ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 5 หมวด ๒พนักงานเจ้าหน้าที่ 7 อ้างอิง 11
  • 4. อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ กฎหมายที่เกียวข้ อง ่ อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง การกระทาผิดทางอาญาในระบบคอมพิวเตอร์ หรื อการใช้ คอมพิวเตอร์ เพื่อกระทาผิดทางอาญา เช่น ทาลาย เปลี่ยนแปลง หรื อขโมยข้อมูลต่าง ๆ เป็ นต้น ระบบ คอมพิวเตอร์ ในที่น้ ี หมายรวมถึงระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ที่เชื่อมกับระบบดังกล่าวด้วย สาหรับอาชญากรรมในระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ (เช่น อินเทอร์ เน็ต) อาจเรี ยกได้อีกอย่างหนึ่ง คือ อาชญากรรมไซเบอร์ (อังกฤษ: Cybercrime) อาชญากรที่ก่ออาชญากรรมประเภทนี้ มักถูกเรี ยกว่า แครก เกอร์ อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ เป็ นสิ่ งที่เกิดขึ้นมาควบคู่กบการเกิดขึ้นมาของคอมพิวเตอร์ หมายถึง การ ั กระทาความผิดหรื อก่ออาชญากรรมโดยอาศัยความรู ้ในการใช้คอมพิวเตอร์ หรื ออุปกรณ์อื่น ก่อให้เกิดความ เสี ยหายต่อผูอื่น ต่อระบบเศรษฐกิจ และต่อประเทศชาติ ้ ในการก่ออาชญากรรมคอมพิวเตอร์ น้ น ตัวคอมพิวเตอร์ เอง อาจเป็ นเพียงเครื่ องมือที่ช่วยให้การกระทา ั ความผิดสามารถทาได้สะดวกมากขึ้น หรื ออาจเป็ นเครื่ องมือที่ใช้ในการกระทาความผิด หรื อ อาจจะเป็ น เป้ าหมายในการทาอาชญากรรมก็ได้ อาชญากรรม 6 ประเภทดังกล่าวได้แก่ 1.การเงิน – อาชญากรรมที่ขดขวางความสามารถขององค์กรธุ รกิจในการทาธุ รกรรม อี- คอมเมิร์ซ(หรื อ ั พาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์ ) 2.การละเมิดลิขสิ ทธิ์ – การคัดลอกผลงานที่มีลิขสิ ทธิ์ ในปั จจุบนคอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคลและอินเทอร์ เน็ต ั ถูกใช้เป็ นสื่ อในการก่ออาชญากรรม แบบเก่า โดยการโจรกรรมทางออนไลน์หมายรวมถึง การละเมิด ลิขสิ ทธิ์ ใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้อินเทอร์ เน็ตเพื่อจาหน่ายหรื อเผยแพร่ ผลงานสร้างสรรค์ที่ได้รับการ คุมครองลิขสิ ทธิ์ ้ 3.การเจาะระบบ – การให้ได้มาซึ่ งสิ ทธิ ในการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ หรื อเครื อข่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต และในบางกรณี อาจหมายถึงการใช้สิทธิ การเข้าถึงนี้โดยไม่ได้รับอนุญาต นอกจากนี้การเจาะระบบยังอาจ รองรับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ในรู ปแบบอื่นๆ (เช่น การปลอมแปลง การก่อการร้าย ฯลฯ) 4.การก่อการร้ายทางคอมพิวเตอร์ – ผลสื บเนื่องจากการเจาะระบบ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความ หวาดกลัว เช่นเดียวกับการก่อการร้ายทัวไป โดยการกระทาที่เข้าข่าย การก่อการร้ายทางอิเล็กทรอนิกส์ (e- ่ terrorism) จะเกี่ยวข้องกับการเจาระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อก่อเหตุรุนแรงต่อบุ คคลหรื อทรัพย์สิน หรื ออย่าง น้อยก็มีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความหวาดกลัว 5.ภาพอนาจารทางออนไลน์ – ตามข้อกาหนด 18 USC 2252 และ 18 USC 2252A การประมวลผลหรื อการ เผยแพร่ ภาพอนาจารเด็กถือเป็ นการกระทาที่ผดกฎหมาย และตามข้อกาหนด 47 USC 223 การเผยแพร่ ภาพ ิ ลามกอนาจารในรู ปแบบใดๆ แก่เยาวชนถือเป็ นการกระทาที่ขดต่อกฎหมาย อินเทอร์ เน็ตเป็ นเพียงช่องทาง ั ใหม่สาหรับอาชญากรรม แบบเก่า อย่างไรก็ดี ประเด็นเรื่ องวิธีที่เหมาะสมที่สุดในการควบคุมช่องทางการ สื่ อสารที่ครอบคลุมทัวโลกและเข้าถึงทุกกลุ่มอายุน้ ีได้ก่อให้เกิดการถกเถียงและการโต้แย้งอย่างกว้างขวาง ่
  • 5. ่ 6.ภายในโรงเรี ยน – ถึงแม้วาอินเทอร์ เน็ตจะเป็ นแหล่งทรัพยากรสาหรับการศึกษาและสันทนาการ แต่ เยาวชนจาเป็ นต้องได้รับทราบเกี่ยวกับวิธีการใช้งานเครื่ องมืออันทรงพลังนี้อย่างปลอดภัยและมีความ รับผิดชอบ โดยเป้ าหมายหลักของโครงการนี้คือ เพื่อกระตุนให้เด็ กได้เรี ยนรู ้เกี่ยวกับข้อกาหนดทางกฎหมาย ้ สิ ทธิ ของตนเอง และวิธีที่เหมาะสมในการป้ องกันการใช้อินเทอร์ เน็ตในทางที่ผด ิ กระทาความผิดทีเ่ ป็ นการก่ออาชญากรรมคอมพิวเตอร์ ในปั จจุบนเราคงจะได้ยนข่าวคราวเกี่ยวกับการกระทาความผิดที่เป็ นการก่ออาชญากรรมคอมพิวเตอร์ ั ิ เป็ นระยะๆ รู ปแบบการก่อความผิดก็แตกต่างกันไป มีท้ งที่เป็ นการกระทาความผิดเพื่อการก่อกวน สร้าง ั ความราคาญ ทาลายชื่อเสี ยง ทาลายทรัพย์สิน ลักทรัพย์ และอื่นๆ อีกมากมาย ตัวอย่างการกระทาความผิด เช่น 1.การหลอกลวงโดยใช้อีเมล์ เช่น การหลอกลวงว่าเราได้รับรางวัลพิเศษ หรื อถูกล๊อตเตอรี่ ซึ่ งจะต้อง โอนเงินให้กบผูที่ส่งอีเมล์มาเพื่อให้ได้รางวัลดังกล่าว หรื อหลอกว่าเป็ นผูที่ส่งอีเมล์เป็ นผูที่ได้รับมรดกแต่มี ั ้ ้ ้ เงื่อนไขคือ ต้องโอนเงินเข้าบัญชี บุคคลที่สาม ซึ่งเค้าต้องการให้เรารับโอนเงินและโอนคืนให้เค้า และจะให้ ค่าตอบแทนกับเรา แต่ตองให้เราไปหาเค้าหรื อโอนเงินไปให้เค้าก่อนเพื่อเป็ นหลักประกัน เป็ นต้น ้ 2.การขโมยรหัสผ่าน โดยเฉพาะรหัสผ่านที่เกี่ยวข้องกับระบบ e-banking ซึ่ งอาจทาได้หลายวิธี เช่น การ เจาะเข้าระบบเราโดยตรงเพื่อขโมยรหัสผ่าน (Hacker/Cracker) หรื อใช้วธี Phishing ซึ่ งก็คือการหลอกล่อให้ ิ ั เราป้ อนข้อมูลให้กบเค้า โดยอาจปลอมแปลงหน้าเว็บไซต์ให้คล้ายคลึงกับหน้าเว็บไซต์ที่เราจะต้องกรอก ข้อมูลจริ ง เช่น เว็บของธนาคาร เป็ นต้น 3.Skimming เป็ นการดักคัดลอกข้อมูลจากบัตรเอทีเอ็ม ตั้งแต่รหัสผ่าน ข้อมูลในบัตร เพื่อนาไปใช้ทา บัตรใบใหม่ มาใช้ทาธุ รกรรมแทนเรา วิธีการนี้ทาได้โดยการติดตั้งอุปกรณ์ไว้ที่ตูเ้ อทีเอ็ม และรอจนเราเข้าไป ทาธุ รกรรมบนตูเ้ อทีเอ็มนั้น หลังจากที่เราไปแล้ว ผูกระทาความผิดก็จะถอดอุปกรณ์อ อกและนาข้อมูลที่ได้ ้ ไปสร้างบัตรใหม่ข้ ึนมา 1.การเล่นพนันบนอินเตอร์ เน็ต 2.การโพสต์ขอความหมิ่นประมาท ้ 3.การเผยแพร่ ภาพลามกอนาจาร ทั้งทางเครื อข่าย รวมถึงการส่ งอีเมล์ และฟอร์ เวิร์ดเมล์ต่อด้วย 4.การฆ่าผูอื่นตายโดยเจตนา เช่น แฮคเข้าไปในระบบของโรงพยาบาลแล้วแก้ประวัติการรักษา ประวัติ ้ การแพ้ยา ทาให้หมอจ่ายยาผิดพลาดจนคนไข้ตาย 5.การปัดเศษทศนิยม โดยฝังโปรแกรมลงไปในโปรแกรมของธนาคารหรื อสหกรณ์ เพื่อให้เมื่อมีธุรกรรม ผ่านโปรแกรม แล้วพบว่ามีเศษทศนิยมที่ต่ากว่า 50 สตางค์ ให้ปัดเศษทศนิยมลงและโอนยอดเงิ นนั้นเข้า บัญชีของตัวเอง 6.การขโมย email address 7.การลักลอบจาหน่ายสิ นค้าผิดกฎหมาย เช่น ใช้ตวละครในเกมส์ออนไลน์ในการติดต่อซื้ อขายยาบ้า แล้ว ั ส่ งยาบ้าทางพัสดุปกติ
  • 6. พระราชบัญญัติว่าด้ วยการกระทาความผิดเกียวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 ่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้ประกาศ ว่า โดยที่เป็ นการสมควรมีกฎหมาย ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ จึงทรงพระกรุ ณาโปรด เกล้า ฯ ให้ตราพระราชบัญญัติข้ ึนไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของสภานิติบญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้ ั มาตรา ๑ พระราชบัญญัติน้ ีเรี ยกว่า “พระราชบัญญัติวาด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ่ พ.ศ. ๒๕๕๐” มาตรา ๒ พระราชบัญญัติน้ ีให้ใช้บงคับเมื่อพ้นกาหนดสามสิ บวันนับแต่วนประกาศในราชกิจจา ั ั นุเบกษาเป็ นต้นไป มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัติน้ ี “ระบบคอมพิวเตอร์ ” หมายความว่า อุปกรณ์หรื อชุดอุปกรณ์ของ คอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมการทางานเข้าด้วยกัน โดยได้มีการกาหนดคาสั่ง ชุดคาสั่ง หรื อสิ่ งอื่นใด และแนวทาง ปฏิบติงานให้อุปกรณ์หรื อชุดอุปกรณ์ทาหน้าที่ประมวลผลข้อมูลโดย อัตโนมัติ ั ่ ่ ่ “ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ” หมายความว่า ข้อมูล ข้อความ คาสัง ชุดคาสัง หรื อสิ่ งอื่นใดบรรดาที่อยูในระบบ คอมพิวเตอร์ในสภาพที่ระบบคอมพิวเตอร์อาจ ประมวลผลได้ และให้หมายความรวมถึงข้อมูล อิเล็กทรอนิกส์ตามกฎหมายว่าด้วยธุ รกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ดวย ้ “ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ” หมายความว่า ข้อมูลเกี่ยวกับการติดต่อสื่ อสารของระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่ง แสดงถึงแหล่งกาเนิด ต้นทาง ปลายทาง เส้นทาง เวลา วันที่ ปริ มาณ ระยะเวลาชนิดของบริ การ หรื ออื่น ๆ ที่ เกี่ยวข้องกับการติดต่อสื่ อสารของระบบคอมพิวเตอร์ น้ น ั “ผูให้บริ การ” หมายความว่า ้ (๑) ผูให้บริ การแก่บุคคลอื่นในการเข้าสู่ อินเทอร์ เน็ต หรื อให้สามารถติดต่อถึงกันโดยประการอื่น โดยผ่าน ้ ่ ทางระบบคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้ ไม่วาจะเป็ นการให้บริ การในนามของตนเอง หรื อในนามหรื อเพื่อประโยชน์ ของบุคคลอื่น (๒) ผูให้บริ การเก็บรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์ เพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น ้ “ผูใช้บริ การ” หมายความว่า ผูใช้บริ การของผูให้บริ การไม่วาต้องเสี ยค่าใช้บริ การหรื อไม่ก็ตาม ้ ้ ้ ่ “พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผูซ่ ึ งรัฐมนตรี แต่งตั้งให้ปฏิบติการตามพระราชบัญญัติน้ ี ้ ั “รัฐมนตรี ” หมายความว่า รัฐมนตรี ผรักษาการตามพระราชบัญญัติน้ ี ู้ ่ มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรี วาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารรักษาการตาม พระราชบัญญัติน้ ี และให้มีอานาจออกกฎกระทรวง เพื่อปฏิบติการตามพระราชบัญญัติน้ ี กฎกระทรวงนั้น ั เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บงคับได้ ั
  • 7. หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ มาตรา ๕ ผูใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่ งระบบคอมพิวเตอร์ ที่มีมาตรการป้ องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและ ้ มาตรการนั้น มิได้มีไว้สาหรับตน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน หรื อปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรื อ ทั้งจาทั้งปรับ มาตรา ๖ ผูใดล่วงรู ้มาตรการป้ องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ ที่ผู ้อื่นจัดทาขึ้นเป็ นการเฉพาะถ้า ้ นามาตรการดังกล่าวไปเปิ ดเผยโดยมิชอบ ในประการที่น่าจะเกิดความเสี ยหายแก่ผอื่น ต้องระวางโทษจาคุก ู้ ไม่เกินหนึ่งปี หรื อปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ มาตรา ๗ ผูใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ที่มีมาตรการป้ องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและ ้ มาตรการนั้นมิได้มีไว้สาหรับตน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสองปี หรื อปรับไม่เกินสี่ หมื่นบาทหรื อทั้งจาทั้ง ปรับ มาตรา ๘ ผูใดกระทาด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่ อดักรับไว้ ซึ่ง ้ ้ ่ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ของผูอื่นที่อยูระหว่างการส่ งในระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์ น้ นมิได้มีไว้ ั เพื่อประโยชน์สาธารณะหรื อเพื่อให้บุคคล ทัวไปใช้ประโยชน์ได้ตองระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรื อ ่ ้ ปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ ่ มาตรา ๙ ผูใดทาให้เสี ยหาย ทาลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรื อเพิ่มเติมไม่วาทั้งหมดหรื อบางส่ วน ซึ่ง ้ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ของผูอื่นโดยมิชอบ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรื อปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรื อ ้ ทั้งจาทั้งปรับ มาตรา ๑๐ ผูใดกระทาด้วยประการใดโดยมิชอบ เพื่อให้การทางานของระบบคอมพิวเตอร์ของผูอื่น ้ ้ ถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรื อรบกวนจนไม่สามารถทางานตามปกติได้ตองระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรื อ ้ ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ มาตรา ๑๑ ผูใดส่ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรื อจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บุคคลอื่นโดยปกปิ ดหรื อปลอม ้ แปลงแหล่งที่มาของการส่ งข้อมูลดังกล่าว อันเป็ นการรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดย ปกติสุข ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท มาตรา ๑๒ ถ้าการกระทาความผิดตามมาตรา ๙ หรื อมาตรา ๑๐ ่ ่ (๑) ก่อให้เกิดความเสี ยหายแก่ประชาชน ไม่วาความเสี ยหายนั้นจะเกิดขึ้นในทันทีหรื อในภายหลัง และไม่วา
  • 8. จะเกิดขึ้นพร้อมกันหรื อไม่ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสิ บปี และปรับไม่เกินสองแสนบาท (๒) เป็ นการกระทาโดยประการที่น่าจะเกิดความเสี ยหายต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรื อระบบคอมพิวเตอร์ที่ เกี่ยวกับการรักษาความมันคงปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมันคงในทางเศรษฐกิจ ่ ่ ของประเทศ หรื อการบริ การสาธารณะ หรื อเป็ นการกระทาต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรื อระบบคอมพิวเตอร์ ท่ีมี ไว้เพื่อ ประโยชน์สาธารณะ ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่สามปี ถึงสิ บห้าปี และปรับตั้งแต่หกหมื่นบาทถึงสาม แสนบาทถ้าการกระทาความผิดตาม (๒) เป็ นเหตุให้ผอื่นถึงแก่ความตาย ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่สิบปี ถึง ู้ ยีสิบปี ่ มาตรา ๑๓ ผูใดจาหน่ายหรื อเผยแพร่ ชุดคาสั่งที่จดทาขึ้นโดยเฉพาะเพื่อนาไปใช้เป็ นเครื่ องมือในการ ้ ั กระทาความผิดตามมาตรา ๕ มาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๘ มาตรา ๙ มาตรา ๑๐ หรื อมาตรา ๑๑ ต้องระวาง โทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรื อปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ มาตรา ๑๔ ผูใดกระทาความผิดที่ระบุไว้ดงต่อไปนี้ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรื อปรับไม่ ้ ั เกินหนึ่งแสนบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ (๑) นาเข้าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์ ซ่ ึ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ปลอมไม่วาทั้งหมดหรื อบางส่ วน หรื อ ่ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ อนเป็ นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสี ยหายแก่ผอื่นหรื อประชาชน ั ู้ (๒) นาเข้าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์ ซ่ ึ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ อนเป็ นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสี ยหายต่อ ั ความมันคงของประเทศหรื อก่อให้เกิดความ ตื่นตระหนกแก่ประชาชน ่ (๓) นาเข้าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์ ซ่ ึ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ใด ๆ อันเป็ นความผิดเกี่ยวกับความมันคงแห่ง ่ ราชอาณาจักรหรื อความผิดเกี่ยวกับการ ก่อการร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา (๔) นาเข้าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์ ซ่ ึ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ใด ๆ ที่มีลกษณะอันลามกและข้อมูลคอมพิวเตอร์ น้ น ั ั ประชาชนทัวไปอาจเข้าถึงได้ ่ ่ (๕) เผยแพร่ หรื อส่ งต่อซึ่ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ โดยรู ้อยูแล้วว่าเป็ นข้อมูลคอมพิวเตอร์ ตาม (๑)(๒) (๓) หรื อ (๔) มาตรา ๑๕ ผูให้บริ การผูใดจงใจสนับสนุนหรื อยินยอมให้มีการกระทาความผิดตามมาตรา ๑๔ ใน ้ ้ ่ ระบบคอมพิวเตอร์ ที่อยูในความควบคุมของตน ต้องระวางโทษเช่นเดียวกับผูกระทาความผิดตามมาตรา ๑๔ ้ มาตรา ๑๖ ผูใดนาเข้าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์ ที่ประชาชนทัวไปอาจเข้าถึงได้ซ่ ึ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ที่ ้ ่ ปรากฏเป็ นภาพของผูอื่น และภาพนั้นเป็ นภาพที่เกิดจากการสร้างขึ้น ตัดต่อ เติม หรื อดัดแปลงด้วยวิธีการ ้ ทางอิเล็กทรอนิกส์หรื อวิธีการอื่นใด ทั้งนี้ โดยประการที่น่าจะทาให้ผอื่นนั้นเสี ยชื่อเสี ยง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียด ู้ ชัง หรื อได้รับความอับอาย ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรื อ ปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ ถ้าการกระทาตามวรรคหนึ่ง เป็ นการนาเข้าข้อมูลคอมพิวเตอร์
  • 9. โดยสุ จริ ต ผูกระทาไม่มีความผิด ความผิดตามวรรคหนึ่งเป็ นความผิดอันยอมความได้ ถ้าผูเ้ สี ยหายใน ้ ความผิดตามวรรคหนึ่งตายเสี ยก่อนร้องทุกข์ ให้บิดา มารดา คู่สมรส หรื อ บุตรของผูเ้ สี ยหายร้องทุกข์ได้ และให้ถือว่าเป็ นผูเ้ สี ยหาย มาตรา ๑๗ ผูใดกระทาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ีนอกราชอาณาจักรและ ้ (๑) ผูกระทาความผิดนั้นเป็ นคนไทย และรัฐบาลแห่งประเทศที่ความผิดได้เกิดขึ้นหรื อผูเ้ สี ยหายได้ร้องขอให้ ้ ลงโทษ หรื อ (๒) ผูกระทาความผิดนั้นเป็ นคนต่างด้าว และรัฐบาลไทยหรื อคนไทยเป็ นผูเ้ สี ยหายและผูเ้ สี ยหายได้ร้อง ้ ขอให้ลงโทษจะต้องรับโทษภายในราชอาณาจักร หมวด ๒ พนักงานเจ้ าหน้ าที่ มาตรา ๑๘ ภายใต้บงคับมาตรา ๑๙ เพื่อประโยชน์ในการสื บสวนและสอบสวนในกรณี ที่มีเหตุอน ั ั ่ ควรเชื่อได้วามีการ กระทาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ี ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอานาจอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ เฉพาะที่จาเป็ นเพื่อประโยชน์ในการใช้เป็ นหลักฐานเกี่ยวกับการกระทาความผิด และหาตัว ผูกระทาความผิด ้ (๑) มีหนังสื อสอบถามหรื อเรี ยกบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการกระทาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ีมาเพื่อให้ ่ ถ้อยคา ส่ งคาชี้แจงเป็ นหนังสื อ หรื อส่ งเอกสาร ข้อมูล หรื อหลักฐานอื่นใดที่อยูในรู ปแบบที่สามารถเข้าใจได้ (๒) เรี ยกข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ จากผูให้บริ การเกี่ยวกับการติดต่อสื่ อสาร ผ่านระบบคอมพิวเตอร์ หรื อ ้ จากบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้อง (๓) สั่งให้ผให้บริ การส่ งมอบข้อมูลเกี่ยวกับผูใช้บริ การที่ตองเก็บตามมาตรา ๒๖ หรื อที่อยูในความ ู้ ้ ้ ่ ครอบครองหรื อควบคุมของผูให้บริ การให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ ้ (๔) ทาสาเนาข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ จากระบบคอมพิวเตอร์ที่มีเหตุอนควรเชื่อได้ั ่ ว่ามีการกระทาความผิดตามพระราช บัญญัติน้ ี ในกรณี ที่ระบบคอมพิวเตอร์ น้ นยังมิได้อยูในความ ั ครอบครองของพนักงานเจ้า หน้าที่ (๕) สั่งให้บุคคลซึ่ งครอบครองหรื อควบคุมข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรื ออุปกรณ์ที่ใช้เก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์ ส่ ง มอบข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรื ออุปกรณ์ดงกล่าวให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ ั (๖) ตรวจสอบหรื อเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์หรื ออุปกรณ์ที่ ใช้เก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์ ของบุคคล ใด อันเป็ นหลักฐานหรื ออาจใช้เป็ นหลักฐานเกี่ยวกับการกระทา ความผิด หรื อเพื่อสื บสวนหาตัวผูกระทาความผิดและสั่งให้บุคคลนั้นส่ งข้อมูล คอมพิวเตอร์ขอมูลจราจรทาง ้ ้
  • 10. คอมพิวเตอร์ ที่เกี่ยวข้องเท่าที่จาเป็ นให้ดวยก็ได้ ้ (๗) ถอดรหัสลับของข้อมูลคอมพิวเตอร์ ของบุคคลใด หรื อสั่งให้บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการเข้ารหัสลับของ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ทาการถอดรหัสลับ หรื อให้ความร่ วมมือกับพนักงานเจ้าหน้าที่ในการถอดรหัสลับ ดังกล่าว (๘) ยึดหรื ออายัดระบบคอมพิวเตอร์ เท่าที่จาเป็ นเฉพาะเพื่อประโยชน์ในการทราบราย ละเอียดแห่งความผิด และผูกระทาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ี ้ มาตรา ๑๙ การใช้อานาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ยนคาร้องต่อศาลที่มีเขตอานาจเพื่อมีคาสั่งอนุญาตให้ พนักงานเจ้าหน้าที่ ื่ ่ ดาเนินการตามคาร้อง ทั้งนี้ คาร้องต้องระบุเหตุอนควรเชื่อได้วาบุคคลใดกระทาหรื อกาลังจะกระทาการอย่าง ั หนึ่งอย่างใดอันเป็ นความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ี เหตุที่ตองใช้อานาจ ลักษณะของการกระทาความผิด ้ รายละเอียดเกี่ยวกับอุปกรณ์ท่ีใช้ในการกระทาความผิดและผูกระทาความผิด เท่าที่สามารถจะระบุได้ ้ ประกอบคาร้องด้วยในการพิจารณาคาร้องให้ศาลพิจารณาคาร้องดังกล่าวโดยเร็ ว เมื่อศาลมีคาสังอนุญาตแล้ว ่ ก่อนดาเนินการตามคาสั่งของศาล ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ส่งสาเนาบันทึกเหตุอนควรเชื่อที่ทาให้ตองใช้ ั ้ อานาจ ตามมาตรา ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) มอบให้เจ้าของหรื อผูครอบครองระบบคอมพิวเตอร์ น้ นไว้ ้ ั เป็ นหลักฐาน แต่ถาไม่มีเจ้าของหรื อผูครอบครองเครื่ องคอมพิวเตอร์ อยู่ ณ ที่น้ น ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ส่ง ้ ้ ั มอบสาเนาบันทึกนั้นให้แก่เจ้าของหรื อ ผูครอบครองดังกล่าวในทันทีที่กระทาได้ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ผเู ้ ป็ นหัวหน้าในการดาเนินการตามมาตรา ้ ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) ส่ งสาเนาบันทึกรายละเอียดการดาเนินการและเหตุผลแห่งการดาเนินการให้ศาลที่มี เขตอานาจภายในสี่ สิ บแปดชัวโมงนับแต่เวลาลงมือดาเนินการ เพื่อเป็ นหลักฐานการทาสาเนาข้อมูลคอมพิวเตอร์ตามมาตรา ๑๘ ่ ่ (๔) ให้กระทาได้เฉพาะเมื่อมีเหตุอนควรเชื่อได้วามีการกระทาความผิดตามพระราช บัญญัติน้ ี และต้องไม่ ั เป็ นอุปสรรคในการดาเนินกิจการของเจ้าของหรื อผูครอบครองข้อมูล คอมพิวเตอร์ น้ นเกินความจาเป็ น การ ้ ั ยึดหรื ออายัดตามมาตรา ๑๘ (๘) นอกจากจะต้องส่ งมอบสาเนาหนังสื อแสดงการยึดหรื ออายัดมอบให้ เจ้าของหรื อผู้ ครอบครองระบบคอมพิวเตอร์ น้ นไว้เป็ นหลักฐานแล้ว พนักงานเจ้าหน้าที่จะสั่งยึดหรื ออายัด ั ไว้เกินสามสิ บวันมิได้ ในกรณี จาเป็ นที่ตองยึดหรื ออายัดไว้นานกว่านั้น ให้ยนคาร้องต่อศาลที่มีเขตอานาจ ้ ื่ เพื่อขอขยายเวลายึดหรื ออายัดได้ แต่ศาลจะอนุญาตให้ขยายเวลาครั้งเดียวหรื อหลายครั้งรวมกันได้อีกไม่เกิน หกสิ บ วัน เมื่อหมดความจาเป็ นที่จะยึดหรื ออายัดหรื อครบกาหนดเวลาดังกล่าวแล้ว พนักงานเจ้าหน้าที่ตอง ้ ส่ งคืนระบบคอมพิวเตอร์ ที่ยดหรื อถอนการอายัดโดยพลัน หนังสื อแสดงการยึดหรื ออายัดตามวรรคห้าให้ ึ เป็ นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
  • 11. มาตรา ๒๐ ในกรณี ที่การกระทาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ีเป็ นการทาให้แพร่ หลายซึ่ ง ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ที่อาจกระทบกระเทือนต่อความมันคงแห่งราชอาณาจักร ตามที่กาหนดไว้ในภาคสอง ่ ลักษณะ ๑ หรื อลักษณะ ๑/๑ แห่งประมวลกฎหมายอาญา หรื อที่มีลกษณะขัดต่อความสงบเรี ยบร้อยหรื อ ั ศีลธรรมอันดีของประชาชน พนักงานเจ้าหน้าที่โดยได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรี อาจยืนคาร้อง พร้อม ่ แสดงพยานหลักฐานต่อศาลที่มีเขตอานาจขอให้มีคาสั่งระงับการทาให้แพร่ หลายซึ่ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ น้ น ั ได้ ในกรณี ท่ีศาลมีคาสังให้ระงับการทาให้แพร่ หลายซึ่ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ตามวรรค หนึ่ง ให้พนักงาน ่ เจ้าหน้าที่ทาการระงับการทาให้แพร่ หลายนั้นเอง หรื อสั่งให้ผให้บริ การระงับการทาให้แพร่ หลายซึ่ ง ู้ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ น้ นก็ ได้ ั มาตรา ๒๑ ในกรณี ที่พนักงานเจ้าหน้าที่พบว่า ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ใดมีชุดคาสั่งไม่พงประสงค์ ึ ่ ้ รวมอยูดวย พนักงานเจ้าหน้าที่อาจยืนคาร้อ งต่อศาลที่มีเขตอานาจเพื่อขอให้มีคาสั่งห้าม จาหน่ายหรื อ ่ เผยแพร่ หรื อสั่งให้เจ้าของหรื อผูครอบครองข้อมูลคอมพิวเตอร์ น้ นระงับการใช้ ทาลายหรื อแก้ไข ้ ั ข้อมูลคอมพิวเตอร์ น้ นได้ หรื อจะกาหนดเงื่อนไขในการใช้ มีไว้ในครอบครอง หรื อเผยแพร่ ชุดคาสังไม่พึง ั ่ ประสงค์ดงกล่าวก็ได้ชุดคาสั่งไม่พึงประสงค์ตาม วรรคหนึ่งหมายถึงชุดคาสั่งที่มีผลทาให้ขอมูลคอมพิวเตอร์ ั ้ หรื อระบบคอมพิวเตอร์ หรื อชุดคาสั่งอื่นเกิดความเสี ยหาย ถูกทาลาย ถูกแก้ไขเปลี่ยนแปลงหรื อเพิ่มเติม ขัดข้อง หรื อปฏิบติงานไม่ตรงตามคาสั่งที่กาหนดไว้ หรื อโดยประการอื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวงทั้งนี้ ั เว้นแต่เป็ นชุดคาสั่งที่มุ่งหมายในการป้ องกันหรื อแก้ไขชุดคาสั่งดังกล่าว ข้างต้น ตามที่รัฐมนตรี ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๒๒ ห้ามมิให้พนักงานเจ้าหน้าที่เปิ ดเผยหรื อส่ งมอบข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทาง คอมพิวเตอร์ หรื อข้อมูลของผูใช้บริ การ ที่ ได้มาตามมาตรา ๑๘ ให้แก่บุคคลใดความในวรรคหนึ่งมิให้ใช้ ้ ั ้ บังคับกับการกระทาเพื่อประโยชน์ในการดาเนินคดีกบผูกระทาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ี หรื อเพื่อ ประโยชน์ในการดาเนินคดีกบพนักงานเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการใช้อานาจหน้าที่ ั โดยมิชอบ หรื อเป็ นการกระทาตามคาสั่งหรื อที่ ได้รับอนุญาตจากศาลพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ ใดฝ่ าฝื นวรรค หนึ่งต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรื อปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ มาตรา ๒๓ พนักงานเจ้าหน้าที่ผใดกระทาโดยประมาทเป็ นเหตุให้ผอื่นล่วงรู ้ขอมูลคอมพิวเตอร์ ู้ ู้ ้ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ หรื อข้อมูลของผูใช้บริ การ ที่ได้มาตามมาตรา ๑๘ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน ้ หนึ่งปี หรื อปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ มาตรา ๒๔ ผูใดล่วงรู ้ขอมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ หรื อข้อมูลของผูใช้บริ การ ที่ ้ ้ ้ พนักงานเจ้าหน้าที่ได้มาตามมาตรา ๑๘ และเปิ ดเผยข้อมูลนั้นต่อผูหนึ่งผูใด ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสอง ้ ้ ปี หรื อปรับไม่เกินสี่ หมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
  • 12. มาตรา ๒๕ ข้อมูล ข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรื อข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ที่พนักงานเจ้าหน้าที่ได้มา ตามพระราชบัญญัติน้ ี ให้อางและรับฟังเป็ นพยานหลักฐานตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ้ ความอาญาหรื อกฎหมายอื่นอันว่าด้วยการสื บพยานได้ แต่ตองเป็ นชนิดที่มิได้เกิดขึ้นจากการจูงใจมีคามัน ้ ่ สัญญา ขูเ่ ข็ญ หลอกลวง หรื อโดยมิชอบประการอื่น มาตรา ๒๖ ผูให้บริ การต้องเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ไว้ไม่นอยกว่าเก้าสิ บ วันนับแต่ ้ ้ วันที่ขอมูลนั้นเข้าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์ แต่ในกรณี จาเป็ นพนักงานเจ้าหน้าที่จะสั่งให้ผให้บริ การผูใดเก็บ ้ ู้ ้ รักษา ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ไว้เกินเก้าสิ บวัน แต่ไม่เกินหนึ่งปี เป็ นกรณี พิเศษเฉพาะรายและเฉพาะ คราวก็ได้ ผูให้บริ การจะต้องเก็บรักษาข้อมูลของผูใช้บริ การเท่าที่จาเป็ นเพื่อให้ สามารถระบุตวผูใช้บริ การ ้ ้ ั ้ นับตั้งแต่เริ่ มใช้บริ การและต้องเก็บรักษาไว้เป็ นเวลาไม่นอยกว่าเก้าสิ บวัน นับตั้งแต่การใช้บริ การสิ้ นสุ ดลง ้ ั ้ ความในวรรคหนึ่งจะใช้กบผูให้บริ การประเภทใด อย่างไร และเมื่อใด ให้เป็ นไปตามที่รัฐมนตรี ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษาผูให้บริ การผูใดไม่ปฏิบติตามมาตรานี้ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าแสนบาท ้ ้ ั มาตรา ๒๗ ผูใดไม่ปฏิบติตามคาสั่งของศาลหรื อพนักงานเจ้าหน้าที่ที่สั่งตามมาตรา ๑๘ หรื อมาตรา ้ ั ๒๐ หรื อไม่ปฏิบติตามคาสั่งของศาลตามมาตรา ๒๑ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองแสนบาทและปรั บเป็ น ั รายวันอีกไม่เกินวันละห้าพัน บาทจนกว่าจะปฏิบติให้ถูกต้อง ั มาตรา ๒๘ การแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติน้ ี ให้รัฐมนตรี แต่งตั้งจากผูมีความรู ้ ้ และความชานาญเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ และมีคุณสมบัติตามที่รัฐมนตรี กาหนด มาตรา ๒๙ ในการปฏิบติหน้าที่ตามพระราชบัญญัติน้ ี ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เป็ นพนักงานฝ่ าย ั ปกครองหรื อตารวจชั้นผูใหญ่ตามประมวล กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามีอานาจรับคาร้องทุกข์หรื อ ้ รับคากล่าวโทษ และมีอานาจในการสื บสวนสอบสวนเฉพาะความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ี ในการจับ ควบคุม ค้น การทาสานวนสอบสวนและดาเนินคดีผกระทาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ี บรรดาที่เป็ น ู้ อานาจของพนักงานฝ่ ายปกครองหรื อตารวจชั้นผูใหญ่ หรื อพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธี ้ พิจารณาความอาญา ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ประสานงานกับพนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบเพื่อดาเนินการ ้ ตามอานาจหน้าที่ต่อไป ให้นายกรัฐมนตรี ในฐานะผูกากับดูแลสานักงานตารวจแห่งชาติ และรัฐมนตรี มี ้ อานาจ ร่ วมกันกาหนดระเบียบเกี่ยวกับแนวทางและวิธีปฏิบติในการดาเนินการตามวรรคสอง ั มาตรา ๓๐ ในการปฏิบติหน้าที่ พนักงานเจ้าหน้าที่ตองแสดงบัตรประจาตัวต่อบุคคลซึ่ งเกี่ยวข้อง ั ้ บัตรประจาตัวของพนักงานเจ้าหน้าที่ให้เป็ นไปตามแบบที่รัฐมนตรี ประกาศในราชกิจจานุเบกษา