SlideShare a Scribd company logo
1 of 52
หน่วยการเรียนรู ้
ที่ 6
ไฟฟ
้ าและอิเล็กทรอนิกส์
ไฟฟ
้ าและอิเล็กทรอนิกส์
ความต่าง
ศักย์ไฟฟ
้ า
กระแสไฟฟ
้ า
และความ
ต้านทานไฟฟ
้ า
การใช้พลังงาน
ไฟฟ
้ า
การต่อ
วงจรไฟฟ
้ าใน
บ้าน
อุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์
การต่ออุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์
ประโยชน์ของ
อิเล็กทรอนิกส์
ความต่างศักย์ไฟฟ
้ า
กระแสไฟฟ
้ า
และความต้านทานไฟฟ
้ า
• เป็ นความแตกต่างของพลังงานไฟฟ้ า
ร ะ ห ว่ า ง จุ ด ส อ ง จุ ด ซึ่ง ท า ใ ห้เ กิด
กระแสไฟฟ้ า
• กระแสไฟฟ้ าไหลจากจุดที่มีศักย์ไฟฟ้ าสูง
ไปยังจุดที่มีศักย์ไฟฟ้ าต่า และจะหยุดไหล
เมื่อศักย์ไฟฟ้ าทั้งสองจุดเท่ากัน
• เครื่องวัดความต่างศักย์ไฟฟ้ า เรียกว่า
โวลต์มิเตอร ์มีหน่วยเป็ น โวลต์ (Volt :
V)
• การต่อโวลต์มิเตอร ์ในวงจรไฟฟ้ าเพื่อใช้
วัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้ าจะต้องต่อแบบ
ขนาน
ความต่างศักย์ไฟฟ
้ า
• กระแสไฟฟ้ าเกิดขึ้นได้เมื่อมีความต่างศักย์ต่างกันสองบริเวณ
• กระแสไฟฟ้ าจะไหลผ่านวัตถุที่มีสมบัตินาไฟฟ้ าได้ ซึ่งจะไหล
ผ่านมากหรือน้อยนั้นขึ้นอยู่กับลักษณะของตัวนาไฟฟ้ า
• เครื่องมือที่ใช ้วัดกระแสไฟฟ้ า เรียกว่า แอมมิเตอร ์มีหน่วยเป็ น
แอมแปร ์(ampere : A)
• การต่อแอมมิเตอร ์ในวงจรไฟฟ้ าเพื่อวัดความกระแสไฟฟ้ าจะต่อ
แบบอนุกรม
กระแสไฟฟ
้ า
ไฟฟ
้ ากระแสสลับ
• กระแสไฟฟ้าที่เกิดจากการ
เคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน
• มีทิศทางกลับไปกลับมา
ตลอดเวลาด ้วยความถี่
ค่าหนึ่ง
ไฟฟ
้ ากระแสตรง
• กระแสไฟฟ้าที่ไหลในทิศทาง
เดียวตลอดเวลา
• ไหลจากจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าสูง
กว่าไปยังจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าต่า
กว่า หรือไหลจากขั้วบวกไปยัง
ขั้วลบ
• เป็ นสมบัติของตัวนาไฟฟ้ าที่ยอมให้
กระแสไฟฟ้ าไหลผ่านไปมากหรือน้อย
• ตัวนาไฟฟ้ าที่มีความต้านทานต่าจะยอมให้
กระแสไฟฟ้ าไหลผ่านได้มาก ส่วนตัวนา
ไฟฟ้ าที่มีความต้านทานสูงจะยอมให้
กระแสไฟฟ้ าไหลผ่านได้น้อย
• เครื่องมือวัดค่าความต้านทานไฟฟ้ า
เรียกว่า มัลติมิเตอร ์มี
หน่วยเป็ น โอห์ม (ohm : Ω )
ความต้านทานไฟฟ
้ า
ชนิดของตัวนาไฟฟ
้ า
• ตัวนาไฟฟ้ า คือ วัตถุที่ยอมให้
กระแสไฟฟ้ าไหลผ่านได้ดี
ได้แก่ โลหะ เช่น เงิน ทองแดง
สังกะสี อะลูมิเนียม เป็ นต้น
ปัจจัยที่มีผลต่อความ
ต้านทานไฟฟ
้ า
• ฉนวนไฟฟ้ า คือ วัตถุที่ไม่ยอมให้
กระแสไฟฟ้ าไหลผ่าน หรือไหล
ผ่านได้น้อย ได้แก่ อโลหะ เช่น
พลาสติกไม้ ผ้า เป็ นต้น
ขนาดของตัวนาไฟฟ
้ า
ตัวนาไฟฟ้ าชนิดเดียวกันแต่มี
ขนาดต่างกันตัวนาไฟฟ้ าขนาดเล็ก
จะมีความต้านทานสูงกว่าตัวนา
ไฟฟ้ าขนาดใหญ่
อุณหภูมิ
ตัวนาไฟฟ้ าที่เป็ นโลหะบริสุทธิ์และโลหะผสม เมื่ออุณหภูมิ
เพิ่มขึ้น ค่าความต้านทาน
ก็จะเพิ่มขึ้น
ความยาวของตัวนาไฟฟ
้ า
ตัวนาไฟฟ้ าชนิดเดียวกันแต่มี
ความยาวต่างกัน ตัวนาไฟฟ้ าที่มี
ความยาวน้อยกว่าจะมีความ
ต้านทานต่ากว่าตัวนาไฟฟ้ าที่มี
ความยาวมากกว่า
ความต้านทานสูง
ความต้านทานต่า
ลวดนิโครมที่มีขนาดเล็ก
และยาว
ทองแดงที่มีขนาดเล็กและ
ยาว
ทองแดงที่มีขนาดใหญ่และ
ยาว
ทองแดงที่มีขนาดใหญ่และ
สั้น
• ความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้ า กระแสไฟฟ้ า และ
ความต้านทานไฟฟ้ า เขียนเป็ นสมการ ได้ดังนี้
V = IR
• กฎของโอห์ม กล่าวว่า “เมื่ออุณหภูมิคงที่ อัตราส่วนระหว่าง
ความต่างศักย์ไฟฟ้ ากับกระแสไฟฟ้ าของตัวนาไฟฟ้ า จะมี
ค่าคงที่เท่ากับความต้านทานของตัวนาไฟฟ้ านั้น”
ความสัมพันธ ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ
้ า
กระแสไฟฟ
้ า และความต้านทานไฟฟ
้ า
เมื่อ V แทนความต่างศักย์ไฟฟ้ า มีหน่วยเป็ นโวลต์
(V)
I แทนกระแสไฟฟ้ า มีหน่วยเป็ น
แอมแปร ์(A)
ตัวอย่
าง
ตัวอย่
าง
ตัวอย่
าง
การใช้พลังงานไฟฟ
้ า
ค่าของพลังงานไฟฟ้ าที่ถูกใช ้ไปใน 1 วินาที มีหน่วยเป็ น วัตต์
(Watt : W) หรือ
จูลต่อวินาที (Joule : J/s) สามารถเขียนเป็ นสมการแสดง
ความสัมพันธ์ได้ ดังนี้
เมื่อ P แทนกาลังไฟฟ้ า มีหน่วย
เป็ นวัตต์ (W)
W แทนพลังงานไฟฟ้ า มีหน่วย
เป็ นจูล (J)
t แทนเวลา มี
กาลังไฟฟ
้ า
กาลังไฟฟ้าจะมีค่ามากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปริมาณ
กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านเครื่องใช ้ไฟฟ้า และความต่างศักย์ที่
เครื่องใช ้ไฟฟ้านั้นๆ ต่ออยู่ โดยเขียนเป็นสมการแสดง
ความสัมพันธ์ได ้ดังนี้
เมื่อ P แทนกาลังไฟฟ้า มีหน่วยเป็น
วัตต์ (W)
V แทนความต่างศักย์ไฟฟ้า มีหน่วยเป็น
โวลต์ (V)
I แทนกระแสไฟฟ้า มีหน่วยเป็น
แอมแปร์ (A)
• การคิดค่าไฟฟ้า คือ การคิดราคาพลังงานไฟฟ้าที่ถูกใช ้ไป
ตามอัตราที่การไฟฟ้ากาหนดซึ่งค่าไฟฟ้าจะคิดเป็น
กิโลวัตต์ชั่วโมง หรือหน่วย
• ปริมาณพลังงานที่ใช ้ขึ้นอยู่กับกาลังและเวลา เขียนเป็น
สมการ ได ้ดังนี้
W = Pt
เมื่อ W แทนพลังงานไฟฟ้า มีหน่วยเป็น
กิโลวัตต์ชั่วโมง (kWh)
P แทนกาลังไฟฟ้า มีหน่วยเป็น
กิโลวัตต์ (kw)
t แทนเวลา มีหน่วยเป็น
การคานวณค่าไฟฟ
้ า
ตัวอย่
าง
ตัวอย่
าง
ค่าไฟฟ
้ าฐาน
จานวนหน่วย หน่วยที่ ค่าพลังงานไฟฟ
้ า
(บาท/หน่วย)
5 หน่วยแรก 1-5 0
10 หน่วยต่อไป 6-15 1.3576
10 หน่วยต่อไป 16-25 1.5445
10 หน่วยต่อไป 26-35 1.7968
65 หน่วยต่อไป 36-100 2.1800
50 หน่วยต่อไป 101-150 2.2734
• แบบจดทะเบียนเป็ นผู้ใช้พลังงานไฟฟ้ าไม่เกิน 150 หน่วยต่อ
เดือน
อัตราค่าไฟฟ้ าเมื่อมีปริมาณการใช ้พลังงานไฟฟ้าไม่
เกิน 150 หน่วยต่อเดือน
• แบบจดทะเบียนเป็นผู้ใช ้พลังงานไฟฟ้าเกิน 150 หน่วย
ต่อเดือน
จานวนหน่วย หน่วยที่ ค่าพลังงานไฟฟ
้ า (บาท/
หน่วย)
150 หน่วยแรก 1-150 1.8047
250 หน่วยต่อไป 151-400 2.7781
เกิน 400 หน่วย
ขึ้นไป
401 เป็นต ้น 2.9780
อัตราค่าไฟฟ้าเมื่อมีปริมาณการใช ้พลังงานไฟฟ้า
เกินกว่า 150 หน่วยต่อเดือน
ค่าบริการรายเดือน
ประเภทที่อยู่อาศัย ถ้าหากใช ้ไฟฟ้ าไม่เกิน 150 หน่วย
ต่อเดือน จะเสียค่าบริการ 8.19 บาทต่อเดือน ถ้าเกิน
150 หน่วย
ต่อเดือน จะเสียค่าบริการ 40.90 บาทต่อเดือน
ค่าไฟฟ
้ าผันแปรหรืออัตราค่าไฟฟ
้ า
โดยอัตโนมัติ (Ft)
มีค่าไม่แน่นอน ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย
ภาษีมูลค่าเพิ่ม
คิดจากค่าไฟฟ้ าฐานรวมกับค่าไฟฟ้ าผันแปร
ในอัตราร ้อยละ 7
ตัวอย่
าง
• หลอดธรรมดาหรือ
หลอดแบบมีไส้: มี
ลักษณะเป็ นกระเปาะแก้วใส
ภายในมีไส้หลอดทาด้วย
โลหะทังสเตนกับออสเมีย
ขดเป็ นสปริง
• หลอดฟลูออเรสเซนต์
หรือหลอดนีออน: ภายใน
เป็ นสุญญากาศ บรรจุไอ
ปรอทไว้เล็กน้อย ผิวด้านใน
ฉาบด้วยสารเรืองแสง
เครื่องใช้ไฟฟ
้ าที่ให้พลังงานแสงสว่าง
การใช้เครื่องใช้ไฟฟ
้ าในบ้านอย่าง
ประหยัดและปลอดภัย
ไส้
หลอด
แก๊สไนโตรเจน และ
อาร ์กอน
ก้านยึดไส้
หลอด
ขั้วต่อ
ไฟ
กระเปาะ
แก้ว
วิธีเลือกใช้หลอดไฟฟ
้ าอย่างประหยัดและ
ปลอดภัย
• เลือกหลอดไฟชนิดประหยัดไฟ และมี
ระยะเวลาใช ้งานนาน
• เลือกหลอดไฟที่มีกาลังวัตต์เหมาะสมกับการ
ใช ้งาน
• ในบริเวณที่ต ้องการความสว่างมาก ควร
เลือกใช ้หลอดฟลูออเรสเซนต์
• เปิดไฟเฉพาะบริเวณที่ต ้องการ และปิดไฟทุก
ครั้งเมื่อเลิกใช ้งาน
เตารีด
• ระมัดระวังไม่ให ้ความร ้อน
จากเตารีดสัมผัสกับ
สายไฟฟ้า
• หมั่นตรวจสอบที่หุ้มสายของ
เตารีด
• ควรรีดผ ้าครั้งละมากๆ
เครื่องใช้ไฟฟ
้ าที่ให้พลังงานความร้อน
กาต้มน้าไฟฟ
้ า
• ควรใส่น้าให ้พอเหมาะกับ
ความต ้องการ
• ไม่ควรวางใกล ้วัตถุติดไฟ
• ตรวจสอบสายไฟอยู่เสมอ
• เมื่อเลิกใช ้ควรถอดปลั๊กทันที
ตู้เย็น
• เลือกซื้อตู้เย็นที่มีสลากประหยัดไฟ
เบอร์ 5
• ไม่นาของร ้อนใส่ในตู้เย็นเพราะทา
ให ้กินไฟมาก
• ควรหมั่นทาละลายน้าแข็งออก
เครื่องใช้ไฟฟ
้ าที่ให้พลังงานกล
เครื่องปรับอากาศ
• เลือกเครื่องปรับอากาศที่มีสลากประหยัด
ไฟเบอร์ 5
• ขณะเปิดใช ้งานควรปิดประตูหรือหน้าต่าง
ให ้สนิท
• หมั่นตรวจสอบและทาความสะอาดแผ่น
กรองอากาศ
• เลือกขนาดให ้เหมาะสมกับห ้อง
เครื่องซักผ้า
• เลือกขนาดให ้เหมาะสมกับ
การใช ้งาน
• ไม่ใส่ผ ้าอัดแน่นเกินกาลัง
ของเครื่อง
• ไม่ควรวางเครื่องซักผ ้าใน
พื้นที่ที่เปียกง่าย
• ไม่ควรซักผ ้าครั้งละจานวน
น้อยเกินไป
• ดึงปลั๊กออกทันทีเมื่อเลิกใช ้
งาน
วิทยุ
• ปิดวิทยุในช่วงที่สภาพอากาศแปรปรวน มีฝนฟ้าคะนอง
• เปิดเสียงให ้ดังแต่พอควร หากเปิดดังเกินไปอาจทาให ้
ลาโพงเกิดความเสียหาย
• ไม่วางวิทยุในที่เปียกชื้น
• เมื่อเลิกใช ้งานควรปิดวิทยุ และดึงปลั๊กออกทุกครั้ง
เครื่องใช้ไฟฟ
้ าที่ให้พลังงานเสียง
การต่อวงจรไฟฟ
้ าในบ้าน
การต่อวงจรไฟฟ
้ าแบบอนุกรม
• เป็นการต่ออุปกรณ์ต่างๆ ในวงจรเรียงกันเป็น
สายเดียว
• กระแสไฟฟ้าจะไหลในทิศทางเดียวกัน
ตลอด
• หากหลอดไฟฟ้าหลอดหนึ่งเสีย จะทาให ้
ไฟฟ้าทั้งวงจรดับทั้งหมด
การต่อวงจรไฟฟ
้ า
ผลของการต่อหลอดไฟฟ
้ าแบบอนุกรม
• ความต ้านทานรวมของหลอดไฟฟ้าจะเพิ่มขึ้นตามจานวน
หลอดไฟฟ้าที่นามาต่อกัน
Rรวม = R1 + R2 + …
Iรวม = I1 = I2
Vรวม = V1 + V2 + …
• ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างปลายของหลอดไฟฟ้าแต่ละ
อัน จะขึ้นอยู่กับความต ้านทานหรือกาลังไฟฟ้าของหลอด
ไฟฟ้าแต่ละหลอด ส่วนความต่างศักย์ไฟฟ้ารวมจะเท่ากับ
ความต่างศักย์ของแหล่งจ่ายพลังงานไฟฟ้า
• กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านในวงจรจะมีค่า
เท่ากันตลอดวงจร
การต่อวงจรไฟฟ
้ าแบบขนาน
• เป็นการต่อวงจรไฟฟ้า โดยที่กระแสไฟฟ้ามีการแยกไหล
ออกได ้หลายทาง และ
ช่วงสุดท ้ายจะไหลมารวมกัน
• เมื่อหลอดไฟฟ้าหลอดใดหลอดหนึ่งเสีย จะไม่มี
กระแสไฟฟ้าเฉพาะวงจรของหลอดไฟที่เสียเท่านั้น
ผลของการต่อหลอดไฟฟ
้ าแบบขนาน
• ความต ้านทานรวมของหลอดไฟฟ้าจะน้อยลงและน้อย
กว่าความต ้านทานที่น้อยที่สุดในวงจรไฟฟ้า
Iรวม = I1 + I2 + …
Vรวม = V1 = V2
1/Rรวม = 1/R1 + 1/R2 +
…
• ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างปลายทั้งสองของหลอด
ไฟฟ้าแต่ละหลอดจะเท่ากัน และเท่ากับความต่าง
ศักย์ไฟฟ้ารวม
• กระแสไฟฟ้าไหลผ่านหลอดไฟฟ้าแต่ละหลอดไม่
เท่ากัน โดยกระแสไฟฟ้ารวมจะเท่ากับผลบวกของ
กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านหลอดไฟฟ้าแต่ละหลอด
สายไฟ
เป็นตัวนา
ไฟฟ้าที่ยอมให ้
กระแสไฟฟ้า
ผ่านไปได ้ทา
ด ้วยโลหะซึ่ง
ส่วนใหญ่เป็น
ทองแดง และมี
ฟิ วส์
ทาจากตะกั่ว
ผสมดีบุกและ
บิสมัทเล็กน้อย มี
จุดหลอมละลาย
ต่า ซึ่งเมื่อเกิด
ไฟฟ้าลัดวงจร
ฟิวส์จะขาดซึ่ง
่
สะพานไฟ
เป็นอุปกรณ์
สาหรับ
ตัดหรือต่อ
วงจรไฟฟ้า
ตัวสะพานทาด ้วย
โลหะ
มีฉนวนกระเบื้อง
อุปกรณ์ที่ใช้ในวงจรไฟฟ
้ า
สวิตช์
เป็นอุปกรณ์ตัดหรือต่อวงจรไฟฟ้า
ในส่วนที่ต ้องการ
เต้ารับและเต้าเสียบ
เป็นอุปกรณ์ที่จะนา
กระแสไฟฟ้าเข ้าสู่
เครื่องใช ้ไฟฟ้าเพื่อให ้สามารถ
ทางานได ้
เต ้าเสียบมี 2 แบบ ได ้แก่
• แบบ 2 ขา จะใช ้กับเต ้ารับ
2 ช่อง
• แบบ 3 ขา จะใช ้กับเต ้ารับ
เครื่องมัลติมิเตอร์ ไขควงตรวจสอบไฟฟ้า
เครื่องมือตรวจสอบในวงจรไฟฟ
้ า
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทาหน้าที่ลดปริมาณ
กระแสไฟฟ้า
ตัวต้านทานชนิดค่าคงที่
ส่วนใหญ่จะมีลักษณะเป็น
ทรงกระบอก บริเวณปลายทั้ง
สองข ้างมีขาที่ทาด ้วยโลหะ
ซึ่งเป็นสารผสมระหว่างดีบุกกับ
ทองแดง
การวัดค่าความต ้านทาน
สามารถวัดโดยใช ้โอห์มมิเตอร์
และการอ่านแถบสีที่ปรากฏบน
ตัวต ้านทาน
ตัวต้านทาน
ค่าแถบสีของตัว
ต ้านทาน
แถบสี ตัวเลข
เทียบค่า
ตัวคูณ ความคลาด
เคลื่อน
ดา 0 100 = 1 -
น้าตาล 1 101 = 10 -
แดง 2 102 = 100 -
ส ้ม 3 103 = 1,000 -
เหลือง 4 104 = 10,000 -
เขียว 5 105 =
100,000
-
น้าเงิน 6 106 =
1,000,000
-
ม่วง 7 107 =
10,000,0000
-
เทา 8 108 =
100,000,000
-
ขาว 9 109 = -
ตัวอย่าง
ตัวต้านทานชนิดปรับค่าได้ หรือ
รีโอสแตต
สามารถปรับค่าความต้านทานได้ตาม
ต้องการ ซึ่งนิยมใช้ในเครื่องใช้ไฟฟ้ าหลาย
ชนิด เช่น ปุ่มปรับความดังของวิทยุ
ตัวต้านทานไวความร้อน
มีค่าความต้านทานเปลี่ยนไปตาม
อุณหภูมิ นิยมใช้เป็ นตัวต้านทานใน
เครื่องเตือนอัคคีภัย ไมโครเวฟ
ตัวต้านทานไวแสง
• เปลี่ยนค่าความต ้านทานเมื่อความเข ้มแสงที่ตกกระทบ
เปลี่ยนไป โดยเมื่อมีแสงหรือ ความเข ้มแสงมากขึ้น ความ
ต ้านทานจะมีค่าเพิ่มขึ้น
• นิยมนามาใช ้ในเครื่องวัดแสงของกล ้องถ่ายรูป และเป็นตัว
ต ้านทานในสวิตช์ปิด-เปิดไฟอัตโนมัติ
• เป็ นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ยอมให้กระแสไฟฟ้ าไหลผ่านทาง
เดียว
• ทาจากสารกึ่งตัวนา 2 ชนิด คือ ชนิดพี (p หรือ +) และชนิด
เอ็น (n หรือ -)
• ประกอบด้วยขั้ว 2 ขั้ว คือ ขั้วบวกซึ่งต่อกับสารกึ่งตัวนาชนิด
p และขั้วลบซึ่งต่อกับสารกึ่งตัวนาชนิด n
• ไดโอดธรรมดา : เป็ นตัวควบคุมให้กระแสไฟฟ้ าไหลไปใน
ทิศทางเดียว
• ไดโอดเปล่งแสง : เป็ นไดโอดที่สามารถเปล่งแสงออกมาเมื่อ
ได้รับกระแสไฟฟ้ า
ไดโอด
• สามารถนาไปใช้ประโยชน์แทนหลอด
สุญญากาศได้
• โครงสร ้างประกอบด้วยสารกึ่งตัวนา 3
ชั้น คือ เบส คอลเล็กเตอร ์ และ
อิมิตเตอร ์ จึงทาให้ทรานซิสเตอร ์
มี 3 ขา
• เป็ นการนาทรานซิสเตอร ์มาบัดกรีไว้
กับชิ้นส่วนอิเล็ กทรอนิ กส์และ
ส่วนประกอบทางไฟฟ้ าอื่นๆ ซึ่งทา
เป็ นแผงวงจร
ทรานซิสเตอร ์
ซิลิคอนชิป
การต่อวงจรอิเล็กทรอนิกส์
การต่อวงจรตัวต้านทาน
ต้องต่อแบบอนุกรม ซึ่งตัวต้านทานจะ
ควบคุมปริมาณ
การไหลของกระแสไฟฟ้ าในวงจร
การต่อวงจรไดโอดธรรมดา
ต้องต่อตามทิศทางการไหลของ
กระแสไฟฟ้ า
จึงจะทาให้กระแสไฟฟ้ าไหลผ่านวงจร
ไดโอด
การต่อวงจรไดโอดเปล่งแสง
ต้องต่อตัวต้านทานไว้ในวงจรด้วย เพื่อ
ลดปริมาณกระแสไฟฟ้ าให้ไหลผ่านไดโอด
ในปริมาณที่พอเหมาะ
การต่อวงจรอิเล็กทรอนิกส์
การต่อวงจรทรานซิสเตอร ์
เมื่อขาเบสไม่มี
กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน ทา
ให ้ขาคอลเล็กเตอร์และขา
อิมิตเตอร์ ไม่มี
กระแสไฟฟ้าไหลออก
หลอดไฟ จึงไม่สว่าง
เมื่อขาเบสมีกระแสไฟฟ้าไหล
ผ่าน ทาให ้ขาคอลเล็กเตอร์
และขาอิมิตเตอร์มี
กระแสไฟฟ้าไหลออก
หลอดไฟจึงสว่าง
ประโยชน์ของอิเล็กทรอนิกส์
• เป็นอุปกรณ์ในเครื่องเตือนภัย
• เป็นสวิตช์ปรับความดังหรือความเร็ว
• เป็นสวิตช์เปิด-ปิดไฟอัตโนมัติ
• ใช ้เป็นอุปกรณ์ป้องกันชิ้นส่วน
อิเล็กทรอนิกส์
• ใช ้เป็นตัวแสดงผลของวงจรไฟฟ้า
ประโยชน์ของตัวต้านทาน
ประโยชน์ของไดโอด
• เป็นวงจรขยายในเครื่องรับวิทยุและเครื่องรับ
โทรทัศน์
• เป็นสวิตซ์เปิด-ปิด เพื่อควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้า
- เป็นสวิตช์เปิด เมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลเข ้าที่
ขาเบสของทรานซิสเตอร์
- เป็นสวิตช์ปิด เมื่อไม่มีกระแสไฟฟ้าไหลเข ้า
ที่ขาเบสของทรานซิสเตอร์
ประโยชน์ของทรานซิสเตอร ์
• ความต่างศักย์ไฟฟ้ า คือ ความแตกต่างของพลังงานไฟฟ้ า
ระหว่างจุด 2 จุด
ซึ่งทาให้เกิดกระแสไฟฟ้ าขึ้น
• กระแสไฟฟ้ า จะเกิดขึ้นเมื่อมีความต่างศักย์ไฟฟ้ าต่างกัน 2
บริเวณ
• ความต้านทานไฟฟ้ า หมายถึง สมบัติของตัวนาไฟฟ้ าที่ยอมให้
กระแสไฟฟ้ าผ่านไปได้มากหรือน้อย
• กาลังไฟฟ้ า คือ ค่าของพลังงานที่ถูกใช ้ไปใน 1 วินาที มีหน่วย
เป็ นวัตต์
• ตัวต้านทาน เป็ นอุปกรณ์ที่ช่วยลดปริมาณกระแสไฟฟ้ า
• ไดโอด เป็ นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ยอมให้กระแสไฟฟ้ าไหล
สรุปทบทวนประจาหน่วยการเรียนรู ้ที่ 6

More Related Content

What's hot

เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก Suparat2804
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงานPinutchaya Nakchumroon
 
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิกใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิกPat Jitta
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงWann Rattiya
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยาSircom Smarnbua
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะPinutchaya Nakchumroon
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
ความรู้เบื้องต้นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ความรู้เบื้องต้นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ความรู้เบื้องต้นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ความรู้เบื้องต้นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์jee2002
 
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)Chinnawat Charoennit
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์Chanthawan Suwanhitathorn
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2Weerachat Martluplao
 
การสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชการสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชchiralak
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีPreeyapat Lengrabam
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5Wichai Likitponrak
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1Wuttipong Tubkrathok
 

What's hot (20)

เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
 
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิกใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
ความรู้เบื้องต้นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ความรู้เบื้องต้นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ความรู้เบื้องต้นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ความรู้เบื้องต้นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
 
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2
 
การสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชการสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืช
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 

Similar to อจท.วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2 หน่วยที่ 6.pptx

พลังงานไฟฟ้า เส๊ด
พลังงานไฟฟ้า เส๊ดพลังงานไฟฟ้า เส๊ด
พลังงานไฟฟ้า เส๊ดpanawan306
 
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดีเอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดีtearchersittikon
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้าเรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2MaloNe Wanger
 
ข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคkhunJang Jop Jop
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1MaloNe Wanger
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305parm305
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305parm305
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305parm305
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305parm305
 
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1yasotornrit
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า1560100453451
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าwongteamjan
 

Similar to อจท.วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2 หน่วยที่ 6.pptx (20)

ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
พลังงานไฟฟ้า เส๊ด
พลังงานไฟฟ้า เส๊ดพลังงานไฟฟ้า เส๊ด
พลังงานไฟฟ้า เส๊ด
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดีเอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
Random 111229101649-phpapp01
Random 111229101649-phpapp01Random 111229101649-phpapp01
Random 111229101649-phpapp01
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
 
ข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาค
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
 
ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305
 
ใบความรู้.05
ใบความรู้.05ใบความรู้.05
ใบความรู้.05
 
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 

อจท.วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2 หน่วยที่ 6.pptx