SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
วิชา ฟิสิกส์ ข้อที่ 23 -31
สหวิทยาเขต 4 สพม.เขต 26
ข้อ 23 . ธาตุกัมมันตรังสีธรรมชาติ X มีครึ่งชีวิตเท่ากับ
5,000 ปี นักธรณีวิทยาค้นพบซากของสัตว์โบราณที่มี
ปริมาณธาตุกัมมันตรังสี X เหลืออยู่เพียง 6.25% ของ
ปริมาณเริ่มต้น สัตว์โบราณนี้มีชีวิตโดยประมาณเมื่อกี่ปีมาแล้ว
1. 10,000 ปี 2. 15,000 ปี
3. 20,000 ปี 4. 25,000 ปี
วิเคราะห์ข้อ 23. สาระที่ 5 พลังงาน
มาตรฐาน ว 5.1
ตัวชี้วัดที่ 9
เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์ (การหาครึ่งชีวิตของธาตุ)
แนวคิดในการตอบ ตอบข้อ 3. 20,000 ปี
การหาช่วงครึ่งชีวิตของกัมมันตรังสี จาก 100 – 50 – 25 - 12.5
- 6.25 ได้ช่วงครึ่งชีวิตทั้งหมด 4 ช่วง
ธาตุกัมมันตรังสีธรรมชาติ X มีครึ่งชีวิตเท่ากับ 5,000 ปี x 4 ช่วง
= 20,000 ปี
แนวคิดเพิ่มเติม
24. วัตถุอันหนึ่งเมื่ออยู่บนโลกที่มีสนามโน้มถ่วง g พบว่า
มีน้าหนักเท่ากับ W1 ถ้านาวัตถุนี้ไปไว้บนดาวเคราะห์อีก
ดวงพบว่ามีน้าหนัก W2 จงหามวลของวัตถุนี้
1. W1/g 2. W2/g
3. (W1 + W2)/g 4. (W1 + W2)/2g
วิเคราะห์ข้อ 24.
สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่
มาตรฐาน ว 4.1
ตัวชี้วัดที่ 1
เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง แรงโน้มถ่วง
แนวคิดในการตอบ ตอบข้อ 1. W1/g
จาก W=mg
บนโลก W1=mg
m = W1/g
มวล (m) มีค่าคงที่ไม่เปลี่ยนแปลง
ข้อ 25. วางเข็มทิศอันหนึ่งบนโต๊ะ เข็มทิศชี้ขึ้นในลักษณะดังรูป
ถ้านาประจุบวกไปวางไว้ทางด้านซ้ายของเข็มทิศ จะเกิดอะไรขึ้น
1. เข็มทิศชี้ไปทางขวา 2. เข็มทิศชี้ไปทางซ้าย
3. เข็มทิศชี้ลง 4. เข็มทิศชี้ทางเดิม
เอกสารเพิ่มเติม
วิเคราะห์ข้อ 25.
สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่
มาตรฐาน ว 4.1
ตัวชี้วัดที่ 4
เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง แรงนิวเคลียร์
แนวคิดในการตอบ
ตอบข้อ 4. เข็มทิศชี้ทางเดิม
ประจุไฟฟ้าไม่มีผลต่อเข็มทิศ ทาให้เข็มทิศชี้ทางเดิม
(แต่มีผลใสนามแม่เหล็ก)
http://www.il.mahidol.ac.th/e-
media/electromagnetism/sub_lesson/8_2.htm
26. โปรตอนและนิวตรอนสามารถอยู่รวมกันเป็นนิวเคลียสได้
ด้วยแรงใด
1. แรงดึงดูดระหว่างมวล 2. แรงไฟฟ้า
3. แรงแม่เหล็ก 4. แรงนิวเคลียร์
วิเคราะห์ข้อ 26 สาระที่ 4 มาตรฐาน ว 4.1 ตัวชี้วัดที่ 4
เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง แรงนิวเคลียร์
แนวคิดในการตอบ ตอบข้อ 4. แรงนิวเคลียร์
นิวคลีออนในนิวเคลียสยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงนิวเคลียร์ ซึ่งมีค่ามากกว่า
แรงผลักทางไฟฟ
้ าระหว่างนิวคลีออน นิวคลีออนจึงอยู่รวมกันใน
นิวเคลียสได้
27. ในรูปซ้าย A และ B คือเส้นทางการเคลื่อนที่ของ
อนุภาค 2 อนุภาคที่ถูกยิงมาจากจุด P ไปทางขวาเข้าไปใน
บริเวณที่มีสนามแม่เหล็ก (ดูในรูปซ้าย) ถ้านาอนุภาคทั้งสอง
ไปวางลงในบริเวณที่มีสนามไฟฟ้าดังรูปขวา จะเกิดอะไรขึ้น
1. A เคลื่อนที่ไปทางขวา ส่วน B เคลื่อนที่ไปทางซ้าย
2. A เคลื่อนที่ไปทางซ้าย ส่วน B เคลื่อนที่ไปทางขวา
3. ทั้ง A และ B ต่างเคลื่อนที่ไปทางขวา
4. ทั้ง A และ B ต่างเคลื่อนที่ไปทางซ้าย
สาระที่ 4 มาตรฐาน. ว 4.1 ตัวชี้วัดที่ 3
• เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง แรงกระทาต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า
• แนวคิดในการตอบ จากหลักการเคลื่อนที่ของประจุในสนามแม่เหล็ก ที่กล่าวว่า
เมื่อประจุวิ่งเข้าไปในสนามแม่เหล็ก ถ้าประจุใดเป็นบวกจะมีพุ่งขึ้นส่วน
ประจุใดที่เป็นลบจะพุ่งลง จากภาพ ประจุ A พุ่งขึ้นจึงสรุปได้ว่า A เป็นประจุบวก
ส่วน B พุ่งลงจึงสรุปได้ว่า B เป็นประจุลบ และเมื่อนาประจุดังกล่าวมาเคลื่อนที่
ในสนามไฟฟ้า จะเห็นว่า A พุ่งไปทางขวา ส่วน B พุ่งไป
28. ยิงอนุภาคอิเล็กตรอนเข้าไปในแนวตั้งฉากกับ
สนามไฟฟ้าสม่าเสมอที่มีทิศพุ่งออกจากกระดาษ เส้นทาง
การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนจะเป็นอย่างไร ( g แทนทิศ
สนามไฟฟ้าพุ่งออกและตั้งฉากกับกระดาษ)
1. เบนขึ้น
2. เบนลง
3. เบนพุ่งออกจากกระดาษ
4. เบนพุ่งเข้าหากระดาษ
ข้อ 28 สาระที่ 4 มาตรฐาน ว 4.1 ตัวชี้วัดที่ 3
เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง แรงกระทาต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ
้ า
แนวคิดในการตอบ อิเล็กตรอนวิ่งเข้าสนามไฟฟ
้ าที่
มีทิศพุ่งออกทาให้ทิศของอิเล็กตรอนมีทิศพุ่งเข้าหากระดาษ
ข้อ 30
สาระที่ 4 มาตรฐาน .ว 4.2
ตัวชี้วัดที่1
เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง การเคลื่อนที่ในแนวตรง
แนวคิดในการตอบ พิจารณาทิศทางการเคลื่อนที่
ข้อ 30 สาระที่.4 มาตรฐานว 4.2 ตัวชี้วัดที่ 1
เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง การเคลื่อนที่ในแนวตรง
แนวคิดในการตอบ พิจารณาถึงปริมาณที่อยู่บนแกนของกราฟ

More Related Content

More from นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม

More from นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม (20)

เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
 
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558
 
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
 
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน
รายงานสรุปการปฏิบัติงานรายงานสรุปการปฏิบัติงาน
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน
 
การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016
การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016
การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016
 
การบันทึกผลการเรียนออนไลน์
การบันทึกผลการเรียนออนไลน์การบันทึกผลการเรียนออนไลน์
การบันทึกผลการเรียนออนไลน์
 
Pressure
PressurePressure
Pressure
 
ไข้เลือดออก (Dengue)
ไข้เลือดออก (Dengue)ไข้เลือดออก (Dengue)
ไข้เลือดออก (Dengue)
 
ความหนาแน่น (Density)
ความหนาแน่น (Density)ความหนาแน่น (Density)
ความหนาแน่น (Density)
 
การนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
 
สรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
 
Courseoutlinephysicsm6t2p57
Courseoutlinephysicsm6t2p57Courseoutlinephysicsm6t2p57
Courseoutlinephysicsm6t2p57
 
Courseoutlinephysicsm4t2p57
Courseoutlinephysicsm4t2p57Courseoutlinephysicsm4t2p57
Courseoutlinephysicsm4t2p57
 
Aimphysicsm6t2p57
Aimphysicsm6t2p57Aimphysicsm6t2p57
Aimphysicsm6t2p57
 
Aimphysicsm4t2p57
Aimphysicsm4t2p57Aimphysicsm4t2p57
Aimphysicsm4t2p57
 
WHAT IS PISA 4
WHAT IS PISA 4WHAT IS PISA 4
WHAT IS PISA 4
 
WHAT IS PISA 3
WHAT IS PISA 3WHAT IS PISA 3
WHAT IS PISA 3
 
WHAT IS PISA? #2
WHAT IS PISA? #2WHAT IS PISA? #2
WHAT IS PISA? #2
 
What is PISA
What is PISAWhat is PISA
What is PISA
 
สมการการเคลื่อนที่แนวตรง
สมการการเคลื่อนที่แนวตรงสมการการเคลื่อนที่แนวตรง
สมการการเคลื่อนที่แนวตรง
 

วิเคราะห์ข้อสอบ O-Net ชุดที่ 4

  • 1. การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net วิชา ฟิสิกส์ ข้อที่ 23 -31 สหวิทยาเขต 4 สพม.เขต 26
  • 2. ข้อ 23 . ธาตุกัมมันตรังสีธรรมชาติ X มีครึ่งชีวิตเท่ากับ 5,000 ปี นักธรณีวิทยาค้นพบซากของสัตว์โบราณที่มี ปริมาณธาตุกัมมันตรังสี X เหลืออยู่เพียง 6.25% ของ ปริมาณเริ่มต้น สัตว์โบราณนี้มีชีวิตโดยประมาณเมื่อกี่ปีมาแล้ว 1. 10,000 ปี 2. 15,000 ปี 3. 20,000 ปี 4. 25,000 ปี
  • 3. วิเคราะห์ข้อ 23. สาระที่ 5 พลังงาน มาตรฐาน ว 5.1 ตัวชี้วัดที่ 9 เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์ (การหาครึ่งชีวิตของธาตุ) แนวคิดในการตอบ ตอบข้อ 3. 20,000 ปี การหาช่วงครึ่งชีวิตของกัมมันตรังสี จาก 100 – 50 – 25 - 12.5 - 6.25 ได้ช่วงครึ่งชีวิตทั้งหมด 4 ช่วง ธาตุกัมมันตรังสีธรรมชาติ X มีครึ่งชีวิตเท่ากับ 5,000 ปี x 4 ช่วง = 20,000 ปี แนวคิดเพิ่มเติม
  • 4. 24. วัตถุอันหนึ่งเมื่ออยู่บนโลกที่มีสนามโน้มถ่วง g พบว่า มีน้าหนักเท่ากับ W1 ถ้านาวัตถุนี้ไปไว้บนดาวเคราะห์อีก ดวงพบว่ามีน้าหนัก W2 จงหามวลของวัตถุนี้ 1. W1/g 2. W2/g 3. (W1 + W2)/g 4. (W1 + W2)/2g
  • 5. วิเคราะห์ข้อ 24. สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่ มาตรฐาน ว 4.1 ตัวชี้วัดที่ 1 เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง แรงโน้มถ่วง แนวคิดในการตอบ ตอบข้อ 1. W1/g จาก W=mg บนโลก W1=mg m = W1/g มวล (m) มีค่าคงที่ไม่เปลี่ยนแปลง
  • 6. ข้อ 25. วางเข็มทิศอันหนึ่งบนโต๊ะ เข็มทิศชี้ขึ้นในลักษณะดังรูป ถ้านาประจุบวกไปวางไว้ทางด้านซ้ายของเข็มทิศ จะเกิดอะไรขึ้น 1. เข็มทิศชี้ไปทางขวา 2. เข็มทิศชี้ไปทางซ้าย 3. เข็มทิศชี้ลง 4. เข็มทิศชี้ทางเดิม เอกสารเพิ่มเติม
  • 7. วิเคราะห์ข้อ 25. สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่ มาตรฐาน ว 4.1 ตัวชี้วัดที่ 4 เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง แรงนิวเคลียร์ แนวคิดในการตอบ ตอบข้อ 4. เข็มทิศชี้ทางเดิม ประจุไฟฟ้าไม่มีผลต่อเข็มทิศ ทาให้เข็มทิศชี้ทางเดิม (แต่มีผลใสนามแม่เหล็ก) http://www.il.mahidol.ac.th/e- media/electromagnetism/sub_lesson/8_2.htm
  • 8. 26. โปรตอนและนิวตรอนสามารถอยู่รวมกันเป็นนิวเคลียสได้ ด้วยแรงใด 1. แรงดึงดูดระหว่างมวล 2. แรงไฟฟ้า 3. แรงแม่เหล็ก 4. แรงนิวเคลียร์ วิเคราะห์ข้อ 26 สาระที่ 4 มาตรฐาน ว 4.1 ตัวชี้วัดที่ 4 เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง แรงนิวเคลียร์ แนวคิดในการตอบ ตอบข้อ 4. แรงนิวเคลียร์ นิวคลีออนในนิวเคลียสยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงนิวเคลียร์ ซึ่งมีค่ามากกว่า แรงผลักทางไฟฟ ้ าระหว่างนิวคลีออน นิวคลีออนจึงอยู่รวมกันใน นิวเคลียสได้
  • 9. 27. ในรูปซ้าย A และ B คือเส้นทางการเคลื่อนที่ของ อนุภาค 2 อนุภาคที่ถูกยิงมาจากจุด P ไปทางขวาเข้าไปใน บริเวณที่มีสนามแม่เหล็ก (ดูในรูปซ้าย) ถ้านาอนุภาคทั้งสอง ไปวางลงในบริเวณที่มีสนามไฟฟ้าดังรูปขวา จะเกิดอะไรขึ้น
  • 10. 1. A เคลื่อนที่ไปทางขวา ส่วน B เคลื่อนที่ไปทางซ้าย 2. A เคลื่อนที่ไปทางซ้าย ส่วน B เคลื่อนที่ไปทางขวา 3. ทั้ง A และ B ต่างเคลื่อนที่ไปทางขวา 4. ทั้ง A และ B ต่างเคลื่อนที่ไปทางซ้าย สาระที่ 4 มาตรฐาน. ว 4.1 ตัวชี้วัดที่ 3 • เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง แรงกระทาต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า • แนวคิดในการตอบ จากหลักการเคลื่อนที่ของประจุในสนามแม่เหล็ก ที่กล่าวว่า เมื่อประจุวิ่งเข้าไปในสนามแม่เหล็ก ถ้าประจุใดเป็นบวกจะมีพุ่งขึ้นส่วน ประจุใดที่เป็นลบจะพุ่งลง จากภาพ ประจุ A พุ่งขึ้นจึงสรุปได้ว่า A เป็นประจุบวก ส่วน B พุ่งลงจึงสรุปได้ว่า B เป็นประจุลบ และเมื่อนาประจุดังกล่าวมาเคลื่อนที่ ในสนามไฟฟ้า จะเห็นว่า A พุ่งไปทางขวา ส่วน B พุ่งไป
  • 11. 28. ยิงอนุภาคอิเล็กตรอนเข้าไปในแนวตั้งฉากกับ สนามไฟฟ้าสม่าเสมอที่มีทิศพุ่งออกจากกระดาษ เส้นทาง การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนจะเป็นอย่างไร ( g แทนทิศ สนามไฟฟ้าพุ่งออกและตั้งฉากกับกระดาษ) 1. เบนขึ้น 2. เบนลง 3. เบนพุ่งออกจากกระดาษ 4. เบนพุ่งเข้าหากระดาษ
  • 12. ข้อ 28 สาระที่ 4 มาตรฐาน ว 4.1 ตัวชี้วัดที่ 3 เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง แรงกระทาต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ ้ า แนวคิดในการตอบ อิเล็กตรอนวิ่งเข้าสนามไฟฟ ้ าที่ มีทิศพุ่งออกทาให้ทิศของอิเล็กตรอนมีทิศพุ่งเข้าหากระดาษ
  • 13. ข้อ 30 สาระที่ 4 มาตรฐาน .ว 4.2 ตัวชี้วัดที่1 เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง การเคลื่อนที่ในแนวตรง แนวคิดในการตอบ พิจารณาทิศทางการเคลื่อนที่
  • 14. ข้อ 30 สาระที่.4 มาตรฐานว 4.2 ตัวชี้วัดที่ 1 เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง การเคลื่อนที่ในแนวตรง แนวคิดในการตอบ พิจารณาถึงปริมาณที่อยู่บนแกนของกราฟ