SlideShare a Scribd company logo
สารหรือยาที่อาจเป็นผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติหรือจากการสังเคราะห์ซึ่งเมื่อบุคคลใดเสพหรือได้รับเข้าไปในร่างกายซ้าๆ กันแล้วไม่ว่า ด้วยวิธี
ใดๆเป็นช่วงระยะๆ หรือนานติดต่อกันก็ตาม จะทาให้
1. บุคคลนั้นต้องตกอยู่ใต้อานาจหรือเป็นทาสของสิ่งนั้นทางด้านร่างกายและจิตใจ หรือจิตใจเพียงอย่างเดียว
2. ต้องเพิ่มปริมาณการเสพขึ้นเรื่อยๆหรือทา ให้สุขภาพของผู้เสพติดเสื่อมโทรมลง
3. เมื่อถึงเวลาอยากเสพแล้วไม่ได้เสพจะมีอาการผิดปกติทางด้านร่างกายและจิตใจ หรือเฉพาะทางด้านจิตใจเกิดขึ้นในผู้เสพ
ความหมายตามกฎหมาย
ยาเสพติดให้โทษ หมายความว่า สารเคมี หรือวัตถุชนิดใดๆ ซึ่งเมื่อเสพเข้าสู่ร่างกายไม่ว่าจะโดยรับประทานดม สูบฉีด หรือด้วยประการใดๆ
แล้ว ทาให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจในลักษณะสาคัญเช่นต้องเพิ่มขนาดการเสพเรื่อยๆ มีอาการถอนยาเมื่อขาดยามีความต้องการเสพทั้งทางร่างกายและ
จิตอย่างรุนแรงอยู่ตลอดเวลาและสุขภาพโดยทั่วไปจะทรุดโทรมลงกลับให้รวม
ถึงพืช หรือ ส่วนของพืชที่เป็น หรือให้ผลผลิตเป็นยาเสพติดให้โทษ หรืออาจใช้ผลิตเป็นยาเสพติดให้โทษและสารเคมีที่ใช้ใน
การผลิตยาเสพติดให้โทษดังกล่าวด้วย ทั้งนี้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขประกาศในราชกิจจานุเบกษาแต่ไม่หมายความ
ถึง ยาสาคัญประจาบ้านบางตารับตามที่กฎหมายว่าด้วยยาที่มียาเสพติดให้โทษผสมอยู่
ทางกฎหมาย
แบ่งเป็น 5 ประเภทตามพรบ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522
ประเภท 1 เช่น เฮโรอีน, แอมเฟตามีน (ยาม้า) และอนุพันธุ์,เมทแอมเฟตามีน(ยาบ้า),
เอ็มดีเอ็มเอ(ยาอี), เอ็มดีเอ (ยาเลิฟ) และ แอล เอส ดี เป็นต้น
ประเภท 2 เช่นฝิ่น, โคเคน, มอร์ฟีน,เมทาโดนและโคเดอีน เป็นต้น
ประเภท 3 เป็นยาสาเร็จรูปที่ได้รับอนุญาตให้จาหน่ายตามร้านขายยาได้ เช่น ยาแก้ไอที่มี
โคเดอีน,ยาแก้ท้องเสียที่มีไดเฟนอกซีน, ยาระงับปวดทั้งกินและ ฉีดที่มีสารกลุ่มฝิ่นผสมอยู่ เช่น
มอร์ฟีนฉีด เป็นต้น
ประเภท 4 เป็นน้ายาเคมีที่นามาใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษ
ประเภท 1 และ 2 ได้แก่ น้ายาเคมีอาเซติดแอนไฮไดรด์, อาเซติลคลอไรด์ใช้
เปลี่ยนมอร์ฟีนเป็นเฮโรอีน, สารเออร์โกเมทรีนและคลอซูโดอีเฟดรีน และสารตัว
อื่นๆที่นามาผลิตยาอีและยาบ้า
ประเภท 5 ได้แก่ พืชกัญชา,พืชกระท่อม,พืชฝิ่น และพืชเห็ดขี้ควาย
เป็นต้น
สารกลุ่มฝิ่นหรือออกฤทธิ์คล้ายฝิ่น ได้แก่ ฝิ่น,เฮโรอีน,มอร์ฟีน,โคเดอีน, เมทา
โดน รวมทั้งยาที่มีสารกลุ่มฝิ่นผสมอยู่ เช่น ยาเมา(แก้ไอ) เป็นต้น
ยานอนหลับและยากล่อมประสาท เช่น แวเลี่ยม, ดอร์มิกุ้ม, ซาแนกส์ เป็นต้น
ยากระตุ้นประสาทได้แก่ยากลุ่มแอมเฟตามีน (เช่นเมทแอมเฟตามีนหรือ
ยาบ้า),กระท่อม, โคเคน,บุหรี่,กาแฟและเครื่องดื่มชูกาลังฯลฯ
ทางการแพทย์ แบ่งสารเสพติด เป็น 7 ประเภท
ยาหลอนประสาท ได้แก่ แอลเอสดี, พีซีพี , เมสคารีน,ยาเค,เห็ดเมาและลาโพง ฯลฯ
ยาที่ออกฤทธิ์หลายอย่าง เช่น กัญชา,ยาอี
สารระเหยต่าง ๆ ได้แก่ สารไฮโดรคาร์บอนที่ใช้ในอุตสาหกรรมหรืองานไม้เช่น อาซี
โทน,โทลูอีน ฯลฯ และ ผลิตภัณฑ์ต่างๆเช่น ทินเนอร์, แลคเกอร์และกาวปะยาง เป็นต้น
แอลกอฮอล์ ได้แก่ บรั่นดี,VSOP,วิสกี้,เหล้า, เบียร์, กระแช่, อุ และข้าวหมาก
เป็นต้น
การติดยาทางใจ แสดงออกในรูปของความอยาก ลักษณะความเคย ชิน และ
พฤติกรรมการแสวงหายา ซึ่งเกี่ยวข้องกับ brain reward system
การติดยาทางจิตใจมีความสาคัญและเป็นปัญหาต่อการรักษามากกว่า การ
ติดยาทางกาย
มีการปรับเปลี่ยนในระบบประสาทเกิดขึ้น ซึ่งเป็นผลทาให้เกิดการ
ดื้อยา และการขาดยาตามมา
อย่างไรก็ตาม dependence นั้น สามารถเกิดขึ้นได้โดยไม่
จาเป็นต้อง มีการติดยาทางกายร่วมด้วย
เนื่องด้วยพิษภัยหรือโทษของสารเสพติดที่เกิดแก่ผู้หลงผิดไปเสพสารเหล่านี้เข้า ซึ่ง
เป็นโทษที่มองไม่เห็นชัด เปรียบเสมือนเป็นฆาตกรเงียบ ที่ทาลายชีวิตบุคคลเหล่านั้นลงไปทุก
วัน ก่อปัญหาอาชญากรรม ปัญหาสุขภาพ ก่อความเสื่อมโทรมให้แก่สังคมและบ้านเมืองอย่าง
ร้ายแรง เพราะสารเสพย์ติดทุกประเภทที่มีฤทธิ์เป็นอันตรายต่อร่างกายในระบบประสาท
สมอง ซึ่งเปรียบเสมือนศูนย์บัญชาการของร่างกายและชีวิตมนุษย์ การติดสารเสพติดเหล่านั้น
จึงไม่มีประโยชน์อะไรเกิดขึ้นแก่ร่างกายเลย แต่กลับจะเกิดโรคและพิษร้ายต่างๆ จนอาจทาให้
เสียชีวิต หรือ เกิดโทษและอันตรายต่อครอบครัว เพื่อนบ้าน สังคม และชุมชนต่างๆ ต่อไปได้
อีกมาก
สารเสพติดจะให้โทษโดยทาให้การปฏิบัติหน้าที่ ของอวัยวะส่วนต่างๆ ของร่างกายเสื่อมโทรม พิษ
ภัยของสารเสพย์ติดจะทาลายประสาท สมอง ทาให้สมรรถภาพเสื่อมลง มีอารมณ์ จิตใจไม่ปกติ เกิดการ
เปลี่ยนแปลงได้ง่าย เช่น วิตกกังวล เลื่อนลอยหรือฟุ้งซ่าน ทางานไม่ได้ อยู่ในภาวะมึนเมาตลอดเวลา อาจเป็น
โรคจิตได้ง่าย
ด้านบุคลิกภาพจะเสียหมด ขาดความสนใจในตนเองทั้งความประพฤติความสะอาดและ
สติสัมปชัญญะ มีอากัปกิริยาแปลกๆ เปลี่ยนไปจากเดิม
สภาพร่างกายของผู้เสพจะอ่อนเพลีย ซูบซีด หมดเรี่ยวแรง ขาดความกระปรี้กระเปร่าและเกียจคร้าน เฉื่อยชา
เพราะกินไม่ได้ นอนไม่หลับ ปล่อยเนื้อ ปล่อยตัวสกปรก ความเคลื่อนไหวของร่างกายและกล้ามเนื้อต่างๆ
ผิดปกติ
ทาลายสุขภาพของผู้ติดสารเสพติดให้ทรุดโทรมทุกขณะ เพราะระบบอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายถูก
พิษยาทาให้เสื่อมลง น้าหนักตัวลด ผิวคล้าซีด เลือดจางผอมลงทุกวัน
ระบบการบาบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด แบ่งเป็น 3 ระบบ ดังนี้
ระบบสมัครใจ หมายถึง การที่ผู้ติดยาเสพติดสมัครใจเข้ารับการบาบัดรักษา ในสถานพยาบาล
ต่าง ๆ ซึ่งดาเนินการรักษาทั้งระบบแพทย์แผนปัจจุบัน และแผนโบราณ
ระบบต้องโทษ หมายถึง การที่ผู้ติดยาเสพติดกระทาความผิดและถูกคุมขัง ต้องเข้ารับการ
บาบัดรักษาภายใต้กฎข้อบังคับของกฎหมาย เช่น ทัณฑสถานบาบัดพิเศษต่าง ๆ ของกรมราชทัณฑ์
กระทรวงมหาดไทย กรมคุมประพฤติ และสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน สังกัดศาลเยาวชนและ
ครอบครัวกลาง กระทรวงยุติธรรม
ระบบบังคับ หมายถึง การใช้กฎหมายบังคับให้ผู้ติดยาเสพติดเข้ารับการบาบัดรักษา ในศูนย์ฟื้นฟู
สมรรถภาพที่จัดตั้งขึ้น ตามพระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. 2534
ขั้นตอนการบาบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด แบ่งเป็น 4 ขั้นตอน คือ
ขั้นเตรียมการ (Pre-Admission) ความหมาย เป็นการศึกษาประวัติข้อมูล และภูมิ
หลังผู้ติดยาเสพติด ทั้งจากผู้ขอรับการรักษาและครอบครัว เพื่อชักจูงให้คาแนะนา และกระตุ้นให้ผู้ติดยา
เสพติด มีความตั้งใจในการรักษา
การดาเนินการ การสัมภาษณ์ การลงทะเบียนและวิธีการทางการแพทย์ ได้แก่ การตรวจร่างกาย เอกซเรย์
ตรวจเลือด ตรวจปัสสาวะ ชั่งน้าหนัก
ขั้นถอนพิษยา (Detoxification) ความหมาย การบาบัดอาการทางกาย ที่เกิดจาก
การใช้ยาเสพติด การดาเนินการ การให้ยาชนิดอื่นทดแทน เช่น เมธาโดน ยาสมุนไพรหรือให้เลิกเสพทันทีที่
เรียกว่า หักดิบ แบ่งเป็นการถอนพิษแบบผู้ป่วยนอก คือ ไม่ต้องค้างคืนในสถานพยาบาล แต่ต้อง
รับประทานยาตามเวลาที่กาหนด และแบบผู้ป่วยใน คือ การค้างคืนในสถานพยาบาล ซึ่งนอกจากจะถอน
พิษยาแล้ว ยังมีการรักษาโรคแทรกซ้อนต่าง ๆ รวมทั้งการให้ความรู้ด้วย เช่น การดูแลสุขภาพ การป้องกัน
โรค เป็นต้น
ขั้นตอนการฟื้นฟูสมรรถภาพ (Rehabillitation) ความหมาย เป็นการปรับสภาพ
ร่างกายและจิตใจ ของผู้เลิกยาให้มีความเข้มแข็ง ปรับเปลี่ยนบุคคลิกภาพและพฤติกรรม ให้สามารถ
กลับคืนสู่สังคมได้อย่างปกติ การดาเนินการ ใช้กิจกรรมต่าง ๆ ได้แก่ การให้คาแนะนาปรึกษา ทั้งเป็น
รายบุคคลและเป็นกลุ่ม การอบรมธรรมะ การสันทนาการ การฝึกอาชีพ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีรูปแบบ
อื่น ๆ เช่น การฟื้นฟูสมรรถภาพแบบ "ชุมชนบาบัด" ซึ่งเป็นการสร้างชุมชน หรือสังคมจาลองให้ผู้เลิกยา
เสพติดมาอยู่รวมกัน เพื่อให้การช่วยเหลือกันเลียนแบบแปลงพฤติกรรม ฝึกความรับผิดชอบการรู้จัก
ตนเอง และแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม เพื่อกลับไปดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติ และการฟื้นฟูจิตใจ
โดยใช้หลักศาสนา ได้แก่ การนาผู้เลิกยาเสพติดเข้ารับการอุปสมบท การศึกษาหลักธรรมทางศาสนา เป็น
ต้น
ขั้นการติดตามดูแล (After-Care) ความหมาย เป็นการติดตามดูแลผู้เลิกยาเสพติดที่
ผ่านการบาบัดรักษา ทั้ง 3 ขั้นตอน เพื่อให้คาแนะนาปรึกษา ให้กาลังใจ ทั้งนี้เพื่อมิให้หวนกลับไปเสพยา
ซ้าอีก การดาเนินการ การเยี่ยมเยียน โทรศัพท์ นัดพบ ใช้แบบสอบถามและการตรวจปัสสาวะหาสารเสพ
ติด
ประเทศไทยยังคงเผชิญกับปัญหายาเสพติดที่ผลิตมาจากแหล่งผลิตในพื้นที่สามเหลี่ยม
ทองคา โดยพื้นที่ ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือยังคงถูกใช้เป็นช่องทางในการลักลอบ
นาเข้ายาเสพติด ยาบ้า ยังเป็นตัวยาหลักที่มีการแพร่ระบาดในประเทศไทย และในขณะเดียวกัน
ประเทศไทยถูกใช้เป็น แหล่งพักยาเสพติดและเส้นทางลาเลียงผ่าน เพื่อส่งไอซ์เฮโรอีน และกัญชา
ไปยังประเทศที่สาม เฮโรอีน มีแนวโน้มการแพร่ระบาดเพิ่มสูงขึ้นในกลุ่มเด็กและเยาวชนในพื้นที่
กรุงเทพมหานคร และจังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มผู้ใช้ยาเสพติดมีแนวโน้มใช้คีตามีนมากขึ้น เห็นได้จาก
สถิติการจับกุมและผู้เข้าบาบัดรักษา ที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง
สานักงาน ปปส
สานักงาน ป.ป.ส.เป็นหน่วยงานกลางในการกาหนดยุทธศาสตร์และบริหารจัดการอย่างบูรณาการในการป้องกัน และ แก้ไขปัญหา
ยาเสพติด
สถาบันธัญญารักษ์
พัฒนา ถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยี ด้านการบาบัดรักษายาเสพติด ประสานความร่วมมือ เพื่อคืนคนดีสู่สังคม
ศูนย์วิชาการด้านยาเสพติด
เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์การทางานของนักวิจัย นักวิชาการ และ ผู้ปฏิบัติงานด้านยาเสพติดของหน่วยงาน ต่าง ๆ
ของประเทศไทย และประเทศในอนุภูมิภาค สามารถเข้าถึงบริการสารสนเทศ ในด้านองค์ความรู้ทางวิชาการ เพื่อป้องกัน และ แก้ไขปัญหายา
เสพติด ตลอดจนสามารถนาไปประยุกต์ให้การทางานประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
โครงการ TO BE NUMBER ONE
ซึ่งมีทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญาสิริวัฒนาพรรณวดี เป็นองค์ประธาน ซึ่งโครงการนี้เป็นโครงการที่รณรงค์และแก้ไข
ปัญหายาเสพติด รวมทั้งแก้ไขปัญหาต่างๆที่เป็นต้นตอของการเริ่มใช้สารเสพติด เช่น กิจกรรมศูนย์เพื่อนใจทูบี กิจกรรมใครติดยายกมือขึ้น
โครงการ D.A.R.E.
เป็นโครงการที่มีครูตารวจซึ่งได้เข้ารับการฝึกอบรมจากโครงการแดร์ เข้ามาให้ความรู้เรื่องยาเสพติดแก่นักเรียนในโรงเรียนต่างๆ
ตามเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ และยังมีการจัดกิจกรรมต่างๆภายใน เช่น การประกวดเขียนเรียงความแดร์ สะสมสติกเกอร์แดร์แลกของรางวัล กล่อง
แดร์
Work

More Related Content

What's hot

อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
ร้าน เคโอ สเต็กและกาแฟสด
 
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
Sambushi Kritsada
 
สิ่งเสพติด4
สิ่งเสพติด4สิ่งเสพติด4
สิ่งเสพติด4
linnoi
 
ความรู้เรื่องยาเสพติด
ความรู้เรื่องยาเสพติดความรู้เรื่องยาเสพติด
ความรู้เรื่องยาเสพติด
จ๊ะจ๋า ขอทาน
 
Advertising literacy
Advertising literacyAdvertising literacy
Advertising literacy
atit604
 

What's hot (18)

ปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติด
 
การช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติด
การช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติดการช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติด
การช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติด
 
การฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติด
การฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติดการฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติด
การฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติด
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
 
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
 
ยาเสพติดให้โทษ
ยาเสพติดให้โทษยาเสพติดให้โทษ
ยาเสพติดให้โทษ
 
งดบุหรี่สุราสารเสพติด
งดบุหรี่สุราสารเสพติดงดบุหรี่สุราสารเสพติด
งดบุหรี่สุราสารเสพติด
 
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
สิ่งเสพติด4
สิ่งเสพติด4สิ่งเสพติด4
สิ่งเสพติด4
 
ความรู้เรื่องยาเสพติด
ความรู้เรื่องยาเสพติดความรู้เรื่องยาเสพติด
ความรู้เรื่องยาเสพติด
 
บทที่2
บทที่2 บทที่2
บทที่2
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 
Advertising literacy
Advertising literacyAdvertising literacy
Advertising literacy
 
ปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติด
 
5555
55555555
5555
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 
ภูมิปัญญาด้านการรักษาโรค ป.2+534+55t2his p02 f08-1page
ภูมิปัญญาด้านการรักษาโรค ป.2+534+55t2his p02 f08-1pageภูมิปัญญาด้านการรักษาโรค ป.2+534+55t2his p02 f08-1page
ภูมิปัญญาด้านการรักษาโรค ป.2+534+55t2his p02 f08-1page
 

Similar to Work

ปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติด
chueng
 
ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1
Nooa Love
 
ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1
Nooa Love
 
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
taem
 
Topic Chronic Illness ทิว 27 ก.ค. 54
Topic Chronic Illness ทิว 27 ก.ค. 54Topic Chronic Illness ทิว 27 ก.ค. 54
Topic Chronic Illness ทิว 27 ก.ค. 54
Watcharapong Rintara
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
vveerapong
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
vveerapong
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
adriamycin
 
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดหลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
pluakdeang Hospital
 

Similar to Work (20)

ปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติด
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ยาเสพติด บทที่ 2
ยาเสพติด บทที่ 2ยาเสพติด บทที่ 2
ยาเสพติด บทที่ 2
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
 
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1
 
ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1
 
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
 
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ
 
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ
 
Topic Chronic Illness ทิว 27 ก.ค. 54
Topic Chronic Illness ทิว 27 ก.ค. 54Topic Chronic Illness ทิว 27 ก.ค. 54
Topic Chronic Illness ทิว 27 ก.ค. 54
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติด
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
 
โครงงาน เรื่อง สารเสพติด
โครงงาน เรื่อง สารเสพติด โครงงาน เรื่อง สารเสพติด
โครงงาน เรื่อง สารเสพติด
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
 
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดหลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
 

Work

  • 1.
  • 2. สารหรือยาที่อาจเป็นผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติหรือจากการสังเคราะห์ซึ่งเมื่อบุคคลใดเสพหรือได้รับเข้าไปในร่างกายซ้าๆ กันแล้วไม่ว่า ด้วยวิธี ใดๆเป็นช่วงระยะๆ หรือนานติดต่อกันก็ตาม จะทาให้ 1. บุคคลนั้นต้องตกอยู่ใต้อานาจหรือเป็นทาสของสิ่งนั้นทางด้านร่างกายและจิตใจ หรือจิตใจเพียงอย่างเดียว 2. ต้องเพิ่มปริมาณการเสพขึ้นเรื่อยๆหรือทา ให้สุขภาพของผู้เสพติดเสื่อมโทรมลง 3. เมื่อถึงเวลาอยากเสพแล้วไม่ได้เสพจะมีอาการผิดปกติทางด้านร่างกายและจิตใจ หรือเฉพาะทางด้านจิตใจเกิดขึ้นในผู้เสพ ความหมายตามกฎหมาย ยาเสพติดให้โทษ หมายความว่า สารเคมี หรือวัตถุชนิดใดๆ ซึ่งเมื่อเสพเข้าสู่ร่างกายไม่ว่าจะโดยรับประทานดม สูบฉีด หรือด้วยประการใดๆ แล้ว ทาให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจในลักษณะสาคัญเช่นต้องเพิ่มขนาดการเสพเรื่อยๆ มีอาการถอนยาเมื่อขาดยามีความต้องการเสพทั้งทางร่างกายและ จิตอย่างรุนแรงอยู่ตลอดเวลาและสุขภาพโดยทั่วไปจะทรุดโทรมลงกลับให้รวม ถึงพืช หรือ ส่วนของพืชที่เป็น หรือให้ผลผลิตเป็นยาเสพติดให้โทษ หรืออาจใช้ผลิตเป็นยาเสพติดให้โทษและสารเคมีที่ใช้ใน การผลิตยาเสพติดให้โทษดังกล่าวด้วย ทั้งนี้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขประกาศในราชกิจจานุเบกษาแต่ไม่หมายความ ถึง ยาสาคัญประจาบ้านบางตารับตามที่กฎหมายว่าด้วยยาที่มียาเสพติดให้โทษผสมอยู่
  • 3.
  • 4. ทางกฎหมาย แบ่งเป็น 5 ประเภทตามพรบ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522 ประเภท 1 เช่น เฮโรอีน, แอมเฟตามีน (ยาม้า) และอนุพันธุ์,เมทแอมเฟตามีน(ยาบ้า), เอ็มดีเอ็มเอ(ยาอี), เอ็มดีเอ (ยาเลิฟ) และ แอล เอส ดี เป็นต้น ประเภท 2 เช่นฝิ่น, โคเคน, มอร์ฟีน,เมทาโดนและโคเดอีน เป็นต้น ประเภท 3 เป็นยาสาเร็จรูปที่ได้รับอนุญาตให้จาหน่ายตามร้านขายยาได้ เช่น ยาแก้ไอที่มี โคเดอีน,ยาแก้ท้องเสียที่มีไดเฟนอกซีน, ยาระงับปวดทั้งกินและ ฉีดที่มีสารกลุ่มฝิ่นผสมอยู่ เช่น มอร์ฟีนฉีด เป็นต้น
  • 5. ประเภท 4 เป็นน้ายาเคมีที่นามาใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษ ประเภท 1 และ 2 ได้แก่ น้ายาเคมีอาเซติดแอนไฮไดรด์, อาเซติลคลอไรด์ใช้ เปลี่ยนมอร์ฟีนเป็นเฮโรอีน, สารเออร์โกเมทรีนและคลอซูโดอีเฟดรีน และสารตัว อื่นๆที่นามาผลิตยาอีและยาบ้า ประเภท 5 ได้แก่ พืชกัญชา,พืชกระท่อม,พืชฝิ่น และพืชเห็ดขี้ควาย เป็นต้น
  • 6. สารกลุ่มฝิ่นหรือออกฤทธิ์คล้ายฝิ่น ได้แก่ ฝิ่น,เฮโรอีน,มอร์ฟีน,โคเดอีน, เมทา โดน รวมทั้งยาที่มีสารกลุ่มฝิ่นผสมอยู่ เช่น ยาเมา(แก้ไอ) เป็นต้น ยานอนหลับและยากล่อมประสาท เช่น แวเลี่ยม, ดอร์มิกุ้ม, ซาแนกส์ เป็นต้น ยากระตุ้นประสาทได้แก่ยากลุ่มแอมเฟตามีน (เช่นเมทแอมเฟตามีนหรือ ยาบ้า),กระท่อม, โคเคน,บุหรี่,กาแฟและเครื่องดื่มชูกาลังฯลฯ ทางการแพทย์ แบ่งสารเสพติด เป็น 7 ประเภท
  • 7. ยาหลอนประสาท ได้แก่ แอลเอสดี, พีซีพี , เมสคารีน,ยาเค,เห็ดเมาและลาโพง ฯลฯ ยาที่ออกฤทธิ์หลายอย่าง เช่น กัญชา,ยาอี สารระเหยต่าง ๆ ได้แก่ สารไฮโดรคาร์บอนที่ใช้ในอุตสาหกรรมหรืองานไม้เช่น อาซี โทน,โทลูอีน ฯลฯ และ ผลิตภัณฑ์ต่างๆเช่น ทินเนอร์, แลคเกอร์และกาวปะยาง เป็นต้น แอลกอฮอล์ ได้แก่ บรั่นดี,VSOP,วิสกี้,เหล้า, เบียร์, กระแช่, อุ และข้าวหมาก เป็นต้น
  • 8.
  • 9. การติดยาทางใจ แสดงออกในรูปของความอยาก ลักษณะความเคย ชิน และ พฤติกรรมการแสวงหายา ซึ่งเกี่ยวข้องกับ brain reward system การติดยาทางจิตใจมีความสาคัญและเป็นปัญหาต่อการรักษามากกว่า การ ติดยาทางกาย
  • 10. มีการปรับเปลี่ยนในระบบประสาทเกิดขึ้น ซึ่งเป็นผลทาให้เกิดการ ดื้อยา และการขาดยาตามมา อย่างไรก็ตาม dependence นั้น สามารถเกิดขึ้นได้โดยไม่ จาเป็นต้อง มีการติดยาทางกายร่วมด้วย
  • 11.
  • 12. เนื่องด้วยพิษภัยหรือโทษของสารเสพติดที่เกิดแก่ผู้หลงผิดไปเสพสารเหล่านี้เข้า ซึ่ง เป็นโทษที่มองไม่เห็นชัด เปรียบเสมือนเป็นฆาตกรเงียบ ที่ทาลายชีวิตบุคคลเหล่านั้นลงไปทุก วัน ก่อปัญหาอาชญากรรม ปัญหาสุขภาพ ก่อความเสื่อมโทรมให้แก่สังคมและบ้านเมืองอย่าง ร้ายแรง เพราะสารเสพย์ติดทุกประเภทที่มีฤทธิ์เป็นอันตรายต่อร่างกายในระบบประสาท สมอง ซึ่งเปรียบเสมือนศูนย์บัญชาการของร่างกายและชีวิตมนุษย์ การติดสารเสพติดเหล่านั้น จึงไม่มีประโยชน์อะไรเกิดขึ้นแก่ร่างกายเลย แต่กลับจะเกิดโรคและพิษร้ายต่างๆ จนอาจทาให้ เสียชีวิต หรือ เกิดโทษและอันตรายต่อครอบครัว เพื่อนบ้าน สังคม และชุมชนต่างๆ ต่อไปได้ อีกมาก
  • 13. สารเสพติดจะให้โทษโดยทาให้การปฏิบัติหน้าที่ ของอวัยวะส่วนต่างๆ ของร่างกายเสื่อมโทรม พิษ ภัยของสารเสพย์ติดจะทาลายประสาท สมอง ทาให้สมรรถภาพเสื่อมลง มีอารมณ์ จิตใจไม่ปกติ เกิดการ เปลี่ยนแปลงได้ง่าย เช่น วิตกกังวล เลื่อนลอยหรือฟุ้งซ่าน ทางานไม่ได้ อยู่ในภาวะมึนเมาตลอดเวลา อาจเป็น โรคจิตได้ง่าย ด้านบุคลิกภาพจะเสียหมด ขาดความสนใจในตนเองทั้งความประพฤติความสะอาดและ สติสัมปชัญญะ มีอากัปกิริยาแปลกๆ เปลี่ยนไปจากเดิม สภาพร่างกายของผู้เสพจะอ่อนเพลีย ซูบซีด หมดเรี่ยวแรง ขาดความกระปรี้กระเปร่าและเกียจคร้าน เฉื่อยชา เพราะกินไม่ได้ นอนไม่หลับ ปล่อยเนื้อ ปล่อยตัวสกปรก ความเคลื่อนไหวของร่างกายและกล้ามเนื้อต่างๆ ผิดปกติ ทาลายสุขภาพของผู้ติดสารเสพติดให้ทรุดโทรมทุกขณะ เพราะระบบอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายถูก พิษยาทาให้เสื่อมลง น้าหนักตัวลด ผิวคล้าซีด เลือดจางผอมลงทุกวัน
  • 14.
  • 15. ระบบการบาบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด แบ่งเป็น 3 ระบบ ดังนี้ ระบบสมัครใจ หมายถึง การที่ผู้ติดยาเสพติดสมัครใจเข้ารับการบาบัดรักษา ในสถานพยาบาล ต่าง ๆ ซึ่งดาเนินการรักษาทั้งระบบแพทย์แผนปัจจุบัน และแผนโบราณ ระบบต้องโทษ หมายถึง การที่ผู้ติดยาเสพติดกระทาความผิดและถูกคุมขัง ต้องเข้ารับการ บาบัดรักษาภายใต้กฎข้อบังคับของกฎหมาย เช่น ทัณฑสถานบาบัดพิเศษต่าง ๆ ของกรมราชทัณฑ์ กระทรวงมหาดไทย กรมคุมประพฤติ และสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน สังกัดศาลเยาวชนและ ครอบครัวกลาง กระทรวงยุติธรรม ระบบบังคับ หมายถึง การใช้กฎหมายบังคับให้ผู้ติดยาเสพติดเข้ารับการบาบัดรักษา ในศูนย์ฟื้นฟู สมรรถภาพที่จัดตั้งขึ้น ตามพระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. 2534
  • 16. ขั้นตอนการบาบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด แบ่งเป็น 4 ขั้นตอน คือ ขั้นเตรียมการ (Pre-Admission) ความหมาย เป็นการศึกษาประวัติข้อมูล และภูมิ หลังผู้ติดยาเสพติด ทั้งจากผู้ขอรับการรักษาและครอบครัว เพื่อชักจูงให้คาแนะนา และกระตุ้นให้ผู้ติดยา เสพติด มีความตั้งใจในการรักษา การดาเนินการ การสัมภาษณ์ การลงทะเบียนและวิธีการทางการแพทย์ ได้แก่ การตรวจร่างกาย เอกซเรย์ ตรวจเลือด ตรวจปัสสาวะ ชั่งน้าหนัก ขั้นถอนพิษยา (Detoxification) ความหมาย การบาบัดอาการทางกาย ที่เกิดจาก การใช้ยาเสพติด การดาเนินการ การให้ยาชนิดอื่นทดแทน เช่น เมธาโดน ยาสมุนไพรหรือให้เลิกเสพทันทีที่ เรียกว่า หักดิบ แบ่งเป็นการถอนพิษแบบผู้ป่วยนอก คือ ไม่ต้องค้างคืนในสถานพยาบาล แต่ต้อง รับประทานยาตามเวลาที่กาหนด และแบบผู้ป่วยใน คือ การค้างคืนในสถานพยาบาล ซึ่งนอกจากจะถอน พิษยาแล้ว ยังมีการรักษาโรคแทรกซ้อนต่าง ๆ รวมทั้งการให้ความรู้ด้วย เช่น การดูแลสุขภาพ การป้องกัน โรค เป็นต้น
  • 17. ขั้นตอนการฟื้นฟูสมรรถภาพ (Rehabillitation) ความหมาย เป็นการปรับสภาพ ร่างกายและจิตใจ ของผู้เลิกยาให้มีความเข้มแข็ง ปรับเปลี่ยนบุคคลิกภาพและพฤติกรรม ให้สามารถ กลับคืนสู่สังคมได้อย่างปกติ การดาเนินการ ใช้กิจกรรมต่าง ๆ ได้แก่ การให้คาแนะนาปรึกษา ทั้งเป็น รายบุคคลและเป็นกลุ่ม การอบรมธรรมะ การสันทนาการ การฝึกอาชีพ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีรูปแบบ อื่น ๆ เช่น การฟื้นฟูสมรรถภาพแบบ "ชุมชนบาบัด" ซึ่งเป็นการสร้างชุมชน หรือสังคมจาลองให้ผู้เลิกยา เสพติดมาอยู่รวมกัน เพื่อให้การช่วยเหลือกันเลียนแบบแปลงพฤติกรรม ฝึกความรับผิดชอบการรู้จัก ตนเอง และแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม เพื่อกลับไปดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติ และการฟื้นฟูจิตใจ โดยใช้หลักศาสนา ได้แก่ การนาผู้เลิกยาเสพติดเข้ารับการอุปสมบท การศึกษาหลักธรรมทางศาสนา เป็น ต้น ขั้นการติดตามดูแล (After-Care) ความหมาย เป็นการติดตามดูแลผู้เลิกยาเสพติดที่ ผ่านการบาบัดรักษา ทั้ง 3 ขั้นตอน เพื่อให้คาแนะนาปรึกษา ให้กาลังใจ ทั้งนี้เพื่อมิให้หวนกลับไปเสพยา ซ้าอีก การดาเนินการ การเยี่ยมเยียน โทรศัพท์ นัดพบ ใช้แบบสอบถามและการตรวจปัสสาวะหาสารเสพ ติด
  • 18.
  • 19. ประเทศไทยยังคงเผชิญกับปัญหายาเสพติดที่ผลิตมาจากแหล่งผลิตในพื้นที่สามเหลี่ยม ทองคา โดยพื้นที่ ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือยังคงถูกใช้เป็นช่องทางในการลักลอบ นาเข้ายาเสพติด ยาบ้า ยังเป็นตัวยาหลักที่มีการแพร่ระบาดในประเทศไทย และในขณะเดียวกัน ประเทศไทยถูกใช้เป็น แหล่งพักยาเสพติดและเส้นทางลาเลียงผ่าน เพื่อส่งไอซ์เฮโรอีน และกัญชา ไปยังประเทศที่สาม เฮโรอีน มีแนวโน้มการแพร่ระบาดเพิ่มสูงขึ้นในกลุ่มเด็กและเยาวชนในพื้นที่ กรุงเทพมหานคร และจังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มผู้ใช้ยาเสพติดมีแนวโน้มใช้คีตามีนมากขึ้น เห็นได้จาก สถิติการจับกุมและผู้เข้าบาบัดรักษา ที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง
  • 20.
  • 21.
  • 22. สานักงาน ปปส สานักงาน ป.ป.ส.เป็นหน่วยงานกลางในการกาหนดยุทธศาสตร์และบริหารจัดการอย่างบูรณาการในการป้องกัน และ แก้ไขปัญหา ยาเสพติด สถาบันธัญญารักษ์ พัฒนา ถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยี ด้านการบาบัดรักษายาเสพติด ประสานความร่วมมือ เพื่อคืนคนดีสู่สังคม ศูนย์วิชาการด้านยาเสพติด เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์การทางานของนักวิจัย นักวิชาการ และ ผู้ปฏิบัติงานด้านยาเสพติดของหน่วยงาน ต่าง ๆ ของประเทศไทย และประเทศในอนุภูมิภาค สามารถเข้าถึงบริการสารสนเทศ ในด้านองค์ความรู้ทางวิชาการ เพื่อป้องกัน และ แก้ไขปัญหายา เสพติด ตลอดจนสามารถนาไปประยุกต์ให้การทางานประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โครงการ TO BE NUMBER ONE ซึ่งมีทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญาสิริวัฒนาพรรณวดี เป็นองค์ประธาน ซึ่งโครงการนี้เป็นโครงการที่รณรงค์และแก้ไข ปัญหายาเสพติด รวมทั้งแก้ไขปัญหาต่างๆที่เป็นต้นตอของการเริ่มใช้สารเสพติด เช่น กิจกรรมศูนย์เพื่อนใจทูบี กิจกรรมใครติดยายกมือขึ้น โครงการ D.A.R.E. เป็นโครงการที่มีครูตารวจซึ่งได้เข้ารับการฝึกอบรมจากโครงการแดร์ เข้ามาให้ความรู้เรื่องยาเสพติดแก่นักเรียนในโรงเรียนต่างๆ ตามเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ และยังมีการจัดกิจกรรมต่างๆภายใน เช่น การประกวดเขียนเรียงความแดร์ สะสมสติกเกอร์แดร์แลกของรางวัล กล่อง แดร์