SlideShare a Scribd company logo
ยาเสพติดให้
โทษ
จัดทำาโดย
นางสาว นวรัตน์ สิงคิบุตร เลข
ที่ 44
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/10
นำาเสนอ
ประเภทยาเสพติดที่แพร่ระบาด
ในประเทศต่างๆ
แหล่งผลิตรัฐฉานเหนือ
(ยาบ้า เฮโรอีน ไอซ์)
สามเหลี่ยมทองคำา
ผลิตฝิ่นประมาณ 469 ตัน
พื้นที่ปลูกกัญชา
ใน สปป.ลาว
แหล่งพักยาเสพ
ติด
- ชร. 27 แห่ง
- ชม. 24 แห่ง
- มส. 13 แห่ง
- นน. 6 แห่ง
- พย. 5 แห่ง
แหล่งพักยาเสพ
ติด
- ชร. 27 แห่ง
- ชม. 24 แห่ง
- มส. 13 แห่ง
- นน. 6 แห่ง
- พย. 5 แห่ง
โกกั้ง
ปะโอ
ไทย
ใหญ่
อดีต
ขุนส่า
ว้า
ว้าใต้
ข.ไชยบุรี
ข.บอลิคำาไช
ข้อมูลจาก สำานักงาน ป
- –สารใดก็ตาม ธรรมชาติ,กึ่งสงเคราะห์, ผลิต
-นำาเข้าสู่ร่างกาย ไม่ว่าวิธีใด
-ออกฤทธิ์ต่อร่างกาย และจิตใจ
-มีการเสพเป็นประจำาและมีลักษณะที่สำาคัญ
4 ประการ คือ
1. มีอาการดื้อยา ต้องเสพเพิ่มมากขึ้น
2. มีอาการขาดยา เมื่อเสพเท่าเดิม, ลดหรือ
หยุด
3. มีความต้องการอย่างสูงที่จะต้องหามา
เสพให้ได้
ความหมายของยาเสพติดความหมายของยาเสพติด
คือคือ
แบ่งเป็น 5 ประเภทตามพรบ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.
2522
ประเภท1 เช่น เฮโรอีน, แอมเฟตามีน (ยาม้า) และ
อนุพันธุ์,เมทแอมเฟตามีน(ยาบ้า), เอ็มดีเอ็มเอ(ยาอี),
เอ็มดีเอ (ยาเลิฟ) และ แอล เอส ดี เป็นต้น
ประเภท2 เช่นฝิ่น, โคเคน, มอร์ฟีน,เมทาโดนและ
โคเดอีน เป็นต้น
ประเภท3 เป็นยาสำาเร็จรูปที่ได้รับอนุญาตให้
จำาหน่ายตามร้านขายยาได้ เช่น ยาแก้ไอที่มีโคเด
อีน,ยาแก้ท้องเสียที่มีไดเฟนอกซีน, ยาระงับปวดทั้ง
กินและ ฉีดที่มีสารกลุ่มฝิ่นผสมอยู่ เช่น มอร์ฟีนฉีด
การแยกประเภทของยาเสพติดให้โทการแยกประเภทของยาเสพติดให้โท
ทางกฎหมายทางกฎหมาย
ประเภท 4 เป็นนำ้ายาเคมีที่นำามาใช้ในการผลิต
ยาเสพติดให้โทษประเภท 1 และ 2 ได้แก่ นำ้ายาเคมี
อาเซติดแอนไฮไดรด์, อาเซติลคลอไรด์ใช้เปลี่ยน
มอร์ฟีนเป็นเฮโรอีน, สารเออร์โกเมทรีนและคลอซู
โดอีเฟดรีน และสารตัวอื่นๆที่นำามาผลิตยาอีและ
ยาบ้า
ประเภท 5 ได้แก่ พืชกัญชา,พืชกระท่อม,พืชฝิ่น
และพืชเห็ดขี้ควาย เป็นต้น
การแยกประเภทของยาเสพติดให้โทการแยกประเภทของยาเสพติดให้โท
ทางกฎหมายทางกฎหมาย
1. สารกลุ่มฝิ่นหรือออกฤทธิ์คล้ายฝิ่น ได้แก่
ฝิ่น,เฮโรอีน,มอร์ฟีน,โคเดอีน, เมทาโดน รวมทั้ง
ยาที่มีสารกลุ่มฝิ่นผสมอยู่ เช่น ยาเมา(แก้ไอ)
เป็นต้น
2. ยานอนหลับและยากล่อมประสาท เช่น แว
เลี่ยม, ดอร์มิกุ้ม, ซาแนกส์ เป็นต้น
3. ยากระตุ้นประสาทได้แก่ยากลุ่มแอมเฟตา
มีน (เช่นเมทแอมเฟตามีนหรือยาบ้า),กระท่อม,
โคเคน,บุหรี่,กาแฟและเครื่องดื่มชูกำาลังฯลฯ
การแยกประเภทของยาเสพติดให้โทการแยกประเภทของยาเสพติดให้โท
แพทย์แพทย์ แบ่งสารเสพติด เป็นแบ่งสารเสพติด เป็น 77 ประเภทประเภท
4. ยาหลอนประสาท ได้แก่ แอลเอสดี, พีซีพี ,
เมสคารีน,ยาเค,เห็ดเมาและลำาโพง ฯลฯ
5. ยาที่ออกฤทธิ์หลายอย่าง เช่น กัญชา,ยาอี
6. สารระเหยต่าง ๆ ได้แก่ สารไฮโดรคาร์บอน
ที่ใช้ในอุตสาหกรรมหรืองานไม้เช่น อาซีโทน,โทลู
อีน ฯลฯ และ ผลิตภัณฑ์ต่างๆเช่น ทินเนอร์,
แลคเกอร์และกาวปะยาง เป็นต้น
7. แอลกอฮอล์ ได้แก่ บรั่นดี,VSOP,วิสกี้,เหล้า,
การแยกประเภทของยาเสพติดให้โทการแยกประเภทของยาเสพติดให้โท
แพทย์แพทย์ แบ่งสารเสพติด เป็นแบ่งสารเสพติด เป็น 77 ประเภทประเภท
1.ทางปาก
- กิน เช่น ยาอี, ยานอนหลับ,ยาม้า
- เคี้ยวกลืน กัดกลืน เช่น ใบกระท่อม
- อม เช่น เหล้าแห้ง
- อมใต้ลิ้น เช่น เฮโรอีน,โคเคน
- แตะลิ้น เช่น ยาหลอนประสาทแอลเอสดี
- ซุกไว้ตามซอกเหงือก เช่น ฝิ่น
- ดื่ม เช่น แอลกอฮอล์,กระท่อม,กัญชา
- ดิ่ง(ทิ้งดิ่ง) ปั้นฝิ่นเป็นก้อนกลมแล้วกลืน
2.จมูก
- สูด,นัตถุ์เช่น โคเคน,ยาเค
วิธีการเสพสารเสพติดวิธีการเสพสารเสพติด
3. สูบ
- คลุกบุหรี่สูบ เช่น
ฝิ่น,กัญชา,เฮโรอีน,โคเคน
- สูบบ้อง หรือพาชนะที่ดัดแปลงมาจากบ้อง
ผ่านนำ้า,ไม่ผ่านนำ้า เช่น
ฝิ่น,กัญชา
- สูบควัน ได้แก่ยาบ้า โคเคน เป็นต้น
4. ฉีด
- ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง เช่น เฮโรอีน
- ฉีดเข้ากล้าม เช่น มอร์ฟีน
- ฉีดเข้าเส้นเลือดดำา เช่น เฮโรอีน,ยาบ้า
วิธีการเสพสารเสพติดวิธีการเสพสารเสพติด
อุปกรณ์การเสพยาอุปกรณ์การเสพยา
สาเหตุของการเสพด้วยวิธีสาเหตุของการเสพด้วยวิธี
แตกต่างกันแตกต่างกัน
1. ข้อจำากัดของวิธีเสพ
2. ความประสงค์ของการออกฤทธิ์
3. พฤติกรรมของผู้เสพ,การ
แสวงหาวิธีการเสพใหม่ๆ
สาเหตุของการติดยาเสพติดสาเหตุของการติดยาเสพติด
1. ตัวสารเสพติด
- ออกฤทธิ์เร็ว, แรง, สั้น จะติดง่าย
- อาการดื้อยาเกิดขึ้นเร็ว จะติดง่าย
- อาการอยากยามาก ติดง่าย
- ออกฤทธิ์ทดแทนสารเคมีที่ผู้ป่วยขาด ทำาให้ติด
ง่าย
- เสพแล้วมีผลข้างเคียงน้อย ทำาให้กล้าเสพจะติด
ง่าย
- โรคแทรกเกิดไม่ชัดเจน ไม่กลัวจึงเสพบ่อยจะ
2. ตัวผู้เสพ
ทางร่างกาย
- แนวโน้มทางกรรมพันธุ์, บุคลิกภาพ
- ความพิการทางร่างกาย ความด้อยทางสติ
ปัญญา
- ความเจ็บป่วยเรื้อรัง ความเจ็บปวดเรื้อรัง
ทางจิตใจ
- โรคประสาท,โรคจิต,โรคซึมเศร้า
- การเลี้ยงดูไม่ถูกต้องในวัยเด็ก
- การถูกทำาร้ายทางร่างกายและจิตใจในวัยเด็ก
- ปัญหาทางบุคลิกภาพ ต่อต้านสังคม,พึ่งพา
18
- ความอยากรู้ อยากลอง ด้วยความคึกคะนอง
- เพื่อนชวน หรือต้องการให้เป็นที่ยอมรับจาก
กลุ่มเพื่อน
- มีความเชื่อในทางที่ผิด เช่น เชื่อว่ายาเสพติด
บางชนิดอาจช่วยให้สบายใจ ลืมความทุกข์
หรือช่วยให้ทำางานได้มาก อ่านหนังสือได้มาก
- ถูกหลอกให้ใช้ยาเสพติดโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์
เพื่อหนีปัญหา เมื่อมีปัญหาและไม่สามารถแก้ได้
- ใช้เพื่อลดความเจ็บปวดทางกาย อันเนื่องมา
จากโรคภัยไข้เจ็บจนเกิดการติดยา เพราะใช้
เป็นประจำา
สรุปสาเหตุสรุปสาเหตุ
ตัวผู้เสพตัวผู้เสพ
3. สิ่งแวดล้อม
- ขาดความใกล้ชิดผูกพันในครอบครัว และ
สังคม
- มีการใช้สารเสพติดในครอบครัว
- คบเพื่อนที่เสพยา สูบบุหรี่ตั้งแต่เด็ก
- ทำางานใกล้ชิดกับยาโอกาสหาใช้,หาซื้อง่าย
- ความกดดันทางเศรฐกิจ,สังคม ใช้ยาจนติด
- มั่วสุมในแหล่งบันเทิงหรือที่ที่มียาเสพติด
- ความเชื่อโบราณทางศาสนากับการใช้ยา
เสพติด
1. สารกลุ่มฝิ่น และ เมทาโดน
ได้แก่ ฝิ่น มอร์ฟีน เฮโรอีน (ผงขาว) ยาเมา
(ยาแก้ไอ) และ เมทาโดน
เมื่อเสพ - มีอาการมึนงง เฉื่อยชา ง่วงนอน
- ม่านตาหรี่ หายใจ
- หัวใจเต้นช้าลง
- ความดันเลือดลดลง
เมื่อได้ไม่เสพ - หงุดหงิด กระสับกระส่าย ปวด
กระดูก ปวดท้อง ลงแดง
อันตรายจากสารเสพติดให้โทษ
โรคแทรกซ้อนจากการเสพสารโรคแทรกซ้อนจากการเสพสาร
กลุ่มฝิ่นกลุ่มฝิ่นพิษเฉียบพลัน กดการหายใจ หรือ ติดเชื้อใน
กระแสเลือดถึงเสียชีวิตได้
สูบ - หลอดลม,ปอดอักเสบโอกาสเกิดมะเร็ง
สูงกว่าปกติ
ฉีด - ติดเชื้อแบคทีเรีย
- ฝีตามร่างกาย ผิวหนัง ปอด
สมอง
- ติดเชื้อตับอักเสบ เชื้อเอดส์ และ
ติดเชื้อโรคอื่นๆ
- กระเพาะอาหารอักเสบ
- วัณโรคปอด
- กระตุ้นให้โรคจิต, โรคประสาท
23
2. กลุ่มยานอนหลับและยากล่อมประสาท
เมื่อเสพ - เดินเซ พูดเสียงอ้อแอ้ ควบคุมตนเองไม่
ได้คลุ้มคลั่ง อาละวาด
- ในขนาดสูงจะหลับ และกดการ
หายใจ
เมื่อไม่ได้เสพ - หงุดหงิด กระวนกระวาย ชัก
การนำาไปผสมแอลกอฮอลล์ ออกฤทธิ์เสริมกด
การหายใจ ถึงตายได้
ผู้ติดยานอนหลับ อาการจะดูคล้ายๆ คนเมาสุรา แต่
ไม่มีกลิ่นสุราทางลมหายใจ
3. กลุ่มยากระตุ้นประสาท, ยาบ้า,กระท่อม,โคเคน
กาแฟ,บุหรี่,เครื่องดื่มชูกำาลังและนำ้าอัดลม
เมื่อเสพ - ครื้นเครง กระวนกระวาย แน่นหน้าอก,
ใจสั่น,ปวดหัว,ม่านตาขยาย, หัวใจวาย
- หายใจเร็ว
- หัวใจเต้นเร็ว ความดันเลือดสูง
- ไข้ขึ้น
- อาการประสาทหลอน หวาดกลัว หลง
ผิด
เมื่อไม่ได้เสพ - จะหงุดหงิด กระสับกระส่ายง่วง
นอน ซึมเศร้า ฆ่าตัวตาย
พิษจากสารเมทแอมเฟตามีน
- หัวใจเต้นเร็ว ผิดจังหวะ ภาวะหัวใจล้มเหลว
- ความดันโลหิตสูง ทำาให้เส้นเลือดแตกใน
สมองได้
- ชัก
- ไข้สูง
- หวาดกลัวอย่างรุนแรง หูแว่ว ประสาทหลอน
อาการพิษเฉียบพลันรุนแรงถึงตายได้
พิษจากการสูบควันยาบ้า
เกิดโรคหลอดลม, ปอดอักเสบ , มะเร็งช่อง
ปาก,คอและปอด สูงกว่าการสูบบุหรี่, วัณโรคปอด
พิษจากสารอันตรายในยาบ้า
ได้แก่ ฟอร์มอรีน, ยาฆ่าหญ้า, สตริ๊กนีน และ
สารอื่นๆ
พิษจากส่วนผสมในยาบ้า
ได้แก่ คาเฟอีน, เอฟริดีน เสริมฤทธิ์กระตุ้น
ประสาท
พิษจากสารโลหะหนักที่เจือปนในยาบ้า
ได้แก่ สารปรอท, ตะกั่ว, ทองแดง และสา
รอื่นๆ
การสูบยาบ้าไปนานๆ สมองและร่างกายจะ
ได้สะสมสารพิษ ต่างๆที่เจือปนอยู่ เป็นการตาย
ยาบ้า ทำาให้เกิดโรคจิต รักษาไม่ยาบ้า ทำาให้เกิดโรคจิต รักษาไม่
28
กระท่อมกระท่อม
ขยันทำางาน ทนแดด แต่กลัวขยันทำางาน ทนแดด แต่กลัว
อากาศครึ้มฝน เสพนานๆอากาศครึ้มฝน เสพนานๆ ผิวหน้าผิวหน้า
จะดำาจะดำา เมื่อไม่เสพจะปวดเมื่อยเมื่อไม่เสพจะปวดเมื่อย
กล้ามเนื้อ อ่อนเพลีย ไม่มีแรงกล้ามเนื้อ อ่อนเพลีย ไม่มีแรง
29
กระท่อมเป็นยาเสพติดชนิดหนึ่ง
อาการขาดยา :
ถ้าติดยาแล้วหยุดทันที จะมี
อาการนำ้าตาไหล นำ้ามูกไหล
ก้าวร้าว ปวดเมื่อยตามตัว และ
กล้ามเนื้อแขนขากระตุก ใจสั่น
เหนื่อย และฟุ้งซ่าน
ชีวิต!
30
กระท่อม... ยาเสพติดประเภท 5
เมื่อเสพเบื้องต้น จะทำาให้รู้สึกสบาย ว่องไว
ทำางานได้ เมื่อเสพต่อเนื่องจนติด จะเกิดโทษมหันต์ต่อ
ร่างกายและจิตใจประสาทหลอน นอนไม่หลับ กระสับ
กระส่าย สับสนผิวหนังดำาเกรียม โดยเฉพาะใบหน้า
โหนกแก้มทั้งสองข้าง เช่นเดียวกับ
โรคมะเร็งตับ หรือตับวาย
ปากแห้ง คอแห้ง ช่องปากอักเสบติด
เชื้อใจสั่น หัวใจเต้นเร็ว เหนื่อยมาก
หัวใจวาย เสียชีวิตปวดเมื่อยตามร่างกาย ปวดตามข้อ แขน ขา
กระตุกและชักเกร็งได้
เบื่ออาหาร นำ้าหนักลด
ร่างกายซูบผอมปวดท้อง ท้องผูกเรื้อรัง อุจจาระดำา
เป็นก้อนคล้ายมูลแพะกระเพาะอาหารและ
ลำาไส้อุดตัน แตกทะลุกระท่อม! ยาเสพติดร้ายแรงกว่าที่คิด เปลี่ยน
ความเชื่อผิดๆ
31
“4x100 สูตรผสม
”มหันตภัย
4x100 =นำ้าพืชกระท่อม
ต้ม+โค้ก+ยาแก้ไอ+เครื่องดื่ม
บำารุงกำาลัง+ยากันยุง+อัลปราโซ
แลม
ไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับความนิยม
และการสามารถจัดหาวัตถุดิบ
4.4. กลุ่มยาหลอนประสาทกลุ่มยาหลอนประสาท
ได้แก่ได้แก่ LSDLSD ยาเค เห็ดเมา พี ซี พี และเมสคายาเค เห็ดเมา พี ซี พี และเมสคา
ลีนลีน
เมื่อเสพเมื่อเสพ -- มีอาการเคลิบเคลิ้ม จินตนาการต่างๆมีอาการเคลิบเคลิ้ม จินตนาการต่างๆ
นานานานา
-- มีอาการทางจิต หูแว่ว ประสาทหลอนมีอาการทางจิต หูแว่ว ประสาทหลอน
-- ใช้นานๆเกิดการเสพใช้นานๆเกิดการเสพ
ติด และเป็นโรคจิตได้ติด และเป็นโรคจิตได้
เมื่อไม่ได้เสพเมื่อไม่ได้เสพ -- หงุดหงิด กระสับกระส่ายหงุดหงิด กระสับกระส่าย
แสตมป์ หรือ เมจิกเปเปอร์แสตมป์ หรือ เมจิกเปเปอร์ คือ กระดาษเคลือบคือ กระดาษเคลือบ
5. สารออกฤทธิ์หลายอย่าง ได้แก่ กัญชา ยาอี
กัญชา
เมื่อเสพ ปริมาณน้อย
- กระตุ้นประสาท ร่าเริง
ปริมาณมาก
- เสพมากขึ้นจะซึม หลับ
- เสพขนาดสูงจะมีอาการ
ประสาทหลอน
- กดการหายใจเสียชีวิตได้
อาการพิษเฉียบพลันจากการสูบกัญชา
ตาแดง ใจสั่น แน่นหน้าอก กระวนกระวาย หวาด
กลัว
อาการพิษเรื้อรัง
ยาอี
เมื่อเสพ - จะกระตุ้นประสาทรุนแรง ขยับขา
ตามเสียงเพลง
- หลอนประสาท เกิดความรักไว้วางใจ
กัน
- หัวใจเต้นเร็ว,ผิดจังหวะ ความดัน
เลือดไข้ขึ้น
- กล้ามเนื้อ-กราม เกร็ง กระตุก
ทำาลายเซลล์สมอง
เมื่อไม่ได้เสพ - ซึมเศร้ารุนแรง ฆ่าตัวตายได้
อันตรายจาก ยาอี
กระตุ้นให้เกิดการหลั่งสารเคมีในสมองมาก
ปาร์ตี้ ยาอี
“ ”การเสียชีวิตใน ปาร์ตี้ยาอี เนื่องจาก
- การเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อตลอดเวลา ร่างกาย
- เกิดการสะสมสารพิษ การเสียสารนำ้า และ
เกลือแร่ในร่างกายมากเกินไป
- การใช้ยาเสพติดหลายชนิดโดยขาดการ
ควบคุม ร่วมกันออกฤทธิ์ที่เป็นอันตรายรุนแรง
- หลังปาร์ตี้จะซึมเศร้ารุนแรงจนถึงฆ่าตัวตาย
ได้
6. สารระเหย
เมื่อเสพ - สูดดมแล้วเมาเคลิบเคลิ้ม เดินเซ
- ประสาทหลอน เห็นดาวเห็นเดือน หู
แว่วได้
- ทำาท่าทางแปลกประหลาด ไม่ได้เสพ
จะมีอาการหงุดหงิด วิตกกังวล กระวนกระวาย
พิษจากการสูดดมสารระเหย
- ทางเดินหายใจ เยื่อบุโพรงจมูก- หลอดลม
- ปอดอักเสบ
- ทางเดินอาหาร หลอดอาหารอักเสบ,
กระเพาะอักเสบ
- กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ, ตับ, ไต อักเสบ
พิษจากการสูดดมสารระเหย
- ทำาลายไขกระดูก เกิดมะเร็งเม็ดเลือด
ขาว, เม็ดเลือดตำ่า
- ทำาลายระบบประสาททั้งส่วนปลายและ
ส่วนกลาง
- กล้ามเนื้อแขนขาลีบ
- ทำาลายสมองแบบถาวร ทำาให้มีอาการ
สั่น, เดินเซ
- ทำาลายเซลล์สืบพันธุ์ ทำาให้กำาเนิดบุติที่
พิการได้
- ทำาให้เกิดโรคสมองเสื่อมเกิดโรคจิตแบบ
ถาวรได้ ทำาลายทุกระบบในทำาลายทุกระบบใน
ร่างกายร่างกาย
25253030
7. แอลกอฮอล์
เมื่อเสพ - ดื่มแล้วเกิดอาการเมา ควบคุมตัวเอง
ไม่ได้
- กดประสาท กดการหายใจ
- เป็นสาเหตุอันดับหนึ่งในการ
เกิดอุบัติเหตุ
เมื่อไม่ได้เสพ - เมื่อเสพติดแล้ว เกิดภาวะพิษ
สุราเรื้อรัง
การหยุดดื่มกระทันหันจะมีอาการชัก หูแว่ว
ประสาทหลอน
การดื่มแอลกอฮอล์ร่วมกับการใช้ยาอื่น อาจ
เป็นอันตรายถึงชีวิต
โรคแทรกซ้อนจากการดื่มแอลกอฮอล์
- เพิ่มความเสี่ยงในการเกิดโรคทาง
ระบบหลอดเลือดและหัวใจ ความดันโลหิตสูง
เส้นเลือดในสมองแตก,ตีบ
- หลอดอาหาร
-กระเพาะอาหารอักเสบกระเพาะ อาหารทะลุ,
มะเร็งกระเพาะอาหาร ลำาไส้อักเสบ
- ภาวะทุโภชนาการ โรคผิวหนังเรื้อรัง
วัณโรคปอด
- ตับอักเสบ ตับแข็ง ตับวาย ท้องมานอัณฑะ
ฝ่อ
- ตับอ่อนอักเสบ เบาหวาน
- สมองเสื่อม
เครื่องดื่มชูกำาลังเครื่องดื่มชูกำาลัง
สาเหตุของการเสพสาเหตุของการเสพสารเสพสารเสพติดติด
ทฤษฎีทฤษฎี BIO-PSYCHO-SOCIALBIO-PSYCHO-SOCIAL
ของการเสพติดของการเสพติด
ตัวบุคคลตัวบุคคล ((พันธุกรรมพันธุกรรม))
ตัวสารตัวสาร
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
““ตำ่ากว่าตำ่ากว่า 1818 ”ห้ามดื่ม”ห้ามดื่ม
สารสาร
ระเระเ
หยหย
ยาเยาเ
โคล่า จากโคเคนโคล่า จากโคเคน
G HG H
BB
ยากล่อมยากล่อม
อายุและสาเหตุที่เริ่มสูบบุหรี่อายุและสาเหตุที่เริ่มสูบบุหรี่
พบว่าอายุระหว่าง15 - 19 ปี เป็นอายุที่เริ่มสูบ
บุหรี่มากที่สุด
(55.9%) อยากทดลองสูบ
(37.5%) ตามอย่างเพื่อนหรือเพื่อนชวนสูบ
(34.8%) สาเหตุอื่นๆ เพื่อเข้าสังคม คลายเครียด
ตามอย่างสมาชิกในครัวเรือน แพ้ท้อง ที่บ้านปลูก
ยาสูบ
แต่ละคนที่สูบไม่คิดว่าตนเองจะติดบุหรี่
สมองสมอง
ผิวหนังผิวหนัง
สายตาสายตา
ปากและฟันปากและฟัน
เล็บเล็บ
กล่องเสียงกล่องเสียง
ผิวหนังผิวหนัง
หัวใจและหัวใจและ
หลอดเลือดหลอดเลือด
ปอดปอด
ทางเดินอาหารทางเดินอาหาร
ผลเสียบางส่วนของการสูบบุหรี่ต่อผลเสียบางส่วนของการสูบบุหรี่ต่อ
บุหรี่กับ
เยาวชน
แอลกอฮอล์ทำาลายอวัยวะแอลกอฮอล์ทำาลายอวัยวะ
ต่างๆในร่างกายต่างๆในร่างกาย
มอร์ฟีมอร์ฟี
เห็ดขี้เห็ดขี้
ควายควาย
ยายา
กัญชกัญช
โคเโคเ
ฝิ่น มอร์ฟีน โคเดอีนฝิ่น มอร์ฟีน โคเดอีน
CLUBCLUB
DRUGSDRUGS
ยาอียาอี RohypRohyp
nolnol
โคเคนโคเคน
กัญชากัญชา
ICEICEG H BG H B
L S DL S D
ยาเคยาเค
เสพยาบ้ามีอาการทางจิตเสพยาบ้ามีอาการทางจิต
ผลของการเสพยาบ้าผลของการเสพยาบ้า
ในระยะยาวในระยะยาว
การตรวจปัสสาวะการตรวจปัสสาวะ
เป็นสีม่วงเป็นสีม่วง
กัญชกัญช
กระท่อกระท่อ
กระท่อกระท่อ
LSD (Lysergic acidLSD (Lysergic acid
diethylamide)diethylamide)
73
74
75
76
77
78
79
80
าบ้าจะกระตุ้นให้สมองทำางานมากกว่าปกติ เมื่อเสพ
ะทั่งติด สมองจะถูกทำาลาย การทำางานก็จะเสื่อมถ
รูปผ่าขวาสมองของมนุษย์ที่ติดยา
81
82
83
สมองติดยา
1.ยาเสพติดเลิกไม่ยาก ขึ้นอยู่กับความตั้งใจท่านั้น
2.เซลล์สมองติดต่อกันโดยใช้สารเคมีสื่อสาร
ระหว่างกัน
3.ผู้หญิงกับผู้ชาย ติดยาไม่แตกต่างกัน
4.การเสพยาโดยการสูดสาร ทำาให้ติดง่ายกว่าการ
กิน
5.ติดยาเมื่ออายุน้อย มีผลเสียน้อยกว่าติดยาเมื่อ
อายุมาก
6.คนไข้โรคซึมเศร้า มีโอกาสติดยาง่ายกว่าคน
ทั่วไป
7.การติดยา ทำาให้สมองทำางานผิดปกติอย่างถาวร
ได้
บุคคลบุคคล
พันธุกรรม
เพศ
ความเจ็บ
ป่วย
อายุที่เริ่ม
ใช้
การเลี้ยงดู
สภาพครอบครัว
กลุ่มเพื่อน
โรงเรียน
ชุมชน
หาง่าย
ราคา
ผลของยา
วิธีใช้
การติดยาการติดยา
สมองสมอง
สารเสพติดสารเสพติด
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
การสร้างแรงจูงใจ ผู้
บำาบัดควรรู้จักเรื่อง
สมองติดยา คือ
อะไร
ส่วนควบคุมการทำางานของร่างกาย
ประสาทสัมผัสต่างๆ
ส่วนคิดและ
ตัดสินใจ
ส่วน
อารมณ์
ความรู้สึก
ความสุขความสุข
แรงจูงใจแรงจูงใจ
ความคิดความคิด
ความจำาความจำา
สมาธิสมาธิ
ความตื่นตัวความตื่นตัว
ความจดจ่อความจดจ่อ
อารมณ์อารมณ์
เพศเพศ
ความก้าวร้าวความก้าวร้าว
ความกังวลความกังวล
99
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเสพซำ้า
ปัจจัยส่วนบุคคล
1.ปัจจัยด้านกายภาพ
2.การขาดแรงจูงใจในการเลิกยา
3.การขาดทักษะในการเผชิญกับสถานการเสี่ยง
ต่อการใช้ยา
ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม
1.มีแหล่งยาในชุมชน
2.อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่คุกคาม
100
101
เงื่อนไขนำาเงื่อนไขนำา ผลกรรมผลกรรมพฤติกรรมพฤติกรรม
102
1.มนุษย์มีคุณค่า และมีศักดิ์ศรีในตนเอง
2.เป็นคนดีมาแต่กำาเนิด
3.มีแนวโน้มในการพัฒนาตนเอง
4.มีความเชื่อในสิ่งที่เหนือกว่าตน
103
บานที่ 1
เปิดเผย
บานที่ 2
จุดบอด
บานที่ 3
ความ
ลับ
บานที่ 4
อวิชชา
ตนเอง
รู้
ตนเอง
ไม่รู้
ผู้อื่นรู้
ผู้อื่น
ไม่รู้
104
ผู้กล่าวหา
เหยื่อ ผู้ช่วย
เหลือ
105
1.เพื่อการพัฒนาตนเอง
2.เพื่อเสพสุขอย่างรู้เท่าทันธรรมชาติ
3.เผชิญปัญหา แก้ปัญหาอย่างถูกวิธี
4.แบ่งปันความโชคดีของตนเองที่มีอยู่ให้
กับคนที่ด้อยโอกาสกว่าเรา
106
1. อย่าคิดเล็กคิดน้อยกับเรื่อง
เล็กน้อย
2. อย่าต่อว่าองค์กร
3. อย่าเลือกงานที่รัก
4. อย่าให้ร้ายหัวหน้า
5. อย่าดูถูกเพื่อนร่วมงานหรือ
คนรอบข้าง
107
1. ทบทวนจิต
2. คิดจัดการ
3. สานเป้าหมาย
4. สายใยรัก
5. ทักสังคม
1.ทบทวนหาสาเหตุของความเครียด
2.ยอมรับสภาพความเป็นจริงของชีวิต และ
พร้อมที่จะปรับเปลี่ยนเท่าที่ทำาได้เพื่อให้ชีวิตดีขึ้น
3.เต็มใจที่จะเปลี่ยนแปลงตัวเองก่อนเป็น
อันดับแรก
4.ออกกำาลังกายเป็นประจำาสมำ่าเสมอ โดย
เลือกออกกำาลังกายที่เหมาะสมกับตัวเอง
5.นอนหลับให้เพียงพอ
6.ปรับปรุงสถานที่ให้เหมาะสม ทั้งบ้าน ที่
ทำางาน ให้บรรยากาศดีขึ้น รวมทั้งเสริมสร้าง
ความสัมพันธ์อันดีภายในบ้าน 108
8.พักหย่อนใจ โดยหางานอดิเรกทำา โดย
การปลูกต้นไม้ ดอกไม้ ฟังเพลง อ่านหนังสือ ดูทีวี
ดูหนังตลกมีอารมณ์ขัน ท่องเที่ยวตามสถานนะการ
เงิน ของแต่ละบุคคล งดบุหรี่ สุรา สารเสพติด การ
พนัน การสำาส่อนทางเพศ
9.คุยกับเพื่อน หรือบุคคลที่เราไว้วางใจ
ศรัทธา นับถือ เพื่อแลกเปลี่ยนแนวทางการแก้ไข
ร่วมกัน
10.ไม่ท้อถอย สร้างความเชื่อในตนเอง มอง
ตนเองมีคุณค่ามีความสามารถ มีศักดิ์ศรี มีความ
ภาคภูมิใจในตนเอง สร้างงานที่เป็นผลสำาเร็จ
11.มีหลักยึดเหนี่ยวทางจิตใจ มีหลักศาสนา
รู้จักปล่อยวาง การทำาสมาธิ แผ่เมตตา การกำาหนด109
1.ต้องทราบจุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง
2.มีเป้าหมายที่ชัดเจน
3.สังเกตพฤติกรรมตนเองอย่างสมำ่าเสมอ
4.ประเมินตนเองและเตือนตนเองได้ตามความเป็น
จริง
5.ให้รางวัล / ลงโทษตนเอง
6.มีความรับผิดชอบต่อการกระทำา มีความ
พยายามอดทน อย่างต่อเนื่องที่จะทำาให้เป้าหมาย
ชีวิตของเราประสบความสำาเร็จ
110
111
1. หาปัญหาที่แท้จริงที่เกิดขึ้น
2. ค้นหาสาเหตุของปัญหา
3. หาแนวทางการแก้ไข
4. วิเคราะห์แนวทางการแก้ไข
5. นำาไปปฏิบัติ ทบทวนทำาต่อไป
1.สำารวจอารมณ์หรือความรู้สึกขณะนั้น เช่น ใจสั้น ตัวสั้น กัดฟัน กำา
มือ
2.คาดการณ์ผลดี ผลเสีย ของการแสดงอารมณ์นั้นออกมา
3.ควบคุมอารมณ์ด้วยวิธีต่าง ๆ
หายใจเข้าออกยาว ๆ
นับเลข 1-10 ช้า ๆ
ขอเวลานอกโดยหนีออกจากสถานการณ์นั้น ๆ
กำาหนดลมหายใจเข้าออก
4.สำารวจความรู้สึกตนเองอีกครั้ง ชื่นชมกับการที่ตนเองควบคุม
อารมณ์ได้การรับรู้อารมณ์ของตนเอง
ทำาให้เข้าใจตนเองมากขึ้น และส่งผลให้มีการแสดงอารมณ์ออกได้
อย่างเหมาะสม การรับรู้อารมณ์ของ
ผู้อื่นก็เป็นสิ่งจำาเป็น เนื่องจากการที่เราสามารถคาดคะเนสภาวะ
อารมณ์ของผู้อื่นได้จะทำาให้เข้าใจผู้อื่น
และสามารถที่จะหลีกเลี่ยงหรือมีวิธีการที่จะช่วยเหลือตนเองได้เมื่อ
ได้รับผลจากอารมณ์ที่ไม่พึง
ประสงค์ของผู้อื่น ดังนั้นเราจะต้องรู้อารมณ์ตนเอง บอกอารมณ์ 112
113
1. ความรู้สึก หรือความสัมพันธ์ที่ดีกับ
ตนเอง
2. ความรู้สึก หรือความสัมพันธ์ที่ดีกับ
ธรรมชาติ
3. ความรู้สึก หรือความสัมพันธ์ที่ดีกับ
บุคคล
4. ความรู้สึก หรือความสัมพันธ์ที่ดีกับสิ่ง
ศักดิ์สิทธิ์
5. ความรู้สึก หรือความสัมพันธ์ที่ดีกับ
ศาสนา
114
สังคหวัตถุ 4
- ทาน
- ปิยวาจา
- อัตถจริยา
- สมานัตตตา
115
116
การป้องกัน
1. เกี่ยวกับตนเอง
- ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับโทษและพิษภัยขอยา
เสพติด
- มีความภูมิใจโดยนับถือตนเอง
- สำานึกในบทบาทหน้าที่ของตน
- ทำาจิตใจให้ร่าเริงแจ่มใส
- เลือกคบเพื่อนที่ดี
- ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
- รู้จักแก้ไขปัญหาชีวิตไปในทางที่ถูก
117
2.เกี่ยวกับครอบครัว
- สร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างสมาชิกใน
ครอบครัว
- รู้จักบทบาทหน้าที่ของตนเองในการ
เป็นสมาชิกของครอบครัว
อยู่อย่างไรเมื่อคน
ใกล้ตัวติดยา
119
ผู้ติด
ยา/สาร
เสพติด
คน สิ่งแวดล้อม
120
ผู้ติดยา/สาร
เสพติด
คน สิ่งแวดล้อม
- ครอบครัว
- ผู้ติดยา
- ผู้ใกล้ชิด
- สถานบันเทิง
- แหล่งอบายมุข
- ชุมชน
121
ครอบครัว
ผู้ใกล้ชิด
ผู้ติดยา/สาร
เสพติด
ยาเสพติดให้โทษ

More Related Content

What's hot

ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
Janejira Meezong
 
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
Chamada Rinzine
 
โครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion
โครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashionโครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion
โครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion
jarunee4
 
ยาและสารเสพติดให้โทษ
ยาและสารเสพติดให้โทษยาและสารเสพติดให้โทษ
ยาและสารเสพติดให้โทษ
พัน พัน
 
แนะนำตนเอง
แนะนำตนเองแนะนำตนเอง
แนะนำตนเองweskaew yodmongkol
 
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศ
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศสเปรย์สมุนไพรปรับอากาศ
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศSutthida Chatsiriyinyong
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
kasidid20309
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationPat Pataranutaporn
 
ปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาล
Sumon Kananit
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
คุณค่าของภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f15-4page
คุณค่าของภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f15-4pageคุณค่าของภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f15-4page
คุณค่าของภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f15-4page
Prachoom Rangkasikorn
 
ชุดกิจกรรม1
ชุดกิจกรรม1ชุดกิจกรรม1
ชุดกิจกรรม1
Aon Narinchoti
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
paifahnutya
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
Napadon Yingyongsakul
 
Pp+บุหรี่..
Pp+บุหรี่..Pp+บุหรี่..
Pp+บุหรี่..
Prachaya Sriswang
 
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุดโครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
โครงร่างโครงงาน เรื่อง ขยะทางทะเล
โครงร่างโครงงาน เรื่อง ขยะทางทะเลโครงร่างโครงงาน เรื่อง ขยะทางทะเล
โครงร่างโครงงาน เรื่อง ขยะทางทะเล
Thipwaree Tobangpa
 
สาเหตุของสงครามครูเสด
สาเหตุของสงครามครูเสดสาเหตุของสงครามครูเสด
สาเหตุของสงครามครูเสด
ธนาภรณ์ กองวาจา
 

What's hot (20)

ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
 
หนังสือราชการ (ใหม่)
หนังสือราชการ (ใหม่)หนังสือราชการ (ใหม่)
หนังสือราชการ (ใหม่)
 
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
 
โครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion
โครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashionโครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion
โครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion
 
ยาและสารเสพติดให้โทษ
ยาและสารเสพติดให้โทษยาและสารเสพติดให้โทษ
ยาและสารเสพติดให้โทษ
 
แนะนำตนเอง
แนะนำตนเองแนะนำตนเอง
แนะนำตนเอง
 
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศ
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศสเปรย์สมุนไพรปรับอากาศ
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศ
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
 
ปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาล
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
คุณค่าของภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f15-4page
คุณค่าของภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f15-4pageคุณค่าของภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f15-4page
คุณค่าของภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f15-4page
 
ชุดกิจกรรม1
ชุดกิจกรรม1ชุดกิจกรรม1
ชุดกิจกรรม1
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
Pp+บุหรี่..
Pp+บุหรี่..Pp+บุหรี่..
Pp+บุหรี่..
 
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
 
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุดโครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
 
โครงร่างโครงงาน เรื่อง ขยะทางทะเล
โครงร่างโครงงาน เรื่อง ขยะทางทะเลโครงร่างโครงงาน เรื่อง ขยะทางทะเล
โครงร่างโครงงาน เรื่อง ขยะทางทะเล
 
สาเหตุของสงครามครูเสด
สาเหตุของสงครามครูเสดสาเหตุของสงครามครูเสด
สาเหตุของสงครามครูเสด
 

Viewers also liked

01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษาSambushi Kritsada
 
สารเสพติด
สารเสพติดสารเสพติด
สารเสพติดAobinta In
 
การป้องกันปัญหาสารเสพติด
การป้องกันปัญหาสารเสพติดการป้องกันปัญหาสารเสพติด
การป้องกันปัญหาสารเสพติด
chueng
 
ยาเสพติดให้โทษประเภท2
ยาเสพติดให้โทษประเภท2ยาเสพติดให้โทษประเภท2
ยาเสพติดให้โทษประเภท2
Medical Student, GCM
 
โทษของยาเสพติด
โทษของยาเสพติดโทษของยาเสพติด
โทษของยาเสพติด
abdulkorday
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
Isara Chiawiriyabunya
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
Junee Sara
 
พรบ ยาเสพติดให้โทษ
พรบ ยาเสพติดให้โทษพรบ ยาเสพติดให้โทษ
พรบ ยาเสพติดให้โทษ
PamPaul
 
อย่าไปหาสารเสพติด
อย่าไปหาสารเสพติดอย่าไปหาสารเสพติด
อย่าไปหาสารเสพติด
พัน พัน
 
ยาเสพติด2
ยาเสพติด2ยาเสพติด2
ยาเสพติด2
jpimpila
 
นำเสนอยาเสพติดภูดิน
นำเสนอยาเสพติดภูดินนำเสนอยาเสพติดภูดิน
นำเสนอยาเสพติดภูดินwootslide
 
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดหลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดpluakdeang Hospital
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9supap6259
 
Addiction I T
Addiction  I TAddiction  I T
Addiction I T
Isara Chiawiriyabunya
 
งดบุหรี่สุราสารเสพติด
งดบุหรี่สุราสารเสพติดงดบุหรี่สุราสารเสพติด
งดบุหรี่สุราสารเสพติด
supattra90
 
ยาเสพติด โดย ณัฐพนธ์ ห่วงรัตน์ (มหาไถ่ศึกษาขอนแก่น)
ยาเสพติด โดย ณัฐพนธ์ ห่วงรัตน์ (มหาไถ่ศึกษาขอนแก่น)ยาเสพติด โดย ณัฐพนธ์ ห่วงรัตน์ (มหาไถ่ศึกษาขอนแก่น)
ยาเสพติด โดย ณัฐพนธ์ ห่วงรัตน์ (มหาไถ่ศึกษาขอนแก่น)WA YA'kr
 
การป้องกันอุบัติภัยด้วยการไม่ประมาท
การป้องกันอุบัติภัยด้วยการไม่ประมาทการป้องกันอุบัติภัยด้วยการไม่ประมาท
การป้องกันอุบัติภัยด้วยการไม่ประมาท
akkapot
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
Isara Chiawiriyabunya
 

Viewers also liked (20)

01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
 
สารเสพติด
สารเสพติดสารเสพติด
สารเสพติด
 
การป้องกันปัญหาสารเสพติด
การป้องกันปัญหาสารเสพติดการป้องกันปัญหาสารเสพติด
การป้องกันปัญหาสารเสพติด
 
ยาเสพติดให้โทษประเภท2
ยาเสพติดให้โทษประเภท2ยาเสพติดให้โทษประเภท2
ยาเสพติดให้โทษประเภท2
 
โทษของยาเสพติด
โทษของยาเสพติดโทษของยาเสพติด
โทษของยาเสพติด
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
 
พรบ ยาเสพติดให้โทษ
พรบ ยาเสพติดให้โทษพรบ ยาเสพติดให้โทษ
พรบ ยาเสพติดให้โทษ
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 
อย่าไปหาสารเสพติด
อย่าไปหาสารเสพติดอย่าไปหาสารเสพติด
อย่าไปหาสารเสพติด
 
ยาเสพติด2
ยาเสพติด2ยาเสพติด2
ยาเสพติด2
 
นำเสนอยาเสพติดภูดิน
นำเสนอยาเสพติดภูดินนำเสนอยาเสพติดภูดิน
นำเสนอยาเสพติดภูดิน
 
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดหลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
 
Addiction I T
Addiction  I TAddiction  I T
Addiction I T
 
งดบุหรี่สุราสารเสพติด
งดบุหรี่สุราสารเสพติดงดบุหรี่สุราสารเสพติด
งดบุหรี่สุราสารเสพติด
 
ยาเสพติด โดย ณัฐพนธ์ ห่วงรัตน์ (มหาไถ่ศึกษาขอนแก่น)
ยาเสพติด โดย ณัฐพนธ์ ห่วงรัตน์ (มหาไถ่ศึกษาขอนแก่น)ยาเสพติด โดย ณัฐพนธ์ ห่วงรัตน์ (มหาไถ่ศึกษาขอนแก่น)
ยาเสพติด โดย ณัฐพนธ์ ห่วงรัตน์ (มหาไถ่ศึกษาขอนแก่น)
 
การป้องกันอุบัติภัยด้วยการไม่ประมาท
การป้องกันอุบัติภัยด้วยการไม่ประมาทการป้องกันอุบัติภัยด้วยการไม่ประมาท
การป้องกันอุบัติภัยด้วยการไม่ประมาท
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
 
Cedula de inscripcion 2013
Cedula de inscripcion 2013Cedula de inscripcion 2013
Cedula de inscripcion 2013
 

ยาเสพติดให้โทษ

Editor's Notes

  1. ประมาณการพื้นที่ยาเสพติดในพม่า และ สปป.ลาว 1. ในปี 2550 พบพื้นที่ปลูกฝิ่นบริเวณสามเหลี่ยมทองคำ อยู่ในพม่า 27,700 เฮคแทร์ (173,125 ไร่) ผลผลิต 460 ตัน อยู่ใน สปป.ลาว 1,500 เฮคแทร์ (9,375 ไร่) ผลผลิต 9.2 ตัน สำหรับประเทศ ไทยไม่ถือว่าเป็นประเทศผู้ปลูกฝิ่นที่สำคัญอีกต่อไป แม้ว่าจะมีการลักลอบปลูกอยู่บ้าง โดยตั้งแต่ปี 2547 สหรัฐอเมริกาได้ถอนชื่อประเทศไทยออกจากรายงานประจำปีผลการสำรวจการปลูกฝิ่นและ ผลิตเฮโรอีน ทั้งนี้เนื่องจากผลความสำเร็จของโครงการปลูกพืชทดแทนของไทย 2. แหล่งผลิตยาเสพติดสำคัญอยู่ในพื้นที่รัฐฉานเหนือ ซึ่งเป็นเขตรับผิดชอบของกลุ่มว้า(UWSA) และโกกั้ง (BNDA) มีโรงงานผลิตแบบถาวร 3 แห่ง ที่ผลิตทั้งยาบ้า เฮโรอีน ไอซ์ และหัวเชื้อยาบ้า เพื่อส่งไปผลิตอัดเม็ดที่โรงงานผลิตแบบชั่วคราวตามแนวชายแดนไทย ซึ่งมีอยู่ประมาณ 31 แห่ง 3. พื้นที่ปลูกกัญชาสำคัญอยู่ที่แขวงไชยบุรี และแขวงบอริคำไช สปป.ลาว ซึ่งเป็นพื้นที่ที่สามารถปลูกกัญชาได้ดี 4. แหล่งพักยาเสพติดบริเวณชายแดนประเทศเพื่อนบ้านมีอยู่ 75 แหล่ง ลดลงจากช่วงปีที่ผ่านมาที่มีอยู่ 109 แหล่ง