SlideShare a Scribd company logo
อินเตอร์เน็ต (internet) 	อินเทอร์เน็ต (Internet) มาจากคำว่า Inter Connection Network  หมายถึง เครือข่ายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบต่าง ๆ ที่ เชื่อมโยงกัน ลักษณะของระบบอินเทอร์เน็ต เป็นเสมือนใยแมงมุม  ที่ครอบคลุมทั่วโลก ในแต่ละจุดที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตนั้น สามารถ สื่อสารกันได้หลายเส้นทาง โดยไม่กำหนดตายตัว และไม่ จำเป็นต้องไปตามเส้นทางโดยตรง อาจจะผ่านจุดอื่น ๆ หรือ เลือก ไปเส้นทางอื่นได้หลาย ๆ เส้นทาง
อินเตอร์เน็ต (internet)
อินเตอร์เน็ต (internet) การทำงานของอินเทอร์เน็ต การสื่อสารข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์จะมีโปรโตคอล (Protocol) ซึ่งเป็นระเบียบ วิธีการสื่อสารที่เป็นมาตรฐานของการเชื่อมต่อกำหนดไว้ โปรโตคอลที่เป็น มาตรฐานสำหรับการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต คือ TCP/IP (Transmission Control  Protocol/Internet Protocol) เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่อเข้ากับ เครือข่ายอินเทอร์เน็ตจะต้องมีหมายเลขประจำเครื่อง ที่เรียกว่า IP Address เพื่อ เอาไว้อ้างอิงหรือติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆ ในเครือข่าย ซึ่ง IP ในที่นี้ก็คือ  Internet Protocol ตัวเดียวกับใน TCP/IP นั่นเอง IP address ถูกจัดเป็นตัวเลขชุด หนึ่งขนาด 32 บิต ใน 1 ชุดนี้จะมีตัวเลขถูกแบ่งออกเป็น 4 ส่วน ส่วนละ 8 บิต เท่าๆ กัน เวลาเขียนก็แปลงให้เป็นเลขฐานสิบก่อนเพื่อความง่ายแล้วเขียนโดยคั่น แต่ละส่วนด้วยจุด (.) ดังนั้นในตัวเลขแต่ละส่วนนี้จึงมีค่า  0 -256 คือ
xxx.xxx.xxx.xxx    192.168.200.150 แต่ละส่วน สามารถเป็นได้ 0-256  แต่ใช้งานจริง 1-255
อินเตอร์เน็ต (internet) โดเมนเนม (Domain name system :DNS) เนื่องจากการติดต่อสื่อสารกันกันในระบบอินเทอร์เน็ตใช้โปรโตคอล TCP/IP  เพื่อสื่อสารกัน โดยจะต้องมี IP address ในการอ้างอิงเสมอ แต่ IP  address นี้ถึงแม้จะจัดแบ่งเป็นส่วนๆ แล้วก็ยังมีอุปสรรคในการที่ต้องจดจำ  ถ้าเครื่องที่อยู่ในเครือข่ายมีจำนวนมากขึ้น การจดจำหมายเลข IP ดูจะเป็น เรื่องยาก และอาจสับสนจำผิดได้ แนวทางแก้ปัญหาคือการ ตั้งชื่อหรือตัวอักษรขึ้นมาแทนที่ IP address ซึ่งสะดวกในการจดจำมากกว่า  เช่น IP address คือ 203.183.233.6 แทนที่ด้วยชื่อ dusit.ac.th  ผู้ใช้งานสามารถ จดจำชื่อ dusit.ac.th ได้ง่ายกว่า การจำตัวเลข โดเมนที่ได้รับความนิยมกันทั่วโลก ที่ถือว่าเป็นโดเมนสากล มีดังนี้ คือ
การเขียน web site ด้วยภาษา HTML
Html คือ  HTML (ชื่อเต็มคือ Hypertext Markup Languageภาษามาร์กอัป) คือภาษามาร์กอัปออกแบบมาเพื่อใช้ในการสร้างเว็บเพจหรือข้อมูลอื่นที่เรียกดูผ่านทางเว็บเบราว์เซอร์เริ่มพัฒนาโดย ทิม เบอร์เนอรส์ ลี (Tim Berners Lee) ในปัจจุบัน HTML เป็นมาตรฐานหนึ่งของ ISO ซึ่งจัดการโดย World Wide Web
แทก คือ อะไร "< >" ซึ่งเราเรียกว่า แท็กคำสั่ง แท็กคำสั่ง HTML มีสองประเถท คือ แท็กเดี่ยว คือ แท็กคำสั่งที่ใช้ตอนเริ่มต้นคำสั่ง 		เช่น <br> แท็กคู่    คือ	แท็กคำสั่งที่มีการเริ่มต้นคำสั่งและสิ้นสุดคำสั่งโดย แท็กสิ้นคำสั่งนั้นจะมี /  นำหน้า 		เช่น <p>ข้อความ</p>
การเขียนภาษา html  การเขียนภาษา htmlนั้น มักจะเขียนด้วย โปรแกรมประเภท text editor และเมื่อ เขียนเสร็จ จะบันทึกให้เป็นนามสกุล html เช่น Index.html การเปิดดูwebsite นั้น สามารถเปิดดูด้วย web browser ทั่ว ๆ ไปได้ตามปกติ
โครงสร้างภาษา HTML  <html>	เริ่มต้นเขียนภาษา html </html>	สิ้นสุดการเขียนภาษา html <head>	เริ่มต้นเขียนส่วนหัว 	<title> ข้อความส่วนหัว </title> </head>	สิ้นสุดส่วนหัว <body>	เริ่มต้นสร้างเนื้อหา </body>	สิ้นสุดเนื้อหา
เริ่มต้นเขียนภาษา html <html> <head> <title> my web site </title> </head> <body> รักคนอ่านที่สุด  </body> </html>
Code สี HTML Code สี HTML  เป็นรหัสตัวเลขแทนสีจำนวน 6 หลัก โดย  2 หลักแรกแทน สีแดง      2 หลักกลางแทน สีเขียว   2 หลักหลังแทน สีน้ำเงิน     และนำหน้าด้วยเครื่องหมาย # แต่ละหลักเป็นเลขฐาน 16 สามารถเป็นได้ตั้งแต่ 0-F เช่น สีแดง #FF0000    สีเขียว #00FF00   สีน้ำเงิน #0000FF เราสามารถนำแม่สีมาผสมสีได้ เช่น สีม่วง ใช้สีน้ำเงินผสมกับสีแดง code ที่ได้คือ #FF00FF
สีพื้นหลัง <body bgcolor=“รหัสสี”> ตัวอย่าง <body bgcolor=“#ff00ff”>
สีตัวอักษร การใส่สีตัวอักษรสามารถใช้คำสั่ง <font color = “codeสี”> ข้อความ </font> ตัวอย่าง <font color = “#ffff00”> ข้อความ </font> หรือ <font color = “red”> ข้อความ </font>
ขนาดตัวอักษร <font size = “ขนาดข้อความ”> ข้อความ </font> ขนาดข้อความสามารถเป็นได้ตั้งแต่ 1-7 ตัวอย่าง <font size = “3”> ข้อความ </font>
กำหนดแบบอักษร <font face=“แบบอักษร”> ข้อความ </font> ตัวอย่าง <font face="Angsana New">แบบอักษร Angsana New</font> <br>
การจัดตำแหน่งข้อความ <br> สิ้นสุดบรรทัด ต้องการขึ้นบรรทัดใหม่ <p align=“ตำแหน่งข้อความ">ข้อความ</p> 		Left		= ชิดซ้าย center	= กึ่งกลาง Right	= ชิดขวา
การจัดตำแหน่งข้อความ <body> <p align="left">ข้อความชิดซ้าย</p> <br> <p align="center">ข้อความกึ่งกลาง </p> <br> <p align="right">ข้อความชิดขวา </p> <br> </body>
การจัดกึ่งกลาง <center>ข้อความ</center>
ตัวหนา  ตัวเอียง ขีดเส้นใต้ ตัวหนา		<b>ข้อความ</b> ตัวเอียง  	<i>ข้อความ</i> ขีดเส้นใต้	<u>ข้อความ</u>

More Related Content

What's hot

change_number_engtothai
change_number_engtothaichange_number_engtothai
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2Ton TC Tmsb
 
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
Ratchanok Nutyimyong
 
ลักษณะข้อดีและข้อด้อยของอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
ลักษณะข้อดีและข้อด้อยของอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ลักษณะข้อดีและข้อด้อยของอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
ลักษณะข้อดีและข้อด้อยของอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
กันตวัฒน์ แก่นทอง
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ตหน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ตPapichaya Chengtong
 
53011220011
5301122001153011220011
53011220011
김 천사
 
ใบความรู้ที่ 4 การเขียนโปรแกรมด้วย visual basic 2010
ใบความรู้ที่ 4 การเขียนโปรแกรมด้วย visual basic 2010ใบความรู้ที่ 4 การเขียนโปรแกรมด้วย visual basic 2010
ใบความรู้ที่ 4 การเขียนโปรแกรมด้วย visual basic 2010Nattapon
 

What's hot (9)

4
44
4
 
change_number_engtothai
change_number_engtothaichange_number_engtothai
change_number_engtothai
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2
 
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
 
ลักษณะข้อดีและข้อด้อยของอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
ลักษณะข้อดีและข้อด้อยของอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ลักษณะข้อดีและข้อด้อยของอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
ลักษณะข้อดีและข้อด้อยของอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 
Pai02
Pai02Pai02
Pai02
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ตหน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
 
53011220011
5301122001153011220011
53011220011
 
ใบความรู้ที่ 4 การเขียนโปรแกรมด้วย visual basic 2010
ใบความรู้ที่ 4 การเขียนโปรแกรมด้วย visual basic 2010ใบความรู้ที่ 4 การเขียนโปรแกรมด้วย visual basic 2010
ใบความรู้ที่ 4 การเขียนโปรแกรมด้วย visual basic 2010
 

Viewers also liked

ประวัติการถวายราชสดุดี
ประวัติการถวายราชสดุดีประวัติการถวายราชสดุดี
ประวัติการถวายราชสดุดี
Kon Bannok
 
เนื้อหา Html
เนื้อหา Htmlเนื้อหา Html
เนื้อหา HtmlRungnapha Naka
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษาสำหรับพัฒนาเว็บไซต์
บทที่ 3 พื้นฐานภาษาสำหรับพัฒนาเว็บไซต์บทที่ 3 พื้นฐานภาษาสำหรับพัฒนาเว็บไซต์
บทที่ 3 พื้นฐานภาษาสำหรับพัฒนาเว็บไซต์chiton2535
 
สรุป2 html
สรุป2 htmlสรุป2 html
สรุป2 htmlSchool
 
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่
Manop Kongoon
 
ประมวลการสอน เว็บเพจ
ประมวลการสอน เว็บเพจประมวลการสอน เว็บเพจ
ประมวลการสอน เว็บเพจSchool
 
รู้จักกับ Html(แก้ไข)
รู้จักกับ Html(แก้ไข)รู้จักกับ Html(แก้ไข)
รู้จักกับ Html(แก้ไข)
Beerza Kub
 
Html w6
Html w6Html w6
Html w6School
 
เอกสารประกอบการเรียน ภาษา HTML เบื้องต้น
เอกสารประกอบการเรียน  ภาษา HTML เบื้องต้นเอกสารประกอบการเรียน  ภาษา HTML เบื้องต้น
เอกสารประกอบการเรียน ภาษา HTML เบื้องต้น
Kon Bannok
 
การสอนเขียนHtml
การสอนเขียนHtmlการสอนเขียนHtml
การสอนเขียนHtmlchukiat008
 

Viewers also liked (18)

Html
HtmlHtml
Html
 
Soft hard tech
Soft hard techSoft hard tech
Soft hard tech
 
Html heroclass
Html heroclassHtml heroclass
Html heroclass
 
ความรู้เกี่ยวกับ Html
ความรู้เกี่ยวกับ Htmlความรู้เกี่ยวกับ Html
ความรู้เกี่ยวกับ Html
 
ประวัติการถวายราชสดุดี
ประวัติการถวายราชสดุดีประวัติการถวายราชสดุดี
ประวัติการถวายราชสดุดี
 
Html
HtmlHtml
Html
 
เนื้อหา Html
เนื้อหา Htmlเนื้อหา Html
เนื้อหา Html
 
Cai html
Cai htmlCai html
Cai html
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษาสำหรับพัฒนาเว็บไซต์
บทที่ 3 พื้นฐานภาษาสำหรับพัฒนาเว็บไซต์บทที่ 3 พื้นฐานภาษาสำหรับพัฒนาเว็บไซต์
บทที่ 3 พื้นฐานภาษาสำหรับพัฒนาเว็บไซต์
 
Html
HtmlHtml
Html
 
สรุป2 html
สรุป2 htmlสรุป2 html
สรุป2 html
 
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่
 
ประมวลการสอน เว็บเพจ
ประมวลการสอน เว็บเพจประมวลการสอน เว็บเพจ
ประมวลการสอน เว็บเพจ
 
รู้จักกับ Html(แก้ไข)
รู้จักกับ Html(แก้ไข)รู้จักกับ Html(แก้ไข)
รู้จักกับ Html(แก้ไข)
 
Html w6
Html w6Html w6
Html w6
 
เอกสารประกอบการเรียน ภาษา HTML เบื้องต้น
เอกสารประกอบการเรียน  ภาษา HTML เบื้องต้นเอกสารประกอบการเรียน  ภาษา HTML เบื้องต้น
เอกสารประกอบการเรียน ภาษา HTML เบื้องต้น
 
การสอนเขียนHtml
การสอนเขียนHtmlการสอนเขียนHtml
การสอนเขียนHtml
 
แผนการสอนการสร้างเว็บเพจ
แผนการสอนการสร้างเว็บเพจแผนการสอนการสร้างเว็บเพจ
แผนการสอนการสร้างเว็บเพจ
 

Similar to การเขียน Web site ด้วยภาษา html

ความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารใน
ความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารในความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารใน
ความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารในaru
 
M.5 3 11 13 24
M.5 3 11 13 24M.5 3 11 13 24
M.5 3 11 13 24
Mark'k Stk
 
M.5 3 11 13 24(PP)
M.5 3 11 13 24(PP)M.5 3 11 13 24(PP)
M.5 3 11 13 24(PP)
Mark'k Stk
 
ใบความรู้เรื่อง อินเตอร์เน็ต
ใบความรู้เรื่อง อินเตอร์เน็ตใบความรู้เรื่อง อินเตอร์เน็ต
ใบความรู้เรื่อง อินเตอร์เน็ต
อยู่ไหน เหงา
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
พีรพัฒน์ บุญวัชรพันธ์สกุล
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
พีรพัฒน์ บุญวัชรพันธ์สกุล
 
งานคอม 656
งานคอม 656งานคอม 656
งานคอม 656
Wittawat Kaodee
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นthanakorn123
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นthanakorn123
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นrachavo
 
อินเตอร์เน็ต Internet
อินเตอร์เน็ต Internetอินเตอร์เน็ต Internet
อินเตอร์เน็ต Internet
Joykorawan
 
Internet
InternetInternet
อินเตอร์เน็ต Internet
อินเตอร์เน็ต Internetอินเตอร์เน็ต Internet
อินเตอร์เน็ต Internet
Joykorawan
 
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
Assumption College Rayong
 
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
Assumption College Rayong
 

Similar to การเขียน Web site ด้วยภาษา html (20)

ความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารใน
ความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารในความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารใน
ความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารใน
 
2
22
2
 
2
22
2
 
M.5 3 11 13 24
M.5 3 11 13 24M.5 3 11 13 24
M.5 3 11 13 24
 
M.5 3 11 13 24(PP)
M.5 3 11 13 24(PP)M.5 3 11 13 24(PP)
M.5 3 11 13 24(PP)
 
ใบความรู้เรื่อง อินเตอร์เน็ต
ใบความรู้เรื่อง อินเตอร์เน็ตใบความรู้เรื่อง อินเตอร์เน็ต
ใบความรู้เรื่อง อินเตอร์เน็ต
 
Html 2
Html 2Html 2
Html 2
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
 
ประวัติความเป็นมาของ Internet
ประวัติความเป็นมาของ Internetประวัติความเป็นมาของ Internet
ประวัติความเป็นมาของ Internet
 
Protocol
ProtocolProtocol
Protocol
 
งานคอม 656
งานคอม 656งานคอม 656
งานคอม 656
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
 
อินเตอร์เน็ต Internet
อินเตอร์เน็ต Internetอินเตอร์เน็ต Internet
อินเตอร์เน็ต Internet
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
อินเตอร์เน็ต Internet
อินเตอร์เน็ต Internetอินเตอร์เน็ต Internet
อินเตอร์เน็ต Internet
 
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
 
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
 

More from Palasut

จำนวนข้อสอบ O net มัธยมศึกษาปีที่ 3 แยกตามรูปแบบของข้อสอบ ประจำปีการศึกษา 2554
จำนวนข้อสอบ O net มัธยมศึกษาปีที่ 3 แยกตามรูปแบบของข้อสอบ ประจำปีการศึกษา 2554 จำนวนข้อสอบ O net มัธยมศึกษาปีที่ 3 แยกตามรูปแบบของข้อสอบ ประจำปีการศึกษา 2554
จำนวนข้อสอบ O net มัธยมศึกษาปีที่ 3 แยกตามรูปแบบของข้อสอบ ประจำปีการศึกษา 2554 Palasut
 
06 e
06 e06 e
06 e
Palasut
 
05 e
05 e05 e
05 e
Palasut
 
04 e
04 e04 e
04 e
Palasut
 
01 e
01 e01 e
01 e
Palasut
 
03 e
03 e03 e
03 e
Palasut
 
02 e
02 e02 e
02 e
Palasut
 
Paper
PaperPaper
Paper
Palasut
 
O net m6
O net m6O net m6
O net m6
Palasut
 
นำเสนอระบบควบคุมภายใน
นำเสนอระบบควบคุมภายในนำเสนอระบบควบคุมภายใน
นำเสนอระบบควบคุมภายในPalasut
 
prodesk Lesson3
prodesk Lesson3prodesk Lesson3
prodesk Lesson3Palasut
 
prodesktop Lesson2
prodesktop  Lesson2prodesktop  Lesson2
prodesktop Lesson2Palasut
 
prodesktop Lesson1
prodesktop  Lesson1prodesktop  Lesson1
prodesktop Lesson1Palasut
 
การผูกเงื่อน
การผูกเงื่อนการผูกเงื่อน
การผูกเงื่อนPalasut
 

More from Palasut (14)

จำนวนข้อสอบ O net มัธยมศึกษาปีที่ 3 แยกตามรูปแบบของข้อสอบ ประจำปีการศึกษา 2554
จำนวนข้อสอบ O net มัธยมศึกษาปีที่ 3 แยกตามรูปแบบของข้อสอบ ประจำปีการศึกษา 2554 จำนวนข้อสอบ O net มัธยมศึกษาปีที่ 3 แยกตามรูปแบบของข้อสอบ ประจำปีการศึกษา 2554
จำนวนข้อสอบ O net มัธยมศึกษาปีที่ 3 แยกตามรูปแบบของข้อสอบ ประจำปีการศึกษา 2554
 
06 e
06 e06 e
06 e
 
05 e
05 e05 e
05 e
 
04 e
04 e04 e
04 e
 
01 e
01 e01 e
01 e
 
03 e
03 e03 e
03 e
 
02 e
02 e02 e
02 e
 
Paper
PaperPaper
Paper
 
O net m6
O net m6O net m6
O net m6
 
นำเสนอระบบควบคุมภายใน
นำเสนอระบบควบคุมภายในนำเสนอระบบควบคุมภายใน
นำเสนอระบบควบคุมภายใน
 
prodesk Lesson3
prodesk Lesson3prodesk Lesson3
prodesk Lesson3
 
prodesktop Lesson2
prodesktop  Lesson2prodesktop  Lesson2
prodesktop Lesson2
 
prodesktop Lesson1
prodesktop  Lesson1prodesktop  Lesson1
prodesktop Lesson1
 
การผูกเงื่อน
การผูกเงื่อนการผูกเงื่อน
การผูกเงื่อน
 

การเขียน Web site ด้วยภาษา html

  • 1. อินเตอร์เน็ต (internet) อินเทอร์เน็ต (Internet) มาจากคำว่า Inter Connection Network หมายถึง เครือข่ายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบต่าง ๆ ที่ เชื่อมโยงกัน ลักษณะของระบบอินเทอร์เน็ต เป็นเสมือนใยแมงมุม ที่ครอบคลุมทั่วโลก ในแต่ละจุดที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตนั้น สามารถ สื่อสารกันได้หลายเส้นทาง โดยไม่กำหนดตายตัว และไม่ จำเป็นต้องไปตามเส้นทางโดยตรง อาจจะผ่านจุดอื่น ๆ หรือ เลือก ไปเส้นทางอื่นได้หลาย ๆ เส้นทาง
  • 3. อินเตอร์เน็ต (internet) การทำงานของอินเทอร์เน็ต การสื่อสารข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์จะมีโปรโตคอล (Protocol) ซึ่งเป็นระเบียบ วิธีการสื่อสารที่เป็นมาตรฐานของการเชื่อมต่อกำหนดไว้ โปรโตคอลที่เป็น มาตรฐานสำหรับการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต คือ TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol) เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่อเข้ากับ เครือข่ายอินเทอร์เน็ตจะต้องมีหมายเลขประจำเครื่อง ที่เรียกว่า IP Address เพื่อ เอาไว้อ้างอิงหรือติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆ ในเครือข่าย ซึ่ง IP ในที่นี้ก็คือ Internet Protocol ตัวเดียวกับใน TCP/IP นั่นเอง IP address ถูกจัดเป็นตัวเลขชุด หนึ่งขนาด 32 บิต ใน 1 ชุดนี้จะมีตัวเลขถูกแบ่งออกเป็น 4 ส่วน ส่วนละ 8 บิต เท่าๆ กัน เวลาเขียนก็แปลงให้เป็นเลขฐานสิบก่อนเพื่อความง่ายแล้วเขียนโดยคั่น แต่ละส่วนด้วยจุด (.) ดังนั้นในตัวเลขแต่ละส่วนนี้จึงมีค่า 0 -256 คือ
  • 4. xxx.xxx.xxx.xxx 192.168.200.150 แต่ละส่วน สามารถเป็นได้ 0-256 แต่ใช้งานจริง 1-255
  • 5. อินเตอร์เน็ต (internet) โดเมนเนม (Domain name system :DNS) เนื่องจากการติดต่อสื่อสารกันกันในระบบอินเทอร์เน็ตใช้โปรโตคอล TCP/IP เพื่อสื่อสารกัน โดยจะต้องมี IP address ในการอ้างอิงเสมอ แต่ IP address นี้ถึงแม้จะจัดแบ่งเป็นส่วนๆ แล้วก็ยังมีอุปสรรคในการที่ต้องจดจำ ถ้าเครื่องที่อยู่ในเครือข่ายมีจำนวนมากขึ้น การจดจำหมายเลข IP ดูจะเป็น เรื่องยาก และอาจสับสนจำผิดได้ แนวทางแก้ปัญหาคือการ ตั้งชื่อหรือตัวอักษรขึ้นมาแทนที่ IP address ซึ่งสะดวกในการจดจำมากกว่า เช่น IP address คือ 203.183.233.6 แทนที่ด้วยชื่อ dusit.ac.th ผู้ใช้งานสามารถ จดจำชื่อ dusit.ac.th ได้ง่ายกว่า การจำตัวเลข โดเมนที่ได้รับความนิยมกันทั่วโลก ที่ถือว่าเป็นโดเมนสากล มีดังนี้ คือ
  • 6. การเขียน web site ด้วยภาษา HTML
  • 7. Html คือ HTML (ชื่อเต็มคือ Hypertext Markup Languageภาษามาร์กอัป) คือภาษามาร์กอัปออกแบบมาเพื่อใช้ในการสร้างเว็บเพจหรือข้อมูลอื่นที่เรียกดูผ่านทางเว็บเบราว์เซอร์เริ่มพัฒนาโดย ทิม เบอร์เนอรส์ ลี (Tim Berners Lee) ในปัจจุบัน HTML เป็นมาตรฐานหนึ่งของ ISO ซึ่งจัดการโดย World Wide Web
  • 8. แทก คือ อะไร "< >" ซึ่งเราเรียกว่า แท็กคำสั่ง แท็กคำสั่ง HTML มีสองประเถท คือ แท็กเดี่ยว คือ แท็กคำสั่งที่ใช้ตอนเริ่มต้นคำสั่ง เช่น <br> แท็กคู่ คือ แท็กคำสั่งที่มีการเริ่มต้นคำสั่งและสิ้นสุดคำสั่งโดย แท็กสิ้นคำสั่งนั้นจะมี / นำหน้า เช่น <p>ข้อความ</p>
  • 9. การเขียนภาษา html การเขียนภาษา htmlนั้น มักจะเขียนด้วย โปรแกรมประเภท text editor และเมื่อ เขียนเสร็จ จะบันทึกให้เป็นนามสกุล html เช่น Index.html การเปิดดูwebsite นั้น สามารถเปิดดูด้วย web browser ทั่ว ๆ ไปได้ตามปกติ
  • 10. โครงสร้างภาษา HTML <html> เริ่มต้นเขียนภาษา html </html> สิ้นสุดการเขียนภาษา html <head> เริ่มต้นเขียนส่วนหัว <title> ข้อความส่วนหัว </title> </head> สิ้นสุดส่วนหัว <body> เริ่มต้นสร้างเนื้อหา </body> สิ้นสุดเนื้อหา
  • 11. เริ่มต้นเขียนภาษา html <html> <head> <title> my web site </title> </head> <body> รักคนอ่านที่สุด </body> </html>
  • 12. Code สี HTML Code สี HTML เป็นรหัสตัวเลขแทนสีจำนวน 6 หลัก โดย 2 หลักแรกแทน สีแดง 2 หลักกลางแทน สีเขียว 2 หลักหลังแทน สีน้ำเงิน และนำหน้าด้วยเครื่องหมาย # แต่ละหลักเป็นเลขฐาน 16 สามารถเป็นได้ตั้งแต่ 0-F เช่น สีแดง #FF0000 สีเขียว #00FF00 สีน้ำเงิน #0000FF เราสามารถนำแม่สีมาผสมสีได้ เช่น สีม่วง ใช้สีน้ำเงินผสมกับสีแดง code ที่ได้คือ #FF00FF
  • 13. สีพื้นหลัง <body bgcolor=“รหัสสี”> ตัวอย่าง <body bgcolor=“#ff00ff”>
  • 14. สีตัวอักษร การใส่สีตัวอักษรสามารถใช้คำสั่ง <font color = “codeสี”> ข้อความ </font> ตัวอย่าง <font color = “#ffff00”> ข้อความ </font> หรือ <font color = “red”> ข้อความ </font>
  • 15. ขนาดตัวอักษร <font size = “ขนาดข้อความ”> ข้อความ </font> ขนาดข้อความสามารถเป็นได้ตั้งแต่ 1-7 ตัวอย่าง <font size = “3”> ข้อความ </font>
  • 16. กำหนดแบบอักษร <font face=“แบบอักษร”> ข้อความ </font> ตัวอย่าง <font face="Angsana New">แบบอักษร Angsana New</font> <br>
  • 17. การจัดตำแหน่งข้อความ <br> สิ้นสุดบรรทัด ต้องการขึ้นบรรทัดใหม่ <p align=“ตำแหน่งข้อความ">ข้อความ</p> Left = ชิดซ้าย center = กึ่งกลาง Right = ชิดขวา
  • 18. การจัดตำแหน่งข้อความ <body> <p align="left">ข้อความชิดซ้าย</p> <br> <p align="center">ข้อความกึ่งกลาง </p> <br> <p align="right">ข้อความชิดขวา </p> <br> </body>
  • 20. ตัวหนา ตัวเอียง ขีดเส้นใต้ ตัวหนา <b>ข้อความ</b> ตัวเอียง <i>ข้อความ</i> ขีดเส้นใต้ <u>ข้อความ</u>