SlideShare a Scribd company logo
[เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการเขียนโปรแกรมขั้นสูง] 1
ครูณัฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมด้วย Visual Basic 2010
องค์ประกอบในการเขียนโปรแกรมที่ควรรู้จักในเบื้องต้น
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษา VB ค่อนข้างจะง่ายกว่าภาษาอื่นๆ เนื่องจากกฎเกณฑ์ทางด้านภาษมไม่
เคร่งครัด โดยส่งที่เราควรรู้จักในเบื้องต้น มีดังนี้
1. การกาหนดข้อมูลชนิดตัวเลขและสตริง
วิธีการกาหนดข้อมูลพื้นฐานสองชนิดที่เราควรรู้จักคือ ข้อมูลที่เป็นตัวเลขและสตริง(ข้อความ) โดยมี
รูปแบบการประกาศตัวแปรดังนี้
การกาหนดตัวแปรชนิดตัวเลข
Dim x = 123
Dim y = 456.78
การกาหนดตัวแปรชนิดสตริง(ข้อความ)
Dim e = “Visual Studio”
Dim t = “สวัสดีครับ”
2. การรันและหยุดรัน
การรัน (Run) ก็คือการสั่งให้โปรแกรมทางานตามโค๊ดที่เราเขียนไว้ ซึ่งสามารถทาได้หลายวิธี เช่น
 กดแป้นพิมพ์ F5
 คลิกที่ปุ่ม Start Debugging บนทูลบาร์
หากต้องการหยุดรันสามารถทาได้โดย
 กดแป้มพิมพ์ Shift + F5
 คลิกที่ปุ่ม Stop Debugging บนทูลบาร์
3. การแสดงข้อความด้วย MessagBox.Show()
การแสดงข้อความ เป็นการแจ้งข้อมูลบางอย่างแก่ผู้ใช้ เช่น แสดงผลลัพธ์ หรือคาเตือน เป็นต้น ซึ่ง
การแสดงข้อมูลเราจะใช้คาสั่ง MessageBox.Show() โดยมีรูปแบบอย่างง่ายดังนี้
MessageBox.Show(ข้อความ)
ข้อความเขียนในแบบสตริง เช่น
MessageBox.Show(“สวัสดีครับ ยินดีต้อนรับสู่ Visual Basic 2010”)
[เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการเขียนโปรแกรมขั้นสูง] 2
ครูณัฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา
4. การตรวจสอบข้อผิดพลาดเบื้องต้น
“ข้อผิดพลาด” คือสิ่งที่เกิดขึ้นได้เสมอในการเขียนโปรแกรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่เพิ่งเริ่มต้นศึกษา
การเขียนโปรแกรม มักจะพบกับปัญหามากมาย แต่ถ้าผ่านการเขียนโปรแกรมไปสักระยะ ปัญหาจะลดลง
เรื่อยๆ และสามารถหาทางแก้ปัญหาได้เร็วขึ้น โดยการเขียนโปรแกรมด้วย VB นี้ หากเป็นข้อผิดพลาดทางไว
ยกรณ์ (Syntax Error) เช่น พิมพ์ผิด ระบบจะแสดงข้อความให้ทันที ดังรูปด้านล่าง
โดยถ้าต้องการแก้ไข ให้คลิกปุ่ม No แต่หากต้องการย้อนกลับไปใช้การรันครั้งล่าสุดที่ไม่เกิด
ข้อผิดพลาดให้คลิกปุ่ม Yes
5. การสร้างปุ่มสั่งงานด้วย Button
Button เป็นปุ่มสาหรับคลิกเพื่อสั่งงานให้กระทาการบางอย่างตามที่เราต้องการ เช่น เมื่อคลิก
Button ก็ให้อ่านข้อมูลไปประมวลผล เป็นต้น ทั้งนี้ ปุ่ม Button ถือว่าเป็นคอนโทรลที่เราต้องใช้งานมากที่สุด
ตัวหนึ่ง โดยมีแนวทางการนามาใช้งานดังนี้
1) นาคอนโทรล Button จากทูลบ็อกซ์มาวางบนฟอร์ม
2) กาหนดข้อความบน Button ที่ Properties ที่ชื่อว่า Text
[เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการเขียนโปรแกรมขั้นสูง] 3
ครูณัฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา
3) ปกติแล้วโปรแกรมจะกาหนดชื่อ (Properties Name) โดยนาตัวเลขมาต่อท้ายชื่อคอนโทรล
นั่น เช่น Button1, Button2 เป็นต้น ซึ่งการเขียนโปรแกรมขนาดใหญ่ การกาหนดชื่อ
คอนโทรลเป็นสิ่งสาคัญที่จะทาให้เข้าใจโปรแกรมนั้นๆ ได้ง่าย ดังนั้นเราจึงควรกาหนดชื่อ
ให้กับคอนโทรลนั้นๆ ด้วย ดังรูป
6. การกาหนดข้อความด้วย Label
Label เป็นเสมือนป้ายที่ใช้แสดงข้อความบนฟอร์ม ทั้งนี้เนื่องจากเราไม่สามารถเขียนข้อความลงไป
บนฟอร์มโดยตรงได้ จึงต้องนา Label ไปวางไว้ ณ ตาแหน่งที่ต้องการแล้วกาหนดข้อความนั้นผ่านทาง Label
แทน โดยมีหลักการดังนี้
1) นา Label มาวางบนฟอร์ม
2) กาหนดข้อความที่ต้องการแสดงบน Label ที่ Properties ที่ชื่อว่า Text
7. การรับข้อมูลด้วย TextBox
TextBox เป็นคอนโทรลที่มีลักษณะเป็นช่องรับข้อมูล โดยผู้ใช้สามารถพิมพ์ข้อมูลที่ต้องการลงไป แล้ว
จากนั้นเราก็สามารถอ่านข้อมูลนั้นไปใช้งานอื่นๆ ต่อไปนี้ โดยแนวทางการใช้ TextBox มีดังนี้
1) นา TextBox จากทูลบ็อกซ์มาวางบนฟอร์ม
2) ในการใช้ TextBox โดยทั่วไปเราต้องเขียนโค้ดเพื่อจัดการข้อมูลอยู่แล้ว ดังนั้น เราควรกาหนดชื่อ
หรือ Properties ที่ชื่อ Name ของ TextBox ให้สื่อความหมายต่อการใช้งาน
3) ปกติแล้วแล้วภายใน TextBox จะยังไม่มีข้อความใดๆ อยู่ก่อน เพราะต้องรับจากข้อมูลผู้ใช้ แต่
หากเราต้องการแสดงข้อความบางอย่างไว้ล่วงหน้า สามารถกาหนดได้ที่ Properties ที่ชื่อ Text
เช่นเดียวกับคอนโทรลอื่นๆ
[เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการเขียนโปรแกรมขั้นสูง] 4
ครูณัฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา
8. การแปลงข้อมูล String Number ให้เป็นตัวเลข
String Number ก็คือข้อมูลที่เป็นตัวเลขแต่เขียนในแบบสตริง เช่น ตัวเลขที่เขียนไว้ในเครื่องหมาย
“…” หรือตัวเลขที่อ่านจาก Properties ชื่อ Text ของคอนโทรลต่างๆ จะถือว่าเป็นข้อมูลสตริง แม้ว่าจะเป็น
ตัวเลขทั้งหมดก็ตาม
ในการแปลงสตริงเป็นตัวเลขจานวนเต็มที่ไม่มีจุดทศนิยม ใช้คาสั่ง CInt(“123”)
ในการแปลงสตริงเป็นตัวเลขที่มีทศนิยม ใช้คาสั่ง CDbl(“123.456”)
9. การเชื่อมต่อสตริง
การเชื่อมต่อสตริงหรือข้อความ เป็นการนาสตริงตั้งแต่ 2 สตริงขึ้นไปมาเชื่อมต่อกัน การเชื่อมต่อจะใช้
เครื่องหมาย + หรือ & อย่างใดอย่างหนึ่ง โดยมีรูปแบบการใช้ดังนี้
Dim a = “Visual” + “ ” + “Basic” จะได้ผลลัพธ์เป็น Visual Basic
Dim b = “Visual” & “ ” & “Basic” จะได้ผลลัพธ์เป็น Visual Basic
Dim c = “Visual ” & 2010 จะได้ผลลัพธ์เป็น Visual 2010
หมายเหตุ : การเชื่อมสตริงกับตัวเลข สามารถใช้เครื่องหมาย & ได้โดยตรง
10. การแสดงข้อความหลายบรรทัด
ปกติแล้วสตริงทั้งหมดจะถูกเขียนเรียงต่อกัน ซึ่งหากเรานาไปแสดงผลด้วย MessageBox จะทาให้
อ่านข้อมูลได้ยากและดูไม่สวยงาม แต่หากต้องการตัดสตริงหรือเว้นบรรทัด จะสามารถทาได้ ดังตัวอย่าง
ต่อไปนี้
Dim a = “My name is Nattapon” + vbNewLine + _
“My surname is Buaurai” + vbNewLine + _
“I’m a teacher”
เอกสารอ้างอิง : หนังสือ “การพัฒนาแอปพลิเคชั่นด้วย Visual Basic 2010” ผู้แต่ง : “บัญชา ปะสีละเตสัง”

More Related Content

Viewers also liked

2014 st josephs geelong physics lecture
2014 st josephs geelong physics lecture2014 st josephs geelong physics lecture
2014 st josephs geelong physics lecture
Andrew Smith
 
2014 st josephs geelong spec maths
2014 st josephs geelong spec maths2014 st josephs geelong spec maths
2014 st josephs geelong spec maths
Andrew Smith
 
Energy Efficiency in Cloud Software Architectures - ICT.OPEN 2013
Energy Efficiency in Cloud Software Architectures - ICT.OPEN 2013Energy Efficiency in Cloud Software Architectures - ICT.OPEN 2013
Energy Efficiency in Cloud Software Architectures - ICT.OPEN 2013
Giuseppe Procaccianti
 
SEIT 2013: A Categorization of Green Practices used by Dutch data centers
SEIT 2013: A Categorization of Green Practices used by Dutch data centersSEIT 2013: A Categorization of Green Practices used by Dutch data centers
SEIT 2013: A Categorization of Green Practices used by Dutch data centers
Giuseppe Procaccianti
 
St Josephs Geelong Specialist Maths Lecture
St Josephs Geelong Specialist Maths LectureSt Josephs Geelong Specialist Maths Lecture
St Josephs Geelong Specialist Maths Lecture
Andrew Smith
 
EnviroInfo 2013: Energy Efficiency in Cloud Software Architectures
EnviroInfo 2013: Energy Efficiency in Cloud Software ArchitecturesEnviroInfo 2013: Energy Efficiency in Cloud Software Architectures
EnviroInfo 2013: Energy Efficiency in Cloud Software Architectures
Giuseppe Procaccianti
 
Energy Efficiency of ORM Approaches
Energy Efficiency of ORM ApproachesEnergy Efficiency of ORM Approaches
Energy Efficiency of ORM Approaches
Giuseppe Procaccianti
 
St Josephs Geelong 2014 Physics Lecture
St Josephs Geelong 2014 Physics LectureSt Josephs Geelong 2014 Physics Lecture
St Josephs Geelong 2014 Physics Lecture
Andrew Smith
 
Delegating Data Management to the Cloud: A Case Study in a Telecommunications...
Delegating Data Management to the Cloud: A Case Study in a Telecommunications...Delegating Data Management to the Cloud: A Case Study in a Telecommunications...
Delegating Data Management to the Cloud: A Case Study in a Telecommunications...
Giuseppe Procaccianti
 
The Green Lab - [07-A] Data Analysis
The Green Lab - [07-A] Data AnalysisThe Green Lab - [07-A] Data Analysis
The Green Lab - [07-A] Data Analysis
Giuseppe Procaccianti
 
The Green Lab - [12-A] Data visualization in R
The Green Lab - [12-A] Data visualization in RThe Green Lab - [12-A] Data visualization in R
The Green Lab - [12-A] Data visualization in R
Giuseppe Procaccianti
 
The Green Lab - [11-A] Data Visualization
The Green Lab - [11-A] Data VisualizationThe Green Lab - [11-A] Data Visualization
The Green Lab - [11-A] Data Visualization
Giuseppe Procaccianti
 

Viewers also liked (14)

2014 st josephs geelong physics lecture
2014 st josephs geelong physics lecture2014 st josephs geelong physics lecture
2014 st josephs geelong physics lecture
 
2014 st josephs geelong spec maths
2014 st josephs geelong spec maths2014 st josephs geelong spec maths
2014 st josephs geelong spec maths
 
Energy Efficiency in Cloud Software Architectures - ICT.OPEN 2013
Energy Efficiency in Cloud Software Architectures - ICT.OPEN 2013Energy Efficiency in Cloud Software Architectures - ICT.OPEN 2013
Energy Efficiency in Cloud Software Architectures - ICT.OPEN 2013
 
SEIT 2013: A Categorization of Green Practices used by Dutch data centers
SEIT 2013: A Categorization of Green Practices used by Dutch data centersSEIT 2013: A Categorization of Green Practices used by Dutch data centers
SEIT 2013: A Categorization of Green Practices used by Dutch data centers
 
St Josephs Geelong Specialist Maths Lecture
St Josephs Geelong Specialist Maths LectureSt Josephs Geelong Specialist Maths Lecture
St Josephs Geelong Specialist Maths Lecture
 
EnviroInfo 2013: Energy Efficiency in Cloud Software Architectures
EnviroInfo 2013: Energy Efficiency in Cloud Software ArchitecturesEnviroInfo 2013: Energy Efficiency in Cloud Software Architectures
EnviroInfo 2013: Energy Efficiency in Cloud Software Architectures
 
Energy Efficiency of ORM Approaches
Energy Efficiency of ORM ApproachesEnergy Efficiency of ORM Approaches
Energy Efficiency of ORM Approaches
 
St Josephs Geelong 2014 Physics Lecture
St Josephs Geelong 2014 Physics LectureSt Josephs Geelong 2014 Physics Lecture
St Josephs Geelong 2014 Physics Lecture
 
Dreamwever cs3
Dreamwever cs3Dreamwever cs3
Dreamwever cs3
 
Delegating Data Management to the Cloud: A Case Study in a Telecommunications...
Delegating Data Management to the Cloud: A Case Study in a Telecommunications...Delegating Data Management to the Cloud: A Case Study in a Telecommunications...
Delegating Data Management to the Cloud: A Case Study in a Telecommunications...
 
Adobe flash-คู่มือ-สำหรับครู
Adobe flash-คู่มือ-สำหรับครูAdobe flash-คู่มือ-สำหรับครู
Adobe flash-คู่มือ-สำหรับครู
 
The Green Lab - [07-A] Data Analysis
The Green Lab - [07-A] Data AnalysisThe Green Lab - [07-A] Data Analysis
The Green Lab - [07-A] Data Analysis
 
The Green Lab - [12-A] Data visualization in R
The Green Lab - [12-A] Data visualization in RThe Green Lab - [12-A] Data visualization in R
The Green Lab - [12-A] Data visualization in R
 
The Green Lab - [11-A] Data Visualization
The Green Lab - [11-A] Data VisualizationThe Green Lab - [11-A] Data Visualization
The Green Lab - [11-A] Data Visualization
 

Similar to Visualbasic2010

ใบความรู้ที่ 4 การเขียนโปรแกรมด้วย visual basic 2010
ใบความรู้ที่ 4 การเขียนโปรแกรมด้วย visual basic 2010ใบความรู้ที่ 4 การเขียนโปรแกรมด้วย visual basic 2010
ใบความรู้ที่ 4 การเขียนโปรแกรมด้วย visual basic 2010Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นNattapon
 
องค์ประกอบของวิชวลเบสิก
องค์ประกอบของวิชวลเบสิกองค์ประกอบของวิชวลเบสิก
องค์ประกอบของวิชวลเบสิก
pisan kiatudomsak
 
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นNattapon
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรมใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรมNattapon
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรมใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรมNattapon
 
1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซีmansuang1978
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Kittichai Pinlert
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Kittichai Pinlert
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
ณัฐพล บัวพันธ์
 
Moodle e-Learning
Moodle e-LearningMoodle e-Learning
Moodle e-Learning
Boonlert Aroonpiboon
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ปรียาพร ศิริวัฒน์
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
Morn Suwanno
 
ใบความรู้ที่ 5 เรื่องโปรแกรมคำนวณเลข
ใบความรู้ที่ 5 เรื่องโปรแกรมคำนวณเลขใบความรู้ที่ 5 เรื่องโปรแกรมคำนวณเลข
ใบความรู้ที่ 5 เรื่องโปรแกรมคำนวณเลขNattapon
 

Similar to Visualbasic2010 (20)

ใบความรู้ที่ 4 การเขียนโปรแกรมด้วย visual basic 2010
ใบความรู้ที่ 4 การเขียนโปรแกรมด้วย visual basic 2010ใบความรู้ที่ 4 การเขียนโปรแกรมด้วย visual basic 2010
ใบความรู้ที่ 4 การเขียนโปรแกรมด้วย visual basic 2010
 
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
 
องค์ประกอบของวิชวลเบสิก
องค์ประกอบของวิชวลเบสิกองค์ประกอบของวิชวลเบสิก
องค์ประกอบของวิชวลเบสิก
 
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรมใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
 
Know 1 1
Know 1 1Know 1 1
Know 1 1
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรมใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
 
Dw ch06 form_and_php
Dw ch06 form_and_phpDw ch06 form_and_php
Dw ch06 form_and_php
 
vb.net
vb.netvb.net
vb.net
 
Webbasic
WebbasicWebbasic
Webbasic
 
1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
Moodle e-Learning
Moodle e-LearningMoodle e-Learning
Moodle e-Learning
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
53011220073
5301122007353011220073
53011220073
 
ใบความรู้ที่ 5 เรื่องโปรแกรมคำนวณเลข
ใบความรู้ที่ 5 เรื่องโปรแกรมคำนวณเลขใบความรู้ที่ 5 เรื่องโปรแกรมคำนวณเลข
ใบความรู้ที่ 5 เรื่องโปรแกรมคำนวณเลข
 
53011220030
5301122003053011220030
53011220030
 

More from สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บุรพภาค ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บุรพภาค ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บุรพภาค ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บุรพภาค ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์  ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์  ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
พจนานุกรมบาลี - ไทย อรรถกถาธรรมบท ภาค ๕ - ๘.pdf
พจนานุกรมบาลี - ไทย  อรรถกถาธรรมบท ภาค ๕ - ๘.pdfพจนานุกรมบาลี - ไทย  อรรถกถาธรรมบท ภาค ๕ - ๘.pdf
พจนานุกรมบาลี - ไทย อรรถกถาธรรมบท ภาค ๕ - ๘.pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
พจนานุกรมบาลี - ไทย อรรถกถาธรรมบท ภาค ๑ - ๔ วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก กรุงเทพฯ
พจนานุกรมบาลี - ไทย อรรถกถาธรรมบท ภาค ๑ - ๔ วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก กรุงเทพฯพจนานุกรมบาลี - ไทย อรรถกถาธรรมบท ภาค ๑ - ๔ วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก กรุงเทพฯ
พจนานุกรมบาลี - ไทย อรรถกถาธรรมบท ภาค ๑ - ๔ วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก กรุงเทพฯ
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ทำตัวกิริยาศัพท์ ตามขั้นตอน อย่างง่าย _ Step By Step _Pali Verb Building
ทำตัวกิริยาศัพท์ ตามขั้นตอน อย่างง่าย _ Step By Step _Pali Verb Buildingทำตัวกิริยาศัพท์ ตามขั้นตอน อย่างง่าย _ Step By Step _Pali Verb Building
ทำตัวกิริยาศัพท์ ตามขั้นตอน อย่างง่าย _ Step By Step _Pali Verb Building
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ประโยคโบราณ ในพระธัมมปทัฏฐกถา _ _การใช้ภาษาบาลี.pdf
ประโยคโบราณ ในพระธัมมปทัฏฐกถา _ _การใช้ภาษาบาลี.pdfประโยคโบราณ ในพระธัมมปทัฏฐกถา _ _การใช้ภาษาบาลี.pdf
ประโยคโบราณ ในพระธัมมปทัฏฐกถา _ _การใช้ภาษาบาลี.pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ประโยคแบบ ในภาษาบาลี _ _การใช้ภาษาบาลี.pdf
ประโยคแบบ ในภาษาบาลี _ _การใช้ภาษาบาลี.pdfประโยคแบบ ในภาษาบาลี _ _การใช้ภาษาบาลี.pdf
ประโยคแบบ ในภาษาบาลี _ _การใช้ภาษาบาลี.pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การใช้ สเจ ศัพท์ ในประโยคเงื่อนไข _ การใช้ภาษาบาลี
การใช้ สเจ ศัพท์ ในประโยคเงื่อนไข _ การใช้ภาษาบาลีการใช้ สเจ ศัพท์ ในประโยคเงื่อนไข _ การใช้ภาษาบาลี
การใช้ สเจ ศัพท์ ในประโยคเงื่อนไข _ การใช้ภาษาบาลี
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การสร้างประโยคคำถามในภาษาบาลี_การใช้ภาษาบาลี
การสร้างประโยคคำถามในภาษาบาลี_การใช้ภาษาบาลีการสร้างประโยคคำถามในภาษาบาลี_การใช้ภาษาบาลี
การสร้างประโยคคำถามในภาษาบาลี_การใช้ภาษาบาลี
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ประโยคที่กิริยาซ้อนกัน และหลักการแปลมคธเป็นไทย.pdf
ประโยคที่กิริยาซ้อนกัน และหลักการแปลมคธเป็นไทย.pdfประโยคที่กิริยาซ้อนกัน และหลักการแปลมคธเป็นไทย.pdf
ประโยคที่กิริยาซ้อนกัน และหลักการแปลมคธเป็นไทย.pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การแปลบทสมาสที่สัมพันธ์กับบทอื่นๆ_Samasa Relating To Other Words
การแปลบทสมาสที่สัมพันธ์กับบทอื่นๆ_Samasa Relating To Other Wordsการแปลบทสมาสที่สัมพันธ์กับบทอื่นๆ_Samasa Relating To Other Words
การแปลบทสมาสที่สัมพันธ์กับบทอื่นๆ_Samasa Relating To Other Words
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
คําเรียกญาติ (บาลี-ไทย-อังกฤษ)_Family Tree Pali.pdf
คําเรียกญาติ (บาลี-ไทย-อังกฤษ)_Family Tree Pali.pdfคําเรียกญาติ (บาลี-ไทย-อังกฤษ)_Family Tree Pali.pdf
คําเรียกญาติ (บาลี-ไทย-อังกฤษ)_Family Tree Pali.pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ประมวลศัพท์บาลี ตามหมวดหมู่ _ Pali_Vocab
ประมวลศัพท์บาลี ตามหมวดหมู่ _ Pali_Vocabประมวลศัพท์บาลี ตามหมวดหมู่ _ Pali_Vocab
การแปล อนฺต, มาน, ต, ตฺวา ปัจจัย_Anta-Mana-Ta-Tva_Translation
การแปล  อนฺต,  มาน,  ต,  ตฺวา  ปัจจัย_Anta-Mana-Ta-Tva_Translationการแปล  อนฺต,  มาน,  ต,  ตฺวา  ปัจจัย_Anta-Mana-Ta-Tva_Translation
การแปล อนฺต, มาน, ต, ตฺวา ปัจจัย_Anta-Mana-Ta-Tva_Translation
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ธ.3 พ.ศ.2550-2566 (17 ปี)_Pali grammar Exam A...
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ธ.3 พ.ศ.2550-2566 (17 ปี)_Pali grammar Exam A...ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ธ.3 พ.ศ.2550-2566 (17 ปี)_Pali grammar Exam A...
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ธ.3 พ.ศ.2550-2566 (17 ปี)_Pali grammar Exam A...
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

More from สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral) (20)

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บุรพภาค ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บุรพภาค ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บุรพภาค ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บุรพภาค ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์  ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์  ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
พจนานุกรมบาลี - ไทย อรรถกถาธรรมบท ภาค ๕ - ๘.pdf
พจนานุกรมบาลี - ไทย  อรรถกถาธรรมบท ภาค ๕ - ๘.pdfพจนานุกรมบาลี - ไทย  อรรถกถาธรรมบท ภาค ๕ - ๘.pdf
พจนานุกรมบาลี - ไทย อรรถกถาธรรมบท ภาค ๕ - ๘.pdf
 
พจนานุกรมบาลี - ไทย อรรถกถาธรรมบท ภาค ๑ - ๔ วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก กรุงเทพฯ
พจนานุกรมบาลี - ไทย อรรถกถาธรรมบท ภาค ๑ - ๔ วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก กรุงเทพฯพจนานุกรมบาลี - ไทย อรรถกถาธรรมบท ภาค ๑ - ๔ วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก กรุงเทพฯ
พจนานุกรมบาลี - ไทย อรรถกถาธรรมบท ภาค ๑ - ๔ วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก กรุงเทพฯ
 
ทำตัวกิริยาศัพท์ ตามขั้นตอน อย่างง่าย _ Step By Step _Pali Verb Building
ทำตัวกิริยาศัพท์ ตามขั้นตอน อย่างง่าย _ Step By Step _Pali Verb Buildingทำตัวกิริยาศัพท์ ตามขั้นตอน อย่างง่าย _ Step By Step _Pali Verb Building
ทำตัวกิริยาศัพท์ ตามขั้นตอน อย่างง่าย _ Step By Step _Pali Verb Building
 
ประโยคโบราณ ในพระธัมมปทัฏฐกถา _ _การใช้ภาษาบาลี.pdf
ประโยคโบราณ ในพระธัมมปทัฏฐกถา _ _การใช้ภาษาบาลี.pdfประโยคโบราณ ในพระธัมมปทัฏฐกถา _ _การใช้ภาษาบาลี.pdf
ประโยคโบราณ ในพระธัมมปทัฏฐกถา _ _การใช้ภาษาบาลี.pdf
 
ประโยคแบบ ในภาษาบาลี _ _การใช้ภาษาบาลี.pdf
ประโยคแบบ ในภาษาบาลี _ _การใช้ภาษาบาลี.pdfประโยคแบบ ในภาษาบาลี _ _การใช้ภาษาบาลี.pdf
ประโยคแบบ ในภาษาบาลี _ _การใช้ภาษาบาลี.pdf
 
การใช้ สเจ ศัพท์ ในประโยคเงื่อนไข _ การใช้ภาษาบาลี
การใช้ สเจ ศัพท์ ในประโยคเงื่อนไข _ การใช้ภาษาบาลีการใช้ สเจ ศัพท์ ในประโยคเงื่อนไข _ การใช้ภาษาบาลี
การใช้ สเจ ศัพท์ ในประโยคเงื่อนไข _ การใช้ภาษาบาลี
 
การสร้างประโยคคำถามในภาษาบาลี_การใช้ภาษาบาลี
การสร้างประโยคคำถามในภาษาบาลี_การใช้ภาษาบาลีการสร้างประโยคคำถามในภาษาบาลี_การใช้ภาษาบาลี
การสร้างประโยคคำถามในภาษาบาลี_การใช้ภาษาบาลี
 
ประโยคที่กิริยาซ้อนกัน และหลักการแปลมคธเป็นไทย.pdf
ประโยคที่กิริยาซ้อนกัน และหลักการแปลมคธเป็นไทย.pdfประโยคที่กิริยาซ้อนกัน และหลักการแปลมคธเป็นไทย.pdf
ประโยคที่กิริยาซ้อนกัน และหลักการแปลมคธเป็นไทย.pdf
 
การแปลบทสมาสที่สัมพันธ์กับบทอื่นๆ_Samasa Relating To Other Words
การแปลบทสมาสที่สัมพันธ์กับบทอื่นๆ_Samasa Relating To Other Wordsการแปลบทสมาสที่สัมพันธ์กับบทอื่นๆ_Samasa Relating To Other Words
การแปลบทสมาสที่สัมพันธ์กับบทอื่นๆ_Samasa Relating To Other Words
 
คําเรียกญาติ (บาลี-ไทย-อังกฤษ)_Family Tree Pali.pdf
คําเรียกญาติ (บาลี-ไทย-อังกฤษ)_Family Tree Pali.pdfคําเรียกญาติ (บาลี-ไทย-อังกฤษ)_Family Tree Pali.pdf
คําเรียกญาติ (บาลี-ไทย-อังกฤษ)_Family Tree Pali.pdf
 
ประมวลศัพท์บาลี ตามหมวดหมู่ _ Pali_Vocab
ประมวลศัพท์บาลี ตามหมวดหมู่ _ Pali_Vocabประมวลศัพท์บาลี ตามหมวดหมู่ _ Pali_Vocab
ประมวลศัพท์บาลี ตามหมวดหมู่ _ Pali_Vocab
 
การแปล อนฺต, มาน, ต, ตฺวา ปัจจัย_Anta-Mana-Ta-Tva_Translation
การแปล  อนฺต,  มาน,  ต,  ตฺวา  ปัจจัย_Anta-Mana-Ta-Tva_Translationการแปล  อนฺต,  มาน,  ต,  ตฺวา  ปัจจัย_Anta-Mana-Ta-Tva_Translation
การแปล อนฺต, มาน, ต, ตฺวา ปัจจัย_Anta-Mana-Ta-Tva_Translation
 
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ธ.3 พ.ศ.2550-2566 (17 ปี)_Pali grammar Exam A...
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ธ.3 พ.ศ.2550-2566 (17 ปี)_Pali grammar Exam A...ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ธ.3 พ.ศ.2550-2566 (17 ปี)_Pali grammar Exam A...
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ธ.3 พ.ศ.2550-2566 (17 ปี)_Pali grammar Exam A...
 

Visualbasic2010

  • 1. [เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการเขียนโปรแกรมขั้นสูง] 1 ครูณัฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมด้วย Visual Basic 2010 องค์ประกอบในการเขียนโปรแกรมที่ควรรู้จักในเบื้องต้น การเขียนโปรแกรมด้วยภาษา VB ค่อนข้างจะง่ายกว่าภาษาอื่นๆ เนื่องจากกฎเกณฑ์ทางด้านภาษมไม่ เคร่งครัด โดยส่งที่เราควรรู้จักในเบื้องต้น มีดังนี้ 1. การกาหนดข้อมูลชนิดตัวเลขและสตริง วิธีการกาหนดข้อมูลพื้นฐานสองชนิดที่เราควรรู้จักคือ ข้อมูลที่เป็นตัวเลขและสตริง(ข้อความ) โดยมี รูปแบบการประกาศตัวแปรดังนี้ การกาหนดตัวแปรชนิดตัวเลข Dim x = 123 Dim y = 456.78 การกาหนดตัวแปรชนิดสตริง(ข้อความ) Dim e = “Visual Studio” Dim t = “สวัสดีครับ” 2. การรันและหยุดรัน การรัน (Run) ก็คือการสั่งให้โปรแกรมทางานตามโค๊ดที่เราเขียนไว้ ซึ่งสามารถทาได้หลายวิธี เช่น  กดแป้นพิมพ์ F5  คลิกที่ปุ่ม Start Debugging บนทูลบาร์ หากต้องการหยุดรันสามารถทาได้โดย  กดแป้มพิมพ์ Shift + F5  คลิกที่ปุ่ม Stop Debugging บนทูลบาร์ 3. การแสดงข้อความด้วย MessagBox.Show() การแสดงข้อความ เป็นการแจ้งข้อมูลบางอย่างแก่ผู้ใช้ เช่น แสดงผลลัพธ์ หรือคาเตือน เป็นต้น ซึ่ง การแสดงข้อมูลเราจะใช้คาสั่ง MessageBox.Show() โดยมีรูปแบบอย่างง่ายดังนี้ MessageBox.Show(ข้อความ) ข้อความเขียนในแบบสตริง เช่น MessageBox.Show(“สวัสดีครับ ยินดีต้อนรับสู่ Visual Basic 2010”)
  • 2. [เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการเขียนโปรแกรมขั้นสูง] 2 ครูณัฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา 4. การตรวจสอบข้อผิดพลาดเบื้องต้น “ข้อผิดพลาด” คือสิ่งที่เกิดขึ้นได้เสมอในการเขียนโปรแกรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่เพิ่งเริ่มต้นศึกษา การเขียนโปรแกรม มักจะพบกับปัญหามากมาย แต่ถ้าผ่านการเขียนโปรแกรมไปสักระยะ ปัญหาจะลดลง เรื่อยๆ และสามารถหาทางแก้ปัญหาได้เร็วขึ้น โดยการเขียนโปรแกรมด้วย VB นี้ หากเป็นข้อผิดพลาดทางไว ยกรณ์ (Syntax Error) เช่น พิมพ์ผิด ระบบจะแสดงข้อความให้ทันที ดังรูปด้านล่าง โดยถ้าต้องการแก้ไข ให้คลิกปุ่ม No แต่หากต้องการย้อนกลับไปใช้การรันครั้งล่าสุดที่ไม่เกิด ข้อผิดพลาดให้คลิกปุ่ม Yes 5. การสร้างปุ่มสั่งงานด้วย Button Button เป็นปุ่มสาหรับคลิกเพื่อสั่งงานให้กระทาการบางอย่างตามที่เราต้องการ เช่น เมื่อคลิก Button ก็ให้อ่านข้อมูลไปประมวลผล เป็นต้น ทั้งนี้ ปุ่ม Button ถือว่าเป็นคอนโทรลที่เราต้องใช้งานมากที่สุด ตัวหนึ่ง โดยมีแนวทางการนามาใช้งานดังนี้ 1) นาคอนโทรล Button จากทูลบ็อกซ์มาวางบนฟอร์ม 2) กาหนดข้อความบน Button ที่ Properties ที่ชื่อว่า Text
  • 3. [เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการเขียนโปรแกรมขั้นสูง] 3 ครูณัฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา 3) ปกติแล้วโปรแกรมจะกาหนดชื่อ (Properties Name) โดยนาตัวเลขมาต่อท้ายชื่อคอนโทรล นั่น เช่น Button1, Button2 เป็นต้น ซึ่งการเขียนโปรแกรมขนาดใหญ่ การกาหนดชื่อ คอนโทรลเป็นสิ่งสาคัญที่จะทาให้เข้าใจโปรแกรมนั้นๆ ได้ง่าย ดังนั้นเราจึงควรกาหนดชื่อ ให้กับคอนโทรลนั้นๆ ด้วย ดังรูป 6. การกาหนดข้อความด้วย Label Label เป็นเสมือนป้ายที่ใช้แสดงข้อความบนฟอร์ม ทั้งนี้เนื่องจากเราไม่สามารถเขียนข้อความลงไป บนฟอร์มโดยตรงได้ จึงต้องนา Label ไปวางไว้ ณ ตาแหน่งที่ต้องการแล้วกาหนดข้อความนั้นผ่านทาง Label แทน โดยมีหลักการดังนี้ 1) นา Label มาวางบนฟอร์ม 2) กาหนดข้อความที่ต้องการแสดงบน Label ที่ Properties ที่ชื่อว่า Text 7. การรับข้อมูลด้วย TextBox TextBox เป็นคอนโทรลที่มีลักษณะเป็นช่องรับข้อมูล โดยผู้ใช้สามารถพิมพ์ข้อมูลที่ต้องการลงไป แล้ว จากนั้นเราก็สามารถอ่านข้อมูลนั้นไปใช้งานอื่นๆ ต่อไปนี้ โดยแนวทางการใช้ TextBox มีดังนี้ 1) นา TextBox จากทูลบ็อกซ์มาวางบนฟอร์ม 2) ในการใช้ TextBox โดยทั่วไปเราต้องเขียนโค้ดเพื่อจัดการข้อมูลอยู่แล้ว ดังนั้น เราควรกาหนดชื่อ หรือ Properties ที่ชื่อ Name ของ TextBox ให้สื่อความหมายต่อการใช้งาน 3) ปกติแล้วแล้วภายใน TextBox จะยังไม่มีข้อความใดๆ อยู่ก่อน เพราะต้องรับจากข้อมูลผู้ใช้ แต่ หากเราต้องการแสดงข้อความบางอย่างไว้ล่วงหน้า สามารถกาหนดได้ที่ Properties ที่ชื่อ Text เช่นเดียวกับคอนโทรลอื่นๆ
  • 4. [เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการเขียนโปรแกรมขั้นสูง] 4 ครูณัฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา 8. การแปลงข้อมูล String Number ให้เป็นตัวเลข String Number ก็คือข้อมูลที่เป็นตัวเลขแต่เขียนในแบบสตริง เช่น ตัวเลขที่เขียนไว้ในเครื่องหมาย “…” หรือตัวเลขที่อ่านจาก Properties ชื่อ Text ของคอนโทรลต่างๆ จะถือว่าเป็นข้อมูลสตริง แม้ว่าจะเป็น ตัวเลขทั้งหมดก็ตาม ในการแปลงสตริงเป็นตัวเลขจานวนเต็มที่ไม่มีจุดทศนิยม ใช้คาสั่ง CInt(“123”) ในการแปลงสตริงเป็นตัวเลขที่มีทศนิยม ใช้คาสั่ง CDbl(“123.456”) 9. การเชื่อมต่อสตริง การเชื่อมต่อสตริงหรือข้อความ เป็นการนาสตริงตั้งแต่ 2 สตริงขึ้นไปมาเชื่อมต่อกัน การเชื่อมต่อจะใช้ เครื่องหมาย + หรือ & อย่างใดอย่างหนึ่ง โดยมีรูปแบบการใช้ดังนี้ Dim a = “Visual” + “ ” + “Basic” จะได้ผลลัพธ์เป็น Visual Basic Dim b = “Visual” & “ ” & “Basic” จะได้ผลลัพธ์เป็น Visual Basic Dim c = “Visual ” & 2010 จะได้ผลลัพธ์เป็น Visual 2010 หมายเหตุ : การเชื่อมสตริงกับตัวเลข สามารถใช้เครื่องหมาย & ได้โดยตรง 10. การแสดงข้อความหลายบรรทัด ปกติแล้วสตริงทั้งหมดจะถูกเขียนเรียงต่อกัน ซึ่งหากเรานาไปแสดงผลด้วย MessageBox จะทาให้ อ่านข้อมูลได้ยากและดูไม่สวยงาม แต่หากต้องการตัดสตริงหรือเว้นบรรทัด จะสามารถทาได้ ดังตัวอย่าง ต่อไปนี้ Dim a = “My name is Nattapon” + vbNewLine + _ “My surname is Buaurai” + vbNewLine + _ “I’m a teacher” เอกสารอ้างอิง : หนังสือ “การพัฒนาแอปพลิเคชั่นด้วย Visual Basic 2010” ผู้แต่ง : “บัญชา ปะสีละเตสัง”