SlideShare a Scribd company logo
โสตทัศนูปกรณ์ หมายถึงอุปกรณ์ที่มีลักษณะใหญ่ ประกอบด้วย เครื่องยนต์ 
กลไกลไฟฟ้า อิเล็คทรอนิคส์ ทาหน้าที่เป็นตัวผ่านขยายเนือ้หาสาระจากแหล่งกาเนิดให้ 
ชัดเจนยิ่งขึน้สามารถกระตุ้นการรับรู้ของผู้เรียนได้เป็นอย่างดี 
โสตทัศนูปกรณ์ ตรงกับภาษาอังกฤษว่า 
และมาจากคาประสมดังนี้ 
โสตะ (การได้ยิน) + ทัศนะ (การมองเห็น) + อุปกรณ์
ประเภทของสื่อทัศนูปกรณ์ 
สามารถจาแนกออกเป็น 3 ประเภท คือ 
 เครื่องฉาย (Projectors) 
 เครื่องอุปกรณ์แปลงสัญญาณ (connected Equipment) 
 เครื่องเสียง (Amplifiers)
คุณค่าและประโยชน์ของสื่อ 
โสตทัศนูปกรณ์ 
1. เพิ่มประสิทธิภาพในการสื่อสาร 
2. สร้างความสนใจและช่วยกระตุ้นความสนใจของผู้ชม 
3. ส่งเสริมลักษณะการเรียนรู้และความเข้าใจ 
4. ช่วยเพิ่มช่องทางในการรับส่งข้อมูล 
5. เอาชนะข้อจากัดบางประการของข้อมูลในการนาเสนอ
หลักและวิธีการใช้โสตทัศนูปกรณ์อย่างมี 
ประสิทธิภาพ 
ในการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ สิ่งสาคัญที่จะช่วยให้งานที่ 
เกิดขึน้ได้รับผลตามความมุ่งหมาย และเกิดประสิทธิภาพสูงสุดได้คอื 
1. ผู้ใช้รู้และเข้าใจการใช้งานอย่างถูกวิธี และถูกขัน้ตอน 
2. ผู้ใช้เข้าใจคุณค่า คุณลักษณะ และประโยชน์ในการใช้ของเครื่องมือ 
อุปกรณ์นัน้อย่างแท้จริง
สื่อโสตทัศนูปกรณ์ 
1. เครื่องฉาย 
เครือ่งอุปกรณ์แปลงสัญญาณ และ 
เครือ่งเสียงเครือ่งฉายเครอื่งฉาย เป็น 
อุปกรณ์ฉายภาพให้มีขนาดใหญ่ขึ้น ทา 
ให้ผู้เรียนมองเห็นภาพหรือเนื้อหาได้ 
ชัดเจนจากจอรับภาพ
ส่วนประกอบของเครื่องฉาย 
เครื่องฉายทุกชนิดที่ไม่ใช่เครื่องฉายแปลงสัญญาณ มีส่วนประกอบที่สาคัญ ได้แก่ 
หลอดฉาย แผ่นสะท้อนแสง 
วัสดุฉาย เช่น สไลด์และแผ่น 
โปร่งใส 
เลนส์ หน้าจอ
ตัวอย่างเครื่องฉาย 
เครื่องฉายข้ามศีรษะ 
เป็นเครื่องมือที่ใช้กับผู้เรียนการ 
สอนมาเป็นเวลานานมีหลาย 
รูปแบบปัจจุบันก็ยังมีใช้อยู่อย่าง 
แพร่หลายในสถานศึกษาทวั่ไป
เครื่องฉายสไลด์ 
เครื่องฉายสไลด์ เป็นทัศนูปกรณ์ที่ใช้ประกอบการเรียนการสอนหรือถ่ายทอด 
ความรู้มาเป็นเวลานาน เป็นอุปกรณ์ฉายภาพนิ่ง (Still Picture) ชนิดโปร่งแสง 
ขนาดเล็กที่เรียกว่าสไลด์ เป็นเครื่องฉายระบบฉายตรง
1. เครื่องฉายสไลด์แบบใส่ทีละภาพ (Manual Slide Projector) เป็น 
เครื่องขนาดเล็กเหมาะสาหรับดูคนเดียวหรือผู้ดูในกลุ่มเล็ก ผู้ดูจะทาการเปลี่ยนสไลด์ทีละ 
แผ่นลงในผลักแล้วฉายดูทีละภาพ เครื่องฉายบางเครื่องจะมีจอเล็ก ๆ อยู่ด้านหน้าเครื่อง 
สาหรับดูโดยไม่ต้องฉายขึน้จอใหญ่
2. เครื่องฉายสไลด์แบบถาดใส่หลายภาพ เป็นเครื่องที่มีถาดใส่สไลด์พร้อมกันหลาย 
ภาพ และใช้สาหรับผู้ดูกลุ่มใหญ่ ถาดใส่สไลด์ที่ใช้มีอยู่ 2 แบบ คือ 
2.1 แบบถาดเหลี่ยม 
2.2 แบบถาดกลม
เครื่องฉายแอลซีดี 
เครื่องฉายแอลซีดี (LCD : Liquid Crystal Display) เป็นเครื่องฉายที่มี 
ประโยชน์ต่อการสอนหรือการถ่ายทอดความรู้มากมีประสิทธิภาพในการแสดงผลที่ใช้ 
พลังงานน้อย ปัจจุบันเครื่องแอลซีดีมีขนาดเล็กลงมากนา้หนักเบา แต่มีความละเอียด 
และแสงสว่างมากขนึ้ ราคาถูกลงกว่าเดิมมาก
เครื่องดีแอลพี 
เครื่องดีแอลพี (DLP : Digital Light Processing) 
กิดานันท์มลิทอง ได้อธิบายถึงเครื่องดีแอลพีว่า เป็น 
เครื่องถ่ายทอดสัญญาณระบบดิจิทัล ลักษณะเดียวกับเครื่อง 
แอลซีดีแต่มีความคมชัดสูงกว่า ให้ความคมชัดมากถึง 
1280*1024 จุด
2. เครื่องอุปกรณ์แปลงสัญญาณ 
เครื่องอุปกรณ์แปลงสัญญาณ (Connected Equipment) เป็นอุปกรณ์ 
อิเล็กทรอนิกส์ใช้ในการถ่ายทอดเนือ้หาวัสดุต่างๆได้แก่ 
1. วัสดุที่บรรจุข้อมูลในรูปแบบของแม่เหล็ก เช่น แถบวีดิทัศน์ 
2. วัสดุในรูปแบบของตัวอักษรหรือภาพ เช่น สิ่งพิมพ์หรือฟิล์ม 
3. วัสดุในรูปแบบของการเข้ารหัสดิจิตอล เช่น แผ่นวีซีดีและแผ่นดีวีดี
เครื่องเล่นวีดีทัศน์ 
เครื่องเล่นวีดีทัศน์ (Video Player) หรือที่เรียกกันทวั่ไปว่าเครื่องเล่น 
วิดีโอ เป็นเครื่องแปลงสัญญาณแม่เหล็กจากแถบเทปเป็นสัญญาณภาพและเสียง 
ถ่ายทอดออกทางจอโทรทัศน์หรือผ่านเครื่องเล่นแอลซีดี เพื่อฉายภาพบนจอให้เป็น 
ภาพที่มีขนาดใหญ่ขึน้
แบบ U-Matic หรือ U-Vision เป็นเครื่องเล่น 
ระดับกึ่งมืออาชีพ หรือใช้ในระดับสถาบันการศึกษา 
และในสถานีโทรทัศน์
แบบ VHS (Video Home System) เป็นเครื่อง 
เล่นที่ใช้คามบ้าน ราคาถูก บรรจุในตลับเทปที่สามารถเล่น 
ได้นานแตกต่างกัน
แบบ Betacam เป็นรูปแบบเฉพาะของบริษัท Sony 
คุณภาพของภาพดี และมีขนาดตลับเล็กกว่าแบบ VHS 
เล็กน้อย
แบบ DV (Digital Video) เป็นการบันทึกภาพและเสียงด้วยระบบดิจิตอลที่ 
มีความคมชัดเหมือนต้นฉบับ เพราะไม่มีการสูญเสียสัญญาณระหว่างการบันทึกและตัดต่อ 
โดยการใช้สาย Wi-fi ซึ่งเป็นสายเชื่อมต่อระหว่างสัญญาณดิจิตอลกับดิจิตอลโดยตรง 
ปัจจุบันระบบดีวีกาลังได้รับความนิยมสูง
แบบ Mini DV เป็นระบบการบันทึก และเล่นภาพและเสียงด้วยระบบ 
ดิจิตอลเหมือน กับแบบดีวี แต่มีขนาดเล็กกว่า ราคาถูกกว่า ใช้กับกล้อง 
ดิจิตอลขนาดเล็ก
เครื่องเล่นวีซีดี 
เครื่องเล่นวีซีดี (VCD : Video Compact Disc)เป็นเครื่องเล่น 
แผ่นซีดี ระบบดิจิตอลที่บันทึกข้อมูลในลักษณะภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว 
และเสียงแบบภาพวีดีทัศน์ เพื่อเสนอทางภาพจอโทรทัศน์
ข้อดีของเครื่องเล่นวีซีดี 
1) คุณภาพของภาพบนแผ่นวีซีดีให้ความคมชัดภาพจากแถบวีดีทัศน์ 
2) ไม่มีการยืดเหมือนแถบวีดีทัศน์ 
3) เครื่องเล่นวีซีดีสามารถเล่นได้ทัง้แผ่นซีดีและวีซีดี 
4) ทาความสะอาดได้ง่ายหากเกิดความสกปรกบนแผ่น
เครื่องเล่นดีวีดี 
เครื่องเล่นดีวีดี (DVD player)เป็นเครื่องเล่นแผ่นดีวีดีระบบดิจิตอลเพื่อ 
เสนอทัง้ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหวแบบภาพวีดีทัศน์และเสียงเพื่อฉายบนจอโทรทัศน์
ข้อดีของเครื่องเล่นดีวีดี 
1) คุณภาพของภาพบนแผ่นดีวีดีให้ความคมชัดมากโดยเฉพาะเมื่อเปรียบเทียบกับแถบวีดีทัศน์ 
2) ให้เสียงดอลปีเซอร์ราวด์ช่วยให้การชมภาพยนตร์มีชีวิตชีวามากขึน้ 
3) สามารถเลือกชมตอนใดของภาพก็ได้ ไมต่้องเรียงตามเนือ้หา 
4) ไม่มีการยืดของแผ่นบันทึกเหมือนแถบเทป 
5) หากเกิดความสกปรกบนแผ่นสามารถทาความสะอาดได้โดยง่าย 
6) เครื่องเล่นสามารถเล่นได้ทัง้แผ่นซดีี แผ่นวีซีดี และแผ่นดีวีดี
แหล่งกาเนิดเสียง 
เสียง (Sound) เกิดจาการสนั่สะเทือนของวัตถุ พลังงานการสนั่สะเทือนจะ 
จัดอากาศให้เป็น คลื่นออกไปโดยรอบ เรียกว่า คลื่นเสียง (Sound Wave) เมื่อ 
คลื่นเสียงไปกระทบแก้วหูก็จะทาให้แก้วหูสนั่สะเทือนเสียงที่เราได้ยินอยู่ใน 
ชีวิตประจาวันมาจากแหล่งกาเนิดต่างๆ เช่น เสียงคน สัตว์ การสนั่สะเทือนของวัตถุ 
เสียงจากธรรมชาติ เป็นต้น
ส่วนประกอบของการขยายเสียง ที่สาคัญมี 3 ส่วนคือ 
1)ภาคสัญญาณเข้า (Input Signal) ทาหน้าที่สร้างหรือนาสัญญาณไฟฟ้า 
ความถี่เสียงที่ต้องการขยายมาป้อนกับภาคขยายเสียง ได้แก่ ไมโครโฟน 
ไมโครโฟนเป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่เปลี่ยนคลื่นเสียงให้เป็นสัญญาณไฟฟ้าความถี่เสียง
2)ภาคขยายเสียง (Amplifier) ทาหน้าที่ขยายสัญญาณไฟฟ้าความถี่เสียงให้มี 
กาลังมากขึน้ เพื่อส่งออกไปยังลาโพงให้เกิดเสียงดังขึน้ ได้แก่ เครื่องขยายเสียง 
เครื่องขยายเสียงเป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ขยายสัญญาณไฟฟ้าความถี่เสียงให้มีกาลัง 
มากขึน้เพื่อส่งออกไปยังลาโพงให้เปล่งเสียงออกมา
3)ภาคสัญญาณออก (Output Signal) ทาหน้าที่เปลี่ยนสัญญาณไฟฟ้า 
ความถี่เสียงที่ถูกขยายมาแล้วให้กลับเป็นคลื่นเสียง ได้แก่ ลาโพง
เครื่องขยายเสียงพอจาแนกได้ 4 ชนิด คือ 
1 เครื่องขยายเสียงหลอด เป็นเครื่องขยายเสียงแบบแรกที่สร้างขึน้มาใช้ในการ 
ขยายเสียงให้มีเสียงดังมากๆ มีข้อดีที่บารุงรักษาง่าย ทนทาน เสียงไม่ผิดเพีย้น 
แต่มีข้อเสียที่ขนาดใหญ่ กินไฟมาก ไม่สะดวกในการเคลื่อนย้าย 
2 เครื่องขยายเสียงทรานซิสเตอร์ เป็นเครื่องขยายที่พัฒนามาใช้ทรานซิสเตอร์ทา 
หน้าที่ขยายเสียงแทนหลอดสุญญากาศ ทาให้มีขนาดเล็กกะทัดรัด นา้หนักเบา 
เคลื่อนย้ายสะดวก ข้อเสียคือ ไม่ทนทาน เสียงจะเพีย้นเมื่อเครื่องร้อนมาก
3 เครื่องขยายเสียงแบบผสม เป็นเครื่องขยายเสียงที่มีวงจรผสมของหลอดสุญญากาศ 
ทาให้เหมาะสมกับการใช้งาน และทาให้มีคุณภาพดีขึน้ 
4 เครื่องขยายเสียงแบบไฮบริดจ์ ไอ.ซี. เป็นเครื่องขยายเสียงที่มีวงจรสาเร็จรูป ทาให้ 
มีขนาดกะทัดรัด ดูแลรักษาง่าย แต่ค่อนข้างบอบบางกว่าแบบอื่นๆ และมีกาลังขยาย 
ไม่มากนัก
ลาโพงจาแนกตามสมบัติในเปล่งเสียงมี 4 ประเภท คือ 
1. ลาโพงเสียงทุ้มเป็นลาโพงที่มีความถี่เสียงต่าๆประมาณ 30-500 Hz มีขนาดใหญ่ 
เส้นผ่าศูนย์กลางของกรวยลาโพง 10 นิว้ขึน้ไป 
2. ลาโพงเสียงกลาง เป็นลาโพงที่มีความถี่เสียงปานกลางประมาณ 500-8000 Hz 
ลาโพงประเภทนีมี้ใช้ทวั่ไปในเครื่องรับวิทยุ โทรทัศน์ และเครื่องเสียงที่ไม่ต้องการคุณภาพนัก
3. ลาโพงเสียงแหลม เป็นลาโพงที่มีความถี่เสียงสูงประมาณ 10 – 20 
KHz มีขนาดเล็ก 
4. ลาโพงกรวยซ้อน เป็นลาโพงที่ออกแบบพิเศษ โดยทากรวยลาโพงซ้อน 
กัน 2-3 ชัน้ เพื่อในสามารถเปล่งเสียงที่มีความถี่ต่างๆ กันได้มากขึน้ในลาโพงตัวเดียว
สื่อการสอนประเภทอุปกรณ์หรือโสตทัศนูปกรณ์ มีหน้าที่หลักคือ ใช้ 
เนือ้หาที่เป็นภาพให้มีขนาดใหญ่ขึน้ และขยายเสียงให้ดังขึน้ จาแนก 
ออกเป็น 3 ประเภทได้แก่ เครื่องฉาย เครื่องอุปกรณ์แปลงสัญญาณ และ 
เครื่องเสียง 
เครื่องฉายที่ใช้ในวงการศึกษา ปัจจุบันมีหลายชนิด เช่น เครื่องฉาย 
ข้ามศีรษะ เครื่องฉายสไลด์ เครื่องฉายแอลซีดี เครื่องฉายดีวีดี เป็นต้น 
ส่วนประกอบที่สาคัญของเครื่องฉายได้แก่ หลอดฉาย แผ่นสะท้อนแสง วัสดุ 
ฉาย เลนส์ และจอ
เครื่องอุปกรณ์แปลงสัญญาณเป็นเครื่องที่ไม่สามารถใช้งานได้ด้วย 
ตนเอง ต้องต่อพ่วงเข้ากับอุปกรณ์เครื่องฉายหรือเครื่องขยายเสียง เช่น 
เครื่องเล่นวีดีทัศน์ เครื่องเล่นวีซีดี และเครื่องเล่นดีวีดี เป็นต้น 
เครื่องเสียงมีหน้าที่รับเสียง ขยายเสียง และส่งออก ส่วนประกอบ 
ของการขยายเสียงที่สาคัญประกอบด้วย ภาคสัญญาณเข้า ได้แก่ ไมโครโฟน 
ภาคขยายเสียง ได้แก่ เครื่องขยายเสียง ภาคสัญญาณออก ได้แก่ ลาโพง
วิดีโอ วิธีการต่อเครื่องฉาย
ตัง้การ์ดมวยไทย ราดาบสองมือ 
โดย นางสาว ชนิสร บุญบุตร 53002169
มีความสุข คิดถึง 
โดย นางสาว รัญชญา เกวียกกุทัณฑ์ 53044038
โกรธ ตกใจ 
โดย นายวีรยุทธ คนชม 56001848
เขิน เศร้า 
โดย นางสาว จุฑาทิพย์ แสนหาญ 56002723
ช้อปปิ้ง ราไทย 
โดย นางสาว ประกายดาว เลิศประเสริฐกมล 56032218
ยมิ้ 
ถ่ายรูป 
โดย นางสาว หทัยทิพย์ งามอยู่ 56036054
ไม่สบาย ตกลง 
โดย นางสาว ปาจรีย์ พลอาจ 56038496
ยอดเยี่ยม,ดีสู้ๆ 
โดย นาย อิทธิ์ณัฏฐ์ฉิมพาลี 56043933
ง่วง นอน 
โดย นาย ศักดิ์ชัย จุ้ยช่วย 56045419
THI

More Related Content

What's hot

การอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการการอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการ
Watcharapol Wiboolyasarin
 
Візуалізація даних. Презентація (v.2)
Візуалізація даних. Презентація (v.2)Візуалізація даних. Презентація (v.2)
Візуалізація даних. Презентація (v.2)
Taras Volyanyuk
 
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6teerachon
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
Asina Pornwasin
 
Інформатика 8 клас. Бондаренко О.О.
Інформатика 8 клас. Бондаренко О.О.Інформатика 8 клас. Бондаренко О.О.
Інформатика 8 клас. Бондаренко О.О.
Nikolay Shaygorodskiy
 
009 byzentine อนิวัตร
009 byzentine อนิวัตร009 byzentine อนิวัตร
009 byzentine อนิวัตร
Aniwat Suyata
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]นิตยา ทองดียิ่ง
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
Nattapon
 
แบบทดสอบสุขศึกษา
แบบทดสอบสุขศึกษาแบบทดสอบสุขศึกษา
แบบทดสอบสุขศึกษาJaruwan Boonchareon
 
ตัวอย่างโครงงานการประยุกต์ใช้งาน
ตัวอย่างโครงงานการประยุกต์ใช้งานตัวอย่างโครงงานการประยุกต์ใช้งาน
ตัวอย่างโครงงานการประยุกต์ใช้งาน
KawinTheSinestron
 
เห็นแก่ลูก
เห็นแก่ลูกเห็นแก่ลูก
เห็นแก่ลูก
Krisada Atidkavin
 
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ หน้าแรก
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ หน้าแรกบทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ หน้าแรก
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ หน้าแรกVisiene Lssbh
 
PPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจPPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจKruBowbaro
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพ
Surapong Klamboot
 
อิเหนาตอนศึกท้าวกระหมังกุหนิง
อิเหนาตอนศึกท้าวกระหมังกุหนิงอิเหนาตอนศึกท้าวกระหมังกุหนิง
อิเหนาตอนศึกท้าวกระหมังกุหนิง
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 
การจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนาการจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนา
enksodsoon
 
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 

What's hot (20)

การอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการการอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการ
 
Візуалізація даних. Презентація (v.2)
Візуалізація даних. Презентація (v.2)Візуалізація даних. Презентація (v.2)
Візуалізація даних. Презентація (v.2)
 
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
Інформатика 8 клас. Бондаренко О.О.
Інформатика 8 клас. Бондаренко О.О.Інформатика 8 клас. Бондаренко О.О.
Інформатика 8 клас. Бондаренко О.О.
 
009 byzentine อนิวัตร
009 byzentine อนิวัตร009 byzentine อนิวัตร
009 byzentine อนิวัตร
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
 
แบบทดสอบสุขศึกษา
แบบทดสอบสุขศึกษาแบบทดสอบสุขศึกษา
แบบทดสอบสุขศึกษา
 
ตัวอย่างโครงงานการประยุกต์ใช้งาน
ตัวอย่างโครงงานการประยุกต์ใช้งานตัวอย่างโครงงานการประยุกต์ใช้งาน
ตัวอย่างโครงงานการประยุกต์ใช้งาน
 
เห็นแก่ลูก
เห็นแก่ลูกเห็นแก่ลูก
เห็นแก่ลูก
 
โรงเรือนโค 1
โรงเรือนโค 1โรงเรือนโค 1
โรงเรือนโค 1
 
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ หน้าแรก
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ หน้าแรกบทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ หน้าแรก
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ หน้าแรก
 
PPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจPPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจ
 
Powerpoint คำนาม ม.1
Powerpoint คำนาม ม.1Powerpoint คำนาม ม.1
Powerpoint คำนาม ม.1
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพ
 
อิเหนาตอนศึกท้าวกระหมังกุหนิง
อิเหนาตอนศึกท้าวกระหมังกุหนิงอิเหนาตอนศึกท้าวกระหมังกุหนิง
อิเหนาตอนศึกท้าวกระหมังกุหนิง
 
การจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนาการจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนา
 
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
 

THI