SlideShare a Scribd company logo
1 of 75
Download to read offline
แผนพัฒนาอุตสาหกรรมบันเทิงของประเทศไทย
จัดเตรียมโดย Version
1.1
ป
ิ ยะพงษ์ หมื่นประเสริฐดี
กรรมการสมาคม TECNA
กรรมการบริษัท ฟั งใจ จํากัด
วันที่
21 ธ.ค. 63
สมาคมเครือข่ายผู้สร้างสรรค์วิชาชีพสื่อบันเทิงไทย
Thailand	Entertainment	Creators	Network	Associa6on
จุดกําเนิดของสมาคมฯ
Music
Film
• ใน พ.ศ. 2562 TECNA เกิดจากการรวมตัวของ 3 คลัสเตอร์อุตสหกรรมสร้างสรรค์คือ ภาพยนตร์ดนตรี และ วิทยุโทรทัศน์
ซึ่งริเริ่มจากโครงการของ สสว. และมีสถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (ISMED) ซึ่งเป็ นหน่วยงานเครือ
ข่ายของกระทรวงอุตสาหกรรม เป็ นหน่วยร่วมดําเนินงานในครั้งนั้น
1. พัฒนาและส่งเสริมศักยภาพของสมาชิกในเครือข่ายทั้งที่เป็ นนิติบุคคลและบุคคลธรรมดาให้มีความรู้และทักษะตามมาตรฐาน
วิชาชีพไปสู่ในระดับสากล และสามารถแข่งขันในตลาดโลกได้
2. ปกป้องคุ้มครองสมาชิกในเครือข่ายให้ได้รับการปฏิบัติที่เป็ นธรรมในด้านความปลอดภัย สวัสดิการและค่าตอบแทนที่เหมาะสม
รวมทั้งผลประโยชน์อื่น ๆ ที่ควรจะได้รับอย่างเป็ นธรรม
3. ส่งเสริมให้มีการสร้างความสัมพันธ์และสร้างความร่วมมือระหว่างสมาชิกในเครือข่าย รวมถึงนายจ้างกับลูกจ้าง และระหว่าง
ลูกจ้างด้วยกันให้มีความเข้มแข็ง ตลอดจนการสร้างความสัมพันธ์อันดีกับสมาชิกในเครือข่ายอื่น ๆ ทั้งภายในประเทศและต่าง
ประเทศ
4. เพื่อดําเนินการเจรจาหรือหาความร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน รวมทั้งองค์กรอิสระ องค์กรไม่แสวงหาผล
กําไร และองค์กรการกุศล ในการดําเนินกิจกรรมที่เป็ นประโยชน์ในเชิงธุรกิจ และก่อให้เกิดเป็ นสาธารณประโยชน์ทั้งภายใน
ประเทศและต่างประเทศ
วัตถุประสงค์หลักในการจัดตั้งสมาคม TECNA
เป้ าหมายของเรา คือ ต้องการพัฒนาศักยภาพของบุคลากร และวิสาหกิจ
ในอุตสาหกรรมสื่อบันเทิงไทย ให้เติบโต แข็งแกร่ง เพื่อส่งออกไปแข่งขันได้ในตลาดโลก
1. Literature Review
1.1.ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมบันเทิงของประเทศไทย
1.2.ตัวอย่างและกรณีศึกษาที่น่าสนใจและควรวิเคราะห์เกี่ยวกับอุตสาหกรรมบันเทิงของประเทศอื่น ๆ
2. แนวทางการสนับสนุนและพัฒนาอุตสาหกรรมบันเทิงและสื่อ
3. แผนกลยุทธ์การพัฒนาอุตสาหกรรมสื่อบันเทิงไทยของ TECNA
เนื ้อหา
1. Literature Review
1.1 ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมบันเทิงของประเทศไทย
อุตสาหกรรมบันเทิงและสื่อ (E&M)
• อุตสาหกรรม E&M เป็ นอุตสาหกรรมขนาดใหญ่มาก
มีมูลค่าทั้งโลกรวม USD 2.1 ล้านล้าน ใน ค.ศ. 2018
• ประเทศไทยมีมูลค่า 502.8 พันล้านบาท (USD
15.3 พันล้าน)
• อุตสาหกรรมดนตรี เป
็ นส่วนหนึ่งของอุตสาหกรรม
บันเทิงและสื่อ (E&M)
• เราอยากช่วยพัฒนาอุตสหกรรม E&M เพื่อให้
อุตสาหกรรมดนตรีเองได้พัฒนาได้อย่างยั่งยืน
Source: Thai entertainment and media revenues to reach nearly 650bn baht in 2023, PwC Thailand.
อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ของประเทศไทย แบ่งได้เป
็ น 4 กลุ่ม
Details need to declare for clarity, Photo Credit Details, Citations, Side Note, ETC.
ดนตรีสามารถเป็ นตัวเชื่อมไปยังอุตสาหกรรมบันเทิงได้หลากหลายแขนง
อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ของประเทศไทย แบ่งได้เป
็ น 4 กลุ่ม
Details need to declare for clarity, Photo Credit Details, Citations, Side Note, ETC.
ดนตรี
เกี่ยวกับดนตรี
อาจจะเกี่ยวกับดนตรี
ดนตรีสามารถเป็ นตัวเชื่อมไปยังอุตสาหกรรมบันเทิงได้หลากหลายแขนง
ไทยต้องเป
็ นผู ้นําเทรนด์และผู ้นําทางความคิดของอุตสาหกรรมบันเทิงและสื่อ (E&M) ใน ASEAN
• อุตสาหกรรมบันเทิงและสื่อ (E&M) เป็ น
ส่วนสําคัญของชีวิตในปัจจุบัน ซึ่ง
เทคโนโลยีจะเป็ นตัวกลางสําคัญในการ
ขับเคลื่อน
• เพื่อให้ประเทศไทยอยู่ในแนวหน้า
ของตลาดโลก เราจะต้องเป
็ นผู ้นํา
เทรนด์และผู ้นําทางความคิดของ
อุตสาหกรรมใน ASEAN ให้ได้
อุตสาหกรรมดนตรีไทย
ขนาดของตลาดดนตรีแยกตามประเภทธุรกิจของประเทศไทย (ค.ศ. 2014-2017)
Remarks: The data used to produce these graphs were obtained from different sources:
1) Physical, digital, performance rights and synchronization data from IFPI Global Music Report 2018
2) Total music market size data from Statista E&M Market in Thailand (2014-2019)
3) Live music data estimated from PwC E&M Outlook (2014-2018)
4) Other data calculated from Total music market less physical, digital, performance rights, synchronization and live
USD
millions
0
75
150
225
300
2014 2015 2016 2017
0.41
1.37
0.91
0.46
2.22
1.43
1.84
1.75
3.11
7.85
11.46
13.24
24.87
21.39
25.13
26.22
80.05
88.71
93.98
105.73
157.35
148.25
139.68
131.61 Live
Other
Digital
Physical
Performance Rights
Synchronisation
Live Music Growth = +6.2%/year CAGR
Synchronization
0.2%
Performance Rights
0.8%
Physical
1.2%
Digital
9.3%
Other
29.9%
Live
58.7%
2017
Overall Growth = -1.33% / year *CAGR)
4.7 พันล้านบาท
ขนาดและอัตราการเจริญเติบโตของตลาดดนตรีสด: โลก, Asia และ ASEAN
Source: Calculated and estimated from https://www.statista.com/outlook/273/101/music-events/, https://www.statista.com/outlook/273/100/music-events/worldwide, https://www.statista.com/outlook/273/101/music-events/asia#market-globalRevenue
Remark: Estimations already took COVID-19 affects into account for year 2020.
Revenue
(US$
millions)
10,000
20,000
30,000
40,000
50,000
CAGR
(%)
3%
6%
9%
12%
15%
Global Asia ASEAN
CAGR (2019-2024) 2019 2024
512
3,794
30,129
270
2,405
18,915
13.7%
9.6%
9.8%
13.7%
9.6%
9.8%
ASEAN
1.4%
Other Asia
11.3%
Other Global
87.3%
ขนาดของตลาดดนตรีสดโลก
= US$ 18.9 พันล้าน (2019)
ขนาดของตลาดดนตรีสด & อัตราการเจริญเติบโตต่อปี (CAGR)
ของโลก, Asia และ ASEAN
การคาดการณ์ตลาดดนตรีสดของ ASEAN ค.ศ. 2019-2024
Sources: Calculated and estimated from https://www.statista.com/outlook/273/101/music-events/, https://www.statista.com/statistics/796222/total-population-of-the-asean-countries/
Remark: Estimations already took COVID-19 affects into account for year 2020, as could be seen in significant drop in numbers.
Revenue
(US$
millions)
0
100
200
300
400
500
600
2019 2020 2021 2022 2023 2024
Thailand
Singapore
Philippines
Indonesia
Malaysia
Vietnam
Myanmar
Cambodia
Laos
Brunei
COVID-19
+45%
growth per year
(2020-2024)
X = จํานวนผู้ชม (ล้านคน); Y = ขนาดตลาด (US$ ล้าน); Size = รายได้เฉลี่ยต่อหัว (US$/คน)
Sources: Calculated and estimated from https://www.statista.com/outlook/273/101/music-events/
Remark: Estimations already took COVID-19 affects into account for year 2020.
Industry
Size
(US$
millions)
0
10
20
30
Music Event Goers (millions)
0 0.5 1 1.5 2
Vietnam
US$12.36
Thailand
US$33.31
Singapore
US$61.78
Philippines
US$20.15
Myanmar
US$10.79
Malaysia
US$17.35
Laos
US$11.97
Indonesia
US$8.89
Cambodia
US$20.50
Brunei
US$22.21
Industry
Size
(US$
millions)
0
30
60
90
120
150
Music Event Goers (millions)
0 2 4 6 8
Vietnam
US$14.03
Thailand
US$42.57
Singapore
US$77.82
Philippines
US$28.58
Myanmar
US$14.57
Malaysia
US$22.85
Laos
US$16.14
Indonesia
US$10.02
Cambodia
US$27.47
Brunei
US$24.49
2020 2024
Thailand
#1 in Total Industry Size
#2 in Average Revenue per User
#3 in Total Music Event Goers
ASEAN เป็ นภูมิภาคที่กําหนดการเจริญเติบโตของอุตสาหกรรมดนตรีโลกแล้ว
Sources: https://blog.chartmetric.com/music-trigger-cities-in-latin-america-south-southeast-asia-part-1/, https://blog.chartmetric.com/music-trigger-cities-focus-on-southeast-asia-part-2/
Precursor to rapid local AND
international engagement
Precursor only to local growth
ข้อได้เปรียบของกรุงเทพฯ และประเทศไทย
• สถานที่ตั้งทางภูมิศาสตร์
• สามารถเป็ นประตูสู่ ASEAN จากเมืองใหญ่ต่าง ๆ ของโลก และการเดินทางจาก
ประเทศไทยไปยังประเทศอื่นใน ASEAN นั้นไม่ไกลนัก
• อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวแข็งแกร่ง
• กรุงเทพฯ เป็ นเมืองที่มีนักท่องเที่ยวต่างชาติเดินทางเข้ามาสูงที่สุดในโลก 4 ป
ี
ติดกัน (2016-2019)1 และมีมูลค่าเป็ น 44% ของทั้งภูมิภาค2
• สภาพอากาศดีที่สุดในช่วงฤดูกาลท่องเที่ยวของโลก
• สภาพอากาศอบอุ่นและแห้งในช่วงฤดูท่องเที่ยวของชาวตะวันตก (พ.ย. - ก.พ.)
ซึ่งตรงกับฤดูมรสุมของประเทศมาเลเซีย สิงคโปร์อินโดนีเซีย และฟ
ิ ลิปป
ิ นส์
• ขนาดของตลาดดนตรีสดใหญ่ที่สุดในภูมิภาค
• ตลาดดนตรีสดใหญ่ที่สุดเป็ นอันดับ 1 3
• ตลาดสิ่งบันทึกเสียงดนตรีใหญ่ที่สุดเป็ นอันดับ 2 4
Sources: 1) MasterCard’s Global Destination Cities Index; 2) Data from ASEANStatsDataPortal; 3) Music Events, Statista ; 4) IFPI Global Music Report 2018
การใช้จ่ายต่อเที่ยวต่อหัว และค่าใช้จ่ายรวมจากนักท่องเที่ยวจากแต่ละทวีป (2016)
Source: Ministry of Tourism & Sports https://www.mots.go.th/more_news.php?cid=506&filename=index
Total
Receipt
(USD)
0
5,000
10,000
15,000
20,000
25,000
30,000
Spending
per
Trip
per
Visitor
(USD)
0
500
1,000
1,500
2,000
2,500
3,000
E
a
s
t
A
s
i
a
E
u
r
o
p
e
A
S
E
A
N
A
m
e
r
i
c
a
s
A
u
s
t
r
a
l
i
a
&
O
c
e
a
n
i
a
S
o
u
t
h
A
s
i
a
M
i
d
d
l
e
E
a
s
t
A
f
r
i
c
a
Spending per Trip per Visitor (USD) Total Receipt (USD millions)
418.7
2,143.2
2,159.7
2,177.6
3,214.6
8,811
13,659.5
21,367.3
2,177.51
2,449.26
1,317.28
2,297.57
2,218.63
913.59
2,160.57
1,471.38
2,177.51
2,449.26
1,317.28
2,297.57
2,218.63
913.59
2,160.57
1,471.38
ประเภทกิจกรรม และประเภทความบันเทิงที่นักท่องเที่ยวยุโรปนิยมขณะเดินทาง
Sources: Ružić, Marinela Dropulić, Tourist' profile as consumer cultural, amusement and sports offering in Istria, Juraj Dobrila University of Pula, January 2009 https://www.researchgate.net/publication/
47697253_Tourist'_profile_as_consumer_cultural_amusement_and_sports_offering_in_Istria
Others
6.4%
Enogastro (wine)
9.4%
Sports
6.9%
Artistic
7.8%
Cultural
15.8%
Musical
53.7%
Others
5.0%
Amusement parks
7.6%
Theme evenings
8.4%
Bar-trawling
12.4%
Town festivities
16.2%
Dancing to
live music
50.4%
ประเภทกิจกรรม ประเภทความบันเทิง
ตัวอย่างงานที่ทาง TECNA เคยทํา
Bangkok Music City (BMC)
Bangkok Music City was birthed in Chareonkrung in 2019
BMC 2019 Key Activities
Music Festival Music Conference Music & Street Food Market
BMC 2019 Highlights
Number of total attendees and economic impact references the report on BMC 2019’s economic and social impact conducted by Brainfield - an independent market research and consulting company that specializes in
database and data-driven strategic solutions commissioned by TCEB (Thailand Convention & Exhibition Bureau).
Total Economic
Impact
THB 208.65 M
Total Tax
Collected
THB 28.54 M
International (Fly-in)
7.5%
International (Expats)
17.4%
Thailand (excl. BKK)
6.5%
Bangkok
68.6%
3,434 attendees
1. Government Supported Event 2. Generated High Economic Impact
BMC 2020 Promotional Video with BMC 2019 Footage
Link to watch BMC 2020 promotional video: https://www.youtube.com/watch?v=oZshG3NTuVE
• In our 2nd edition, we added other pillars
of the entertainment industry, including:
film; marketing trends; gaming;
technology; and of course - T-pop.
BMC 2020 - An Entertainment-Tech & Music Showcase Festival
Photos: Time table of conference content and panel discussion about T-pop’s potential growth and expansion.
Quick Facts of Previous Editions
Format
- Offline event @ 8 venues in Chareonkrung
Creative District
Attendance
- 3,434 attendees
- 95 speakers and delegates
- 33 Thai
- 62 international (18 countries)
- 78 showcasing artists
- 58 Thai
- 20 international (9 countries)
Contents
1. Entertainment Technology Conference
- Music & Entertainment
- Gaming & Technology
- Content & Creative Marketing
2. Music Showcase Festival
- 3 stages for local artists
- 1 virtual stage for international artists
- Pre-event Satellite Stage
3. Virtual Speed Meetings
Contents
1. Music Business Conference
- Music Cities
- Music Export
- Music Technology
- Music Professionals
- Festival Pitching
2. Music Showcase Festival
- 1 main stage + 7 mini stages
- Pre-event Satellite Stage
3. Music & Street Food Market
Format
- Virtual event via frogplus.tv
- Offline event @ Glowfish Sathorn
Attendance
- Offline event @ Glowfish Sathorn
- Conference: 300 px.
- Showcase: 1,000 px.
- 70+ Thai speakers
- 69 international delegates (20 countries)
- 80 showcasing artists
- 39 Thai
- 41 international (14 countries)
1st Edition - BMC 2019 2nd Edition - BMC 2020
Co-founders of BMC
• BMC was co-founded by 2 music and lifestyle
media and event organizers - Fungjai and NYLON
Thailand in 2018.
• They both work closely with the local music
industry and understand its potential to become
an important cultural export.
• BMC’s co-founders envision BMC to grow in a
similar path as SXSW that is held annually in
Austin, TX, USA.
• They plan to organize BMC every year and
develop it into a platform that shall not only
support the development of music, but all
creative entertainment & media (E&M)
technology in the Southeast Asian region with
Bangkok at the epicenter.
Pongsiri Hetrakul (Tom)
Director of NYLON Thailand
Piyapong Muenprasertdee (Py)
Co-founder & Director of Educational,
Governmental and Overseas
Partnership of Fungjai
THAILAND
THAILAND THAILAND
THAILAND
pink Black
create outline
• South by Southwest or SXSW is an event that creative minds come together to update global trends. It has been organized annually since
1987 and is able to attract large amounts of visitors and generate huge income for the local economy of Austin, TX, US - its host city.
• Starting from music, it expanded into film, multimedia, interactive technologies and even into education, comedy and gaming.
• SXSW has changed the landscape of entertainment, marketing, technology and innovation, and we hope to create a similar impact to
Bangkok and Thailand through BMC!
SXSW is our inspiration
Source: https://www.texasmonthly.com/the-daily-post/sxsws-economic-impact-on-austin-in-2014-was-worth-315-million/
1986 1987 1994 1999 2013 2019
Founded by 4
people to boost
local music
industry
Music Music
Film &
Multimedia
Music
Film
Interactive
Comedy
Gaming
4 days
72 bands
700 attendees
15 venues
$10 / ticket
482 bands
4,258 attendees
829 bands
7,259 attendees
6 days
2,278 bands
25,119 attendees,
100+ venues
$650+ / ticket
10 days
2,000+ bands
25,000+ attendees
100+ venues
$850+ / ticket
Music
Film
Interactive
Music
Film
Interactive
SXSW Economic Impact on Austin, TX
= USD 355.9 million (2019)
BMC เชื่อว่า “การท่องเที่ยวทางดนตรี”
จะเป
็ นอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวใหม่ของไทยได้
จุดมุ่งหมายของ BMC 2019
3. สนับสนุนให้กรุงเทพฯ และประเทศไทยกลายเป็ น
จุดหมายในการท่องเที่ยวทางดนตรีระดับโลก
2. สนับสนุนการเชื่อมต่อทางธุรกิจเพื่อส่งเสริมการค้า
ระหว่างประเทศ
1. ให้กลายเป็ นแพลตฟอร์มในการสนับสนุนอุตสาหกรรมดนตรีไทยและ
ASEAN ให้แข่งขันได้ในระดับสากล
4. ส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรม
ดนตรีอย่างยั่งยืน
เมืองต่าง ๆ เริ่มเห็นศักยภาพและโอกาสของการท่องเที่ยวทางดนตรีบ้างแล้ว
Source: https://www.facebook.com/suphanburicityofmusic/, https://www.facebook.com/Nakhon-Pathom-City-of-Music-100110331845770
1.2 ตัวอย่างและกรณีศึกษาที่น่าสนใจและควรวิเคราะห์เกี่ยวกับ
อุตสาหกรรมบันเทิงของประเทศอื่น ๆ
Case Study: เกาหลีใต้
“Popular culture and mass media
are regularly identified as
a source of soft power”
ที่มา: Economic warfare on the silver screen, https://en.wikipedia.org/wiki/Soft_power#cite_ref-29
อํานาจอ่อน (Soft Power)
‘อํานาจอ่อน (Soft Power)’
คืออะไร?
อํานาจในการ “โน้มน้าว” ให้อีกฝ
่ าย
(ประเทศอื่น) เข้ามาสนับสนุนส่งเสริม
โดยไม่ต้องใช้เงิน หรือการบังคับ
เกิดขึ้นจากอะไร? มีแล้วมีประโยชน์อย่างไร?
1. ผลประโยชน์ด้านการเมือง
2. ผลประโยชน์ด้านเศรษฐกิจ
1. ค่านิยมทางวัฒนธรรม (Culture)
2. ค่านิยมทางการเมือง (Political Values)
3. ค่านิยมต่อนโยบายต่างประเทศ (Foreign Policy)
ที่ตรงกับใจของ [รัฐบาล สังคม หรือประชากร]
ของอีกฝ
่ าย (ประเทศเป้าหมาย)
ที่มา: http://kositthiphon.blogspot.com/2008/12/soft-power-public-diplomacy.html, https://en.wikipedia.org/wiki/Soft_power#cite_note-ParcMoon2019-21
Case Study from South Korea
- Jeff Yang
Cultural entrepreneur and a columnist for the Wall Street Journal
“[The South Korean government] wanted Korea
of the 21st century to be like America of the 20th
century where America was just considered so
universally cool that anything made in America
would automatically be bought.”
Source: https://www.npr.org/sections/codeswitch/2015/04/13/399414351/how-the-south-korean-government-made-k-pop-a-thing
การถูกกดขี่ สงคราม ปั ญหาการเมืองภายในประเทศ ความยากจนข้นแค้น ฯลฯ
ต่างเป็ นแรงผลักดันให้คนและรัฐบาลเกาหลีใต้ต้องการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเร่งด่วน
ทําไมเกาหลีใต้ต้องการ ‘ขายของ’?
1939-1948
WWII, Japanese Rule
& US Military Administration
1948 - 1953
First Republic of Korea
& Korean War
1950s - 1990s
Authoritarian Rule, Political Unrest
& Widespread Poverty
‘ฮันรยู (Hallyu)’ - Soft Power ของเกาหลีใต้
• ‘ฮันรยู’ (Hallyu)  แปลว่า ‘คลื่นวัฒนธรรม
เกาหลี’ กําเนิดจากสื่อมวลชนในจีนซึ่งเรียก
การขยายตัวของสื่อบันเทิงเกาหลี ไม่ว่าจะ
เป็ นเพลง ละคร ภาพยนตร์หรือวัฒนธรรม
ป๊ อป (pop culture) ที่เข้าไปในจีน แล้วตอน
หลังขยายตัวไปทั่วโลก ซึ่งเป
็ นผลจากการ
ได้รับการผลักดันอย่างจริงจังโดยรัฐบาล
เกาหลีใต้นั่นเอง (1) (2)
รูป: Blackpink
ที่มา: (1) https://martinroll.com/resources/articles/asia/korean-wave-hallyu-the-rise-of-koreas-cultural-economy-pop-culture/; (2) https://www.npr.org/sections/codeswitch/2015/04/13/399414351/how-the-south-korean-government-made-k-pop-a-thing; (3) https://www.the101.world/101-one-on-
one-ep-30-jakkrit/
กรณีศึกษา: อิสรภาพในการวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาลและสังคมผ่านภาพยนตร์ของเกาหลีใต้
• ประเทศเกาหลีใต้ตั้งใจส่งออกวัฒนธรรม
เพื่อสร้าง อํานาจอ่อน (Soft Power) ซึ่ง
นอกจาก เป็ นการสื่อสารกับภายนอกที่
ทําให้ประเทศอื่นรับรู้ว่าเกาหลีคือใครในเวที
โลก ยังเป็ นการสะท้อนหรือสนทนากลับ
เข้าไปภายในประเทศ เพื่อให้การศึกษา
ขัดเกลาคนให้คนตั้งคําถามใหม่ๆ และสร้าง
อุดมคติที่ดีของสังคมอีกด้วย (3)
หมายเหตุ: ’May 18’ เกิดเมื่อ 18 พ.ค. 1980 ซึ่งประชาชน นักศึกษา ในควังจูร่วมกันชุมนุมเพื่อต่อต้านรัฐบาลของประธานาธิบดี ช็อน ดู-ฮวัน  แต่เกิดการล้อมปราบรุนแรง ฆ่าพลเรือนตายมหาศาล
ตัวอย่างภาพยนตร์เกาหลีที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ ‘May 18’ ป
ี
ตัวอย่างภาพยนตร์ที่วิจารณ์ป
ั ญหาสังคม
กรณีศึกษา: Soft Power เพื่อส่งเสริมการส่งออกของอุตสาหกรรมอื่นทางอ้อม
• Soft Power ที่ได้สร้างขึ้น สามารถช่วย
เพิ่มปริมาณการส่งออกของผลิตภัณฑ์
จากอุตสาหกรรมอื่น ๆ เป็ นการส่ง
เสริมการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
อีกทางหนึ่ง (4)
ที่มา: www.koreafocus.or.kr/design2/layout/content_print.asp?group_id=104017
• ประเทศเกาหลีใต้สามารถสร้างภาพลักษณ์ใหม่ให้กับประเทศ และสร้างความเติบโตให้กับเศรษฐกิจของประเทศผ่านอุตสาหกรรมบันเทิง
• ประเทศไทย ซึ่งเป
็ นหนึ่งในผู ้นําอุตสาหกรรมบันเทิงของอาเซียน แท้จริงแล้วมีศักยภาพที่จะเป
็ นผู ้นําอุตสาหกรรมบันเทิงของโลกได้
เช่นกัน
• หากใช้กรณีศึกษาของประเทศเกาหลีใต้เป
็ นตัวอย่าง ประเทศไทยเองก็สามารถที่จะสร้าง Soft Power เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมได้เช่นกัน
การเติบโตของเพลง T-Pop, ซีรี่ย์วาย และ Soft Power อื่น ๆ ของไทย
ภาพจากซ้ายไปขวา: LYRA - วงเกิร์ลกรุ๊ปไทย และภาพรวมซีรี่ย์วาย
‘อํานาจอ่อน (Soft Power)’
คืออะไร?
อํานาจในการ “โน้มน้าว” ให้อีกฝ
่ าย
(ประเทศอื่น) เข้ามาสนับสนุนส่งเสริม
โดยไม่ต้องใช้เงิน หรือการบังคับ
เกิดขึ้นจากอะไร? มีแล้วมีประโยชน์อย่างไร?
1. ผลประโยชน์ด้านการเมือง
2. ผลประโยชน์ด้านเศรษฐกิจ
1. ค่านิยมทางวัฒนธรรม (Culture)
2. ค่านิยมทางการเมือง (Political Values)
3. ค่านิยมต่อนโยบายต่างประเทศ (Foreign Policy)
ที่ตรงกับใจของ [รัฐบาล สังคม หรือประชากร]
ของอีกฝ
่ าย (ประเทศเป้าหมาย)
ที่มา: http://kositthiphon.blogspot.com/2008/12/soft-power-public-diplomacy.html, https://en.wikipedia.org/wiki/Soft_power#cite_note-ParcMoon2019-21
Case Study from South Korea
• “เกาะหนึ่งในญี่ปุ่ นชื่อเกาะฮาชิมะ กําลังจะเข้าจดทะเบียนเป็ นมรดกโลกของยูเนสโก้
เกาหลีก็ผลิตภาพยนตร์เรื่อง The Battleship Island (2017) ขึ้นมา ภาพยนตร์เรื่องนี้
เล่าถึงประวัติศาสตร์ช่วงที่ญี่ปุ่ น เอาแรงงานเกาหลีไปใช้แรงงานที่เกาะฮาชิมะ ซึ่งเป็ น
เกาะที่มีถ่านหิน แล้วญี่ปุ่ นใช้ถ่านหินเหล่านี้พัฒนาประเทศช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง”
• “ทําให้ยูเนสโกต้องชะลอ ไม่ยอมให้ญี่ปุ่ นจดทะเบียน จนกว่าจะสะสาง
ประวัติศาสตร์เรื่องนี ้สําเร็จ”
กรณีศึกษา: Soft Power และการเมืองระหว่างประเทศเกาหลีใต้และญี่ปุ่ น
ที่มา: https://www.the101.world/101-one-on-one-ep-30-jakkrit/
• “ในช่วงไม่กี่ป
ี ที่ผ่านมา มี [ภาพยนตร์] เรื่องเกี่ยวกับหญิงบําเรอ (comfort women) ซึ่ง
เล่าประวัติศาสตร์ตอนญี่ปุ่ นเข้ามาปกครองเกาหลี ตั้งแต่ช่วง 1910-1945 รวม 30 กว่า
ปี ที่คนญี่ปุ่ นมาใช้แรงงานคนเกาหลี กดขี่ เปลี่ยนภาษา เปลี่ยนรูปแบบการแต่งกาย
และมีการล่วงละเมิดทางเพศ นําผู้หญิงไปบริการทางเพศให้ทหารของญี่ปุ่ นอย่าง
ทารุณกรรม
• เรื่องหญิงบําเรอเป
็ นข้อพิพาทมายาวนาน เพื่อให้ได้คําขอโทษ เกาหลีถึงกับมี
ภาพยนตร์ออกมา 2-3 เรื่อง ก่อนหน้านั้นมี I Can Speak (2017) ป
ี ก่อนมีเรื่อง
Spirits’ Homecoming (2016) นี่คือภาพยนตร์ที่พูดให้เห็นภาพเลยว่าผู ้หญิงเหล่า
นั้นถูกปฏิบัติอย่างไรในช่วงสงคราม”
กรณีเกาะฮาจิมะ กรณีหญิงบําเรอยุคสงคราม
• “ผมทําวิจัยเรื่องการให้ความช่วยเหลือของเกาหลีด้านการพัฒนาในต่างประเทศ ผมเพิ่งไปพม่ามาเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว ไปดูหมู่บ้านที่เกาหลีให้เงิน
ให้ความช่วยเหลือในแบบ แซมาอึล อุนดง ผมคุยกับคนพม่าคนหนึ่ง แล้วเขาก็บอกว่า คนพม่าดูละครเกาหลีเยอะมาก ละครไทยนี่ตกกระป๋ องมา
สักพักแล้ว”
• “ลองคิดดูก็แล้วกันว่า เวลาเจ้าหน้าที่ของเกาหลีเขาไปในหมู่บ้านชนบท ซึ่งคนเขาดูรายการทีวี ดูละครของเกาหลีแล้วมีความผูกพัน เขาจะ
รับการพัฒนาง่ายมาก ในขณะที่คุณเป็ นคนให้ความช่วยเหลือจากอิตาลี อเมริกา ยุโรป กว่าคุณจะเข้าถึงหมู่บ้าน คุณเข้าถึงยากมาก แต่คน
เกาหลีเข้าหมู่บ้านได้ง่ายมาก คนพม่า เวียดนาม หรือคนฟ
ิ ลิปป
ิ นส์รับรู้เกี่ยวกับสังคมเกาหลี ทั้งอาหารการกิน และวัฒนธรรรมแทบทุกอย่าง”
กรณีศึกษา: ความคุ้นเคยที่เกิดจากการเสพสื่อ ทําให้กลุ่มเป้าหมายที่ต้องการโน้มน้าวเป
ิ ดใจง่ายขึ้น
ที่มา: https://www.the101.world/101-one-on-one-ep-30-jakkrit/
ค่านิยมทางวัฒนธรรม (Culture)
ประเภทของวัฒนธรรม
Accumulated Cultures
วัฒนธรรมที่สั่งสมมา
Accumulable Cultures
วัฒนธรรมที่สร้างขึ้นมาใหม่
ที่มา: ‘Accumulated and Accumulable Cultures: The Case of Public and Private Initiatives toward K-Pop’ Jimmyn Parc, Hwy-Chang Moon
กรณีศึกษา: วัฒนธรรมญี่ปุ่ น
Accumulated Cultures
วัฒนธรรมที่สั่งสมมา
Contemporary Culture
วัฒนธรรมร่วมสมัยที่อาจ
เกิดจากการผสมผสานสิ่ง
เก่าและใหม่เข้าด้วยกัน
Accumulable Cultures
วัฒนธรรมที่สร้างขึ้นมาใหม่
วัฒนธรรมไทย (เคย) มีวิวัฒนาการและนวัตกรรม
ขนมไทย (1)
เช่น ทองหยิบ ทองหยอด หม้อแกง
ดัดแปลงมาจากขนมโปรตุเกส
นาฏศิลป์ไทย (2)
เป็ นศิลปะการละครฟ้อนรําและดนตรี
ได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมอินเดีย
ผ่านชนชาติชวาและเขมร
เพลงลูกทุ่ง (3)
มาจากการร้องรําทําเพลง
ของไทยดั้งเดิมมาดัดแปลง
แล้วใส่ดนตรีแบบสากล
ที่มา: (1) https://sweetkamlangdee.wordpress.com/2014/10/04/ต้นกําเนิดทองหยิบ-ทองหยอ/; (2) http://รําไทย.blogspot.com/2010/01/blog-post.html; (3) พัฒนาการในการสื่อสารของเพลงลูกทุ่งผ่านการเล่าเรื่องตามค่านิยม ของสังคมไทย จากอดีตสู่ปัจจุบัน
ทัศน์วศิน ธูสรานนท์พรพรรณ ประจักษ์เนตร, Ph.D.
พ.ศ. 20XX พ.ศ. 18XX - 23XX พ.ศ. 2480 -
พระราชบัญญัติ ส่งเสริมและรักษามรดกภูมิป
ั ญญาทางวัฒนธรรม พ.ศ. ๒๕๕๙
• “...ร่างฯ ใหม่นี้ กลับตัดหมวดบทลงโทษทั้งหมดที่เคยมีอยู่ในร่างฯ ฉบับ พ.ศ.
2556 ออกไป และระบุไว้เพียงในมาตรา 23/1 ว่า หากมีการกระทําที่ก่อให้
เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงต่อมรดกภูมิป
ั ญญาทางวัฒนธรรมที่ขึ้น
ทะเบียนไว้แล้ว ให้คณะกรรมการฯ เสนอต่อรัฐมนตรีเพื่อระงับการกระทํา
ที่ก่อให้เกิดความเสียหายดังกล่าว แต่หากมีความจําเป
็ นเร่งด่วน ก็ให้
รัฐมนตรีมีอํานาจออกคําสั่งเพื่อระงับการกระทําที่ก่อให้เกิดความเสียหาย
นั้นๆ ได้ซึ่งเท่ากับว่า หากมีผู้ทําการละเมิดต่อมรดกทางวัฒนธรรมต่างๆ ก็
จะไม่มีการลงโทษต่อความผิดการละเมิดนั้นโดยตรง แต่จะเป็ นการลงโทษ
หากได้รับคําสั่งให้ระงับการกระทํานั้นๆ แล้วไม่ปฏิบัติตาม ซึ่งถือเป็ นการ
ฝ
่ าฝ
ื นคําสั่งของผู้มีอํานาจแทน”
ภาพจาก: https://ilaw.or.th/node/2963, ข่าวจาก: https://ilaw.or.th/node/4000
ดาวน์โหลด พรบ. ได้ที่ https://library2.parliament.go.th/giventake/content_nla2557/law19-010359-1.pdf
กรณีตัวอย่าง: การแช่แข็งวัฒนธรรมจากภาครัฐ (ด้วยกันเอง?)
ที่มา: https://www.facebook.com/overhyp/photos/a.1532666270282634/1810608675821724/?type=3
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย vs. กระทรวงวัฒนธรรม
กรณีตัวอย่าง: การแช่แข็งวัฒนธรรมจากภาคประชาชนเอง (?)
ข่าวจาก: https://hilight.kapook.com/view/142566
MADE BY
2. แนวทางการสนับสนุนและพัฒนา
อุตสาหกรรมบันเทิงและสื่อ
ป
ั ญหา
1) งบประมาณการสนับสนุนที่ไม่เพียงพอของอุตสาหกรรมบันเทิงไทย ทําให้ผู้ผลิตไม่กล้า
เสี่ยงทํางานที่อาจดีมากได้
ผลงานบันเทิงส่งออกที่ประสบความสําเร็จ สร้างรายได้โดยตรงเป็ นกอบเป็ นกํา มีเพียงหยิบมือ
ความเสี่ยงในการลงทุนอยู่ที่ผู ้ผลิต
บางงานส่งผลให้ประเทศสร้างรายได้มหาศาล แต่ไม่ได้รับเงินทุนกลับมาพัฒนาอุตสาหกรรมบันเทิงที่เพียงพอ
ที่มา: http://www.hilightdd.com/news/2674
ผู ้ผลิตรายใหม่ไม่สามารถต่อยอด และขยายผลความสําเร็จของอุตสาหกรรม
หากมีความเสี่ยงเรื่องเงินทุนที่สูงเกินไป
กรณีตัวอย่างเพิ่มเติม: ภาพยนตร์ต่างประเทศที่ส่งผลให้ดึงดูดนักท่องเที่ยวต่างชาติเข้ามาประเทศไทยมากขึ้น
ที่มา: http://www.tcjapress.com/2017/10/02/chinese-tourist-opportunity/
ค.ศ. 2000
ค.ศ. 2012
+2M
กรณีศึกษา: Bangkok Music City - BMC
Bangkok Music City - BMC 2019: สร้างผลกระทบเชิงเศรษฐกิจสูง แต่ผู้จัดขาดทุน
ค่าจัดงาน
เงินภาษี
ที่รัฐเก็บได้
208.65
ล้านบาท
5
ล้านบาท
2
ล้านบาท
เงินสนับสนุน
(จากรัฐและเอกชน)
28.54
ล้านบาท
ผลกระทบทาง
เศรษฐกิจโดยตรง
• แม้งานนี้จะเกิดประโยชน์ระยะยาวต่ออุตสาหกรรมหรือประเทศชาติ แต่หากผู้จัดขาดทุนต่อเนื่อง ก็จะไม่สามารถจัดงานได้อีก
ซึ่งเป็ นเรื่องที่น่าเสียดายยิ่ง
ผลกระทบต่อผู ้จัด ผลกระทบต่อประเทศชาติ
ขาดทุน
<
ผู ้จัดงานฯ จึงควรต้องได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐมากยิ่งขึ้น
• South by Southwest or SXSW is an event that creative minds come together to update global trends. It has been organized annually since
1987 and is able to attract large amounts of visitors and generate huge income for the local economy of Austin, TX, US - its host city.
• Starting from music, it expanded into film, multimedia, interactive technologies and even into education, comedy and gaming.
• SXSW has changed the landscape of entertainment, marketing, technology and innovation, and we hope to create a similar impact to
Bangkok and Thailand through BMC!
SXSW is our inspiration
Source: https://www.texasmonthly.com/the-daily-post/sxsws-economic-impact-on-austin-in-2014-was-worth-315-million/
1986 1987 1994 1999 2013 2019
Founded by 4
people to boost
local music
industry
Music Music
Film &
Multimedia
Music
Film
Interactive
Comedy
Gaming
4 days
72 bands
700 attendees
15 venues
$10 / ticket
482 bands
4,258 attendees
829 bands
7,259 attendees
6 days
2,278 bands
25,119 attendees,
100+ venues
$650+ / ticket
10 days
2,000+ bands
25,000+ attendees
100+ venues
$850+ / ticket
Music
Film
Interactive
Music
Film
Interactive
SXSW Economic Impact on Austin, TX
= USD 355.9 million (2019)
ป
ั ญหา
2) ‘วัฒนธรรมไทย’ ที่ได้รับ (หรือไม่ได้รับ) การสนับสนุนจากภาครัฐในปัจจุบัน มีอะไรบ้าง?
กรณีศึกษา: ทุนสนับสนุนภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2553
ที่มา: http://www.thaicinema.org/news53_tff4.php, https://pantip.com/topic/31809020
หมายเหตุ: สุดท้าย มีการลดงบสนับสนุนจากกระทรวงวัฒนธรรม จาก 100 ล้านบาท เป็ น 46,096,902 บาท
โครงการที่ได้รับการส่งเสริมตามประกาศสํานักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยกระทรวงวัฒนธรรม
เรื่อง การเป
ิ ดรับโครงการและกิจกรรมส่งเสริมอุตสาหกรรมภาพยนตร์และวีดิทัศน์ ประจําป
ี พ.ศ.2553
ประเภทภาพยนตร์เรื่องยาว และกิจกรรม ในวงเงิน 160,000,000 บาท
ชื่อเรื่อง ทุน (บาท)
ตํานานสมเด็จพระนเรศวร ภาค 3 ภาค 4 100,000,000
ฝนตกขึ้นฟ้า 8,000,000
คนโขน (ศรัณยู วงศ์กระจ่าง) 8,000,000
นรสิงห์ หรือ พันท้ายนรสิงห์ 5,660,000
อีนาง...เอ้ย 5,225,000
ซามูไร...อโยธยา 5,000,000
ลุงบุญมีระลึกชาติ 3,500,000
แต่เพียงผู้เดียว 3,000,000
หมอแสง 2,700,000
รัก ณ มหาสารคาม 2,000,000
ดาวคะนอง 1,500,000
สายนํ้าลูกผู้หญิง 1,200,000
การเดินทางแห่งพระพุทธศาสนาและการสืบทอดพระไตรป
ิ ฎกเถรวาท 1,000,000
อินเดียรําลึก 1,000,000
ชีวิตและผลงานของ เฟ
ื้อ หริพิทักษ์ 1,000,000
รหัสลับแผ่นดินสยาม 635,000
คนโขน (สมบัติ  เตชะรัตนประเสริฐ) 580,000
• ในปี 2561
• ‘ทุนสนับสนุนโครงการหรือกิจกรรมด้าน
ภาพยนตร์และวิดีทัศน์ประจําปี ’ มีงบประมาณ
ทั้งหมด 12 ล้านบาท
• กระทรวงวัฒนธรรมได้รับงบประมาณ 68 ล้าน
บาท
• จากงบกลางของป
ี ทั้งหมด 150,000 ล้านบาท
• นั่นหมายความว่า งบประมาณที่รัฐจัดสรรให้
อุตสาหกรรมหนัง คิดเป
็ น 0.008% ของงบ
ประมาณทั้งหมดที่รัฐจัดสรรให้ภาคส่วนต่างๆ
• นั่นได้สะท้อนความสนใจที่รัฐมีต่ออุตสาหกรรม
ภาพยนตร์ที่อันที่จริงแล้วสามารถเป็ นได้มากกว่าแค่
‘ความบันเทิง’ หากแต่สามารถเป็ น ‘soft power’ อัน
ทรงพลังอย่างที่อุตสาหกรรมภาพยนตร์เกาหลีใต้เป็ น
ตัวอย่างที่น่าสนใจ
กรณีศึกษา: ทุนสนับสนุนโครงการหรือกิจกรรมด้านภาพยนตร์และวิดีทัศน์ประจําปี พ.ศ. 2561
ที่มา: https://themomentum.co/anucha-malila-thai-film-government-fund/
• “พอเรามองไปถึงอนาคต มันมองไม่เห็นอนาคตที่สดใสนัก
ดีใจก็ดีใจได้ไม่เต็มที่ คือภาพยนตร์ไทยไม่ได้รับการปกป้ อง
ไม่ได้รับการส่งเสริมจากรัฐบาลที่ผ่านมาเท่าที่ควร”
• นุชี่-อนุชา บุญวรรธนะ ผู้กํากับหนัง มะลิลา กล่าวหลังขึ้นรับ
รางวัลผู้กํากับยอดเยี่ยมจากเวทีสุพรรณหงส์2562
กรณีตัวอย่างที่แสดงให้เห็นถึงความสับสนทั้งในภาครัฐ ภาคเอกชน และผู ้บริโภค
• “กระทรวงวัฒนธรรมและคณะกรรมการภาพยนตร์
และวีดิทัศน์แห่งชาติ ได้กําหนดนโยบายและ
ยุทธศาสตร์การส่งเสริมอุตสาหกรรมภาพยนตร์และวีดิ
ทัศน์ไว้อย่างชัดเจน ซึ่งปัจจุบันอยู่ในระยะที่ 3
(พ.ศ.2560-2564) โดยส่งเสริมสนับสนุนการนําศิลป
วัฒนธรรมความเป็ นไทย แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ
และวัฒนธรรมของไทยสอดแทรกในสื่อต่างๆ อาทิ
ภาพยนตร์แอนิเมชัน ละคร เกม แคแรกเตอร์โฆษณา
ฯลฯ จะทํางานลักษณะบูรณาการร่วมกันระหว่างหน่วย
งานที่เกี่ยวข้อง ภายใต้แนวคิด “Content Thailand” ที่
ช่วยเผยแพร่วัฒนธรรม ส่งเสริมการท่องเที่ยวและ
เศรษฐกิจประเทศ
• กรณีการนําการแสดงทางศิลปวัฒนธรรม การแสดง
นาฏศิลป์ไทย ท่ารํา การแต่งกาย เครื่องดนตรีไทยเหล่า
นี้ไปใช้ในวัตถุประสงค์ต่างๆ หรือการนําวัฒนธรรมไป
ใช้เพื่อวัตถุประสงค์ใดๆ ก็ตาม อยากให้ผู ้ผลิตหรือผู ้
ประกอบการคํานึงถึงบริบทและความเหมาะสม”
• นางยุพา ทวีวัฒนะกิจบวร ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม
ที่มา: https://www.thairath.co.th/news/local/bangkok/1994453
ก.วัฒนธรรม แจงดราม่าเกม “Home Sweet Home” อาจเข้าใจผิด-สื่อสาร
คลาดเคลื่อน ชี ้ผ่านการพิจารณาไปแล้ว 2 ป
ี ก่อน ยัน ไม่ได้สั่งตัดท่ารํา
หนุนสร้างความรู ้ความเข้าใจ รักษา พัฒนาต่อยอด
‘Content Thailand’ คืออะไร?
Link: https://www.facebook.com/content.thailand/
คนส่วนใหญ่ไม่รู้จักจริง ๆ
1.สินค้าทางวัฒนธรรมของไทย ควรได้รับการตีความใหม่ให้ชัดเจน และกว้างยิ่งขึ้น
2.ผู้ผลิตควรได้รับอิสรภาพในการสร้างสรรค์ที่มากยิ่งขึ้น ให้สามารถดัดแปลงและผสมผสานเพื่อ
สร้างนวัตกรรมทางวัฒนธรรมได้
3.ต้องมีการให้ทุนสนับสนุนการสร้าง content ที่มากเพียงพอ เพื่อลดภาระและความเสี่ยงแก่ผู้
ผลิต
4.แม้เนื้อหาของ content จะไม่ตรงกับ agenda ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ก็ควรได้รับการ
พิจารณาเพื่อรับทุนสนับสนุน
แนวทางการพัฒนาสินค้าทางวัฒนธรรมของไทย
กลยุทธ์การใช้ค่านิยมทางวัฒนธรรม (Culture) ให้เกิด Soft Power และตัวอย่าง
กําหนดเป้ าหมาย
เช่น
ชาติตะวันตก / UN
ASEAN / จีน
เลือกค่านิยม
เช่น
สิทธิมนุษยชน
ความเป็ นผู้นํา trend
สนับสนุนการสร้างและ
เผยแพร่คอนเท้นต์
เช่น
ภาพยนตร์วิจารณ์การเมือง/สังคม/LGBTQ+
ศิลป
ิ น/ดารา
MADE BY
3. แผนกลยุทธ์การพัฒนาอุตสาหกรรมสื่อบันเทิงไทยของ TECNA
แผนยุทธศาสตร์แยกตามคลัสเตอร์(แผนเดิม)
ผนยทธ า ตร ครือขาย
ผประกอบการภาพยนตร
ยทธ า ตรที 1 รางการมี นร ม พือ ลก ปลียนค ามร ละ
พัฒนาทัก ะของบคลากร นอต า กรรมภาพยนตร
ก รอบรม ค มร พอพฒน Content ของภ พยนตร (1-2 ป)
ก รอบรม ชงปฏบตก ร พอ ค มร ละทก ะก รผลตภ พยนตร
(Film Production) ละก ร ช ทค น ลยก รผลตภ พยนตรทม
ม ตรฐ น (1-2 ป)
กจกรรม พอ ลก ปลยนค มร รอง Content Marketing (1-2 ป)
ก รจดท ลงร บร ม ละ ลก ปลยนค มรของบคล กร น
อต กรรมภ พยนตร (1-2 ป)
ยทธ า ตรที 2 กระตน มาชิก กิดการร มตั กันอยาง
ตอ นือง พือ ก ขปญ า พัฒนางาน ละปกปอง
ผลประ ยชน นลัก ณะงาน ดีย กัน
กจกรรม พอร มกลมยอยของผ กย ของ นอต กรรม
ภ ยนตร ชน กลมผก กบ กลมคน ขยนบท กลมผผลต
กลมผจด (Producer) ปนตน (3-5 ป)
ยทธ า ตรที 3 พิม ักยภาพการผลิตภาพยนตรของผประกอบการ มี
คณภาพยิงขึน
ปด อก ผประกอบ ก ร ม รถ ข ถง ลง งนทนดอก บยต (1-5 ป)
ผลกดนน ยบ ยภ ครฐ พอช ย ลอ ละ ง รมผประกอบก ร น (1-5 ป)
อต กรรมภ พยนตร กดผล ปนรปธรรม
ประ นค มร มมอทงจ กภ ย น ละต งประ ท พอ ผประกอบก ร
ม รถขย ยธรกจ นอต กรรมภ พยนตร (1-5 ป)
ผนยทธศา ตร ครอขาย
ผประกอบการ ทรทัศน
ยทธศา ตรที 1 การ รางความ ขา จ (Mindset) ทีตรงกัน นการ รางมาตรฐาน
ละพัฒนา Content ของกลมผประกอบการอต า กรรม ทรทัศน
ป นค ม มม พ มผป ก บก ท ท น ด ม . ปน กนก ง
พ ทกฝ ม Mindset นก งม ต ฐ น ด กน (3 ด นขน ป)
ง พฒน Content ม ต ง ชน . ปนผ ม จ จ นก
ทนจ ก น ง นท ก ข ง ชน . ททท. ก งทน ง ค ก ท ง
ฒนธ ม พม. ก ท ง ธ ข ก ท บ ซตท น น
น ต นต Youtube channel/Facebook fanpage ( งทน นบ นน
ม ถด นนง น ด) ชช งท ง น ทต งต มค ม น จข งคน Gen z
ชน Bloggers/ Web drama/ News/ Documentary พ ปนช งท ง
ผ ง น ต น ทน ช ง ก ท (1-3 ป)
ยทธศา ตรที 2 รางความรวมมอ พอขยายธรกิจของ ครอขายผประกอบการ
ทรทัศน (1-3 ป)
จด มกจก ม (Event) ทมค มต น ง งน ป 1 ค ง ต ง ชน
จดป ชม ก จ ข (ง นทผ ต ) นป ท ท ผ น พ
ดงค ม ขง งข งก ม , ก บ มทน นบ นน งทม ท ป
ต งป ท ( พง ง ปท งก ม ช ) , ก จด มกจก ม บฟงค ม
คด น ค มต งก ข ง ม ชก ค ข ผป ก บก ท ท น , ก
จด บ ม น ป จ ด นท งด น ช ชพ/ก งม ต ฐ นง น , ก
งค ม ช ม ง ก มค ต ท ท น ดมก มง นกบท ง ค ข
น ปนตน (1-3 ป)
จดกจก ม Pitching ด ม ชก ค ข ผป ก บก ท ท น ท นช ง
ป บผง ป 2 ค ง ด ชญทก ถ น ท ท น ปนก มก Pitching
ชญผม น ก ข ง ทงผจด ผผ ต ป น ซ ปนผฟง (1-4 ป)
ผนยทธ า ตร ครือขาย
ผประกอบการ พลง
ยทธ า ตรที 4 ราง GOVERNMENT LEVEL ดยผลักดัน ภาครัฐ ขามามี นร ม นการขับ คลือน
อต า กรรม พลง นการกา นดน ยบาย ละขอกฎ มายที นับ นน
ร งน ยบ ยทจ ป ยน Mindset ก รม ง พ ง ทย บบ ก (1-3 ป)
ร งจต นก น ร ง ข ทธ ก รรคณค ผ ง น ป (Art Appreciation) ย งจรงจง (1-3 ป)
นบ นนก รร งรบ ทยฐ น “ผช น ญก รท งด นดนตร” “ ช ชพท งด นดนตร” (1-3 ป)
ผ กดน น ยง นรฐท กย ข งน งบปร ม ณม ช นก รพฒน ต กรรม พ ง ย งตรงจด (1-3 ป)
ยทธ า ตรที 1 ราง COMMUNITY ดย ชือม ยงค ามร มมือระ าง ครือขายผประกอบการ พลงกับ
มาคม/ ภาที กีย ของกับ ิชาชีพ ทางานร มกัน ดอยาง ขม ขง
จดกจกรรม พ น มพนธ ช ม ยงร ง คร ข ยผปร ก บก ร พ งกบ คร ข ยผปร ก บก ร น
งคกร/บร ท/ น ยง น น ท กย ข ง (1 ป)
จดกจกรรม พ น มพนธ ช มต ร ง ปนยค ก กบ ปนรน ม ทก ขนง พ ถ ยท ดค มร
update ค มร ช มต ปนท งถนกบ น ยง น น (3 ด น)
จดท บ ซต พ ปน งร บร ม ก ป ยนข ม กย กบ งก ร พ ง ปนพนท น ก น น
พ ผปร ก บก ร พ ง ดร มก มกน (3 ด น)
ยทธ า ตรที 2 ราง PLATFORM ดยจัดตัง/ขยายพืนที ดงผลงานของ ิลปน พลง ละขยายตลาด น
อต า กรรม พลง
จดท บ ซต (Online Platform) พ ปน งร บร มค มร ปนพนท น น ต ง ดงผ
ง นต พ น ม ชก ผ น จ กค ปนตน (3 ด น)
ผ กดน ปร ท ทย ปน ม งท ง ทย ท งดนตร (3 ด น)
ผ กดน กดถนนคน ดน ง ปน พ ปนพนท ปน ด ดงผ ง น ดม กยงขน (3 ด น- 1 ป)
ผ กดน กด Live House นทกจง ดข งปร ท พ ปนพนท ปน ม ดงผ ง น ดม ก
ยงขน (1 ป)
ยทธ า ตรที 3 ราง EDUCATION ดยพัฒนาบคลากร นอต า กรรม พลง มี ักยภาพ ค ามร ละ
ทัก ะที ปนปจจบัน
ปร ช มพนธ บคค ท ป ดรบร ก ร นดนตร ปน ชพ ปน ก (3-5 ป)
พฒน กยภ พบค กร น งก ร พ ง นทกมต พ น ผ ง น ก ต ด ก(3-5 ป)
ร ง น คดทท ม ง ป น ชงพ ณชย ชงธรกจ (3-5 ป)
แผนกลยุทธ์การพัฒนาอุตสาหกรรมสื่อบันเทิงไทยของ TECNA
พัฒนาชุมชน (Community) พัฒนาธุรกิจ (Business)
สร้างแพลตฟอร์ม
(Platforms)
• การสื่อสารมวลชน (Communication & PR)
• การศึกษาออนไลน์ (Online Education)
• เครือข่ายออนไลน์ด้านสังคมและธุรกิจ (Social/
Business Network)
• การจัดการองค์ความรู้ (Content Management)
• การเผยแพร่องค์ความรู้ (Content Promotion)
• การส่งเสริมธุรกิจ (Business Promotion)
• การส่งเสริมให้เข้าถึงแหล่งเงินทุนทั้งแบบให้เปล่า และ
แบบดอกเบี้ยตํ่าได้ (Funding & Finances)
จัดกิจกรรม
(Activities)
• การจัดงานประชุม (Meetings / Meetups)
• การจัดงานอบรม/สัมมนา (Seminars / Workshops)
• การจัดงานพบปะระหว่างบุคลากรในสายอาชีพ และ
ข้ามสายอาชีพ (Networking Events)
• การจัดงานประชุมเชิงวิชาการ (Conferences)
• การจัดงานจับคู่ทางธุรกิจ (Business Matchings)
• การจัดงาน Pitching ผู้ประกอบการโทรทัศน์
• การจัดงานแสดงสินค้า/บริการ (Trade Shows)
เป้ าหมาย
วิ
ธ
ิ
ี
การ
1. สนับสนุนในการพัฒนาแพลตฟอร์มเพื่อส่งเสริมบุคลากรและพัฒนาศักยภาพเชิงธุรกิจ
เป้ าหมาย
วิ
ธ
ิ
ี
การ
พัฒนาชุมชน (Community) พัฒนาธุรกิจ (Business)
สร้างแพลตฟอร์ม
(Platforms)
• การสื่อสารมวลชน (Communication & PR)
• การศึกษาออนไลน์ (Online Education)
• เครือข่ายออนไลน์ด้านสังคมและธุรกิจ (Social/
Business Network)
• การจัดการองค์ความรู้ (Content Management)
• การเผยแพร่องค์ความรู้ (Content Promotion)
• การส่งเสริมธุรกิจ (Business Promotion)
• การส่งเสริมให้เข้าถึงแหล่งเงินทุนทั้งแบบให้เปล่า และ
แบบดอกเบี้ยตํ่าได้ (Funding & Finances)
จัดกิจกรรม
(Activities)
• การจัดงานประชุม (Meetings / Meetups)
• การจัดงานอบรม/สัมมนา (Seminars / Workshops)
• การจัดงานพบปะระหว่างบุคลากรในสายอาชีพ และ
ข้ามสายอาชีพ (Networking Events)
• การจัดงานประชุมเชิงวิชาการ (Conferences)
• การจัดงานจับคู่ทางธุรกิจ (Business Matchings)
• การจัดงาน Pitching ผู้ประกอบการโทรทัศน์
• การจัดงานแสดงสินค้า/บริการ (Trade Shows)
สร้างและดูแลระบบ อีกทั้งการวิจัย เก็บรวบรวม เรียบเรียง และบริหารข้อมูล
2. สนับสนุนในการจัดกิจกรรมของสมาคมฯ ที่เกี่ยวกับการพัฒนาอุตสาหกรรมโดยตรง
เป้ าหมาย
วิ
ธ
ิ
ี
การ
พัฒนาชุมชน (Community) พัฒนาธุรกิจ (Business)
สร้างแพลตฟอร์ม
(Platforms)
• การสื่อสารมวลชน (Communication & PR)
• การศึกษาออนไลน์ (Online Education)
• เครือข่ายออนไลน์ด้านสังคมและธุรกิจ (Social/
Business Network)
• การจัดการองค์ความรู้ (Content Management)
• การเผยแพร่องค์ความรู้ (Content Promotion)
• การส่งเสริมธุรกิจ (Business Promotion)
• การส่งเสริมให้เข้าถึงแหล่งเงินทุนทั้งแบบให้เปล่า และ
แบบดอกเบี้ยตํ่าได้ (Funding & Finances)
จัดกิจกรรม
(Activities)
• การจัดงานประชุม (Meetings / Meetups)
• การจัดงานอบรม/สัมมนา (Seminars / Workshops)
• การจัดงานพบปะระหว่างบุคลากรในสายอาชีพ และ
ข้ามสายอาชีพ (Networking Events)
• การจัดงานประชุมเชิงวิชาการ (Conferences)
• การจัดงานจับคู่ทางธุรกิจ (Business Matchings)
• การจัดงาน Pitching ผู้ประกอบการโทรทัศน์
• การจัดงานแสดงสินค้า/บริการ (Trade Shows)
งานเล็ก ๆ จัดเป็ นประจําตลอดทั้งปี หรือตาม
ความเหมาะสมของเนื้อหา
งานใหญ่ จัดเป็ นประจํา ป
ี ละ 1-2 ครั้ง เช่น
BMC, ช่วงเปลี่ยนผังรายการโทรทัศน์ ฯลฯ
เรายังมีพื ้นที่ในการเจริญเติบโตอีกมาก
ขอบคุณครับ

More Related Content

What's hot

นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรมNU
 
Storyboard การออกแบบ application
Storyboard การออกแบบ applicationStoryboard การออกแบบ application
Storyboard การออกแบบ applicationWeerachat Martluplao
 
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์jeabjeabloei
 
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)DuangdenSandee
 
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงินการพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงินtumetr1
 
รายงานการศึกษา ปรัชญา ความเชื่อโตโยต้า
รายงานการศึกษา ปรัชญา ความเชื่อโตโยต้า รายงานการศึกษา ปรัชญา ความเชื่อโตโยต้า
รายงานการศึกษา ปรัชญา ความเชื่อโตโยต้า DrDanai Thienphut
 
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2559
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2559รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2559
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2559สภานักเรียน ส.ป. samutprakanstudentcouncil
 
รู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อรู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อRujroad Kaewurai
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรมkrupornpana55
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แรง+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u06
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แรง+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u06แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แรง+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u06
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แรง+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u06Prachoom Rangkasikorn
 
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sasitorn Rodboonrung
 
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพวSircom Smarnbua
 
แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (Global Trend) ที่อาจส่งผลกระทบต่...
แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (Global Trend) ที่อาจส่งผลกระทบต่...แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (Global Trend) ที่อาจส่งผลกระทบต่...
แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (Global Trend) ที่อาจส่งผลกระทบต่...Klangpanya
 
ปัจจัยที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจเลือกซื้อรถยนต์ โตโยต้า นิว วิออส ของผู้บริโภค...
ปัจจัยที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจเลือกซื้อรถยนต์ โตโยต้า นิว วิออส ของผู้บริโภค...ปัจจัยที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจเลือกซื้อรถยนต์ โตโยต้า นิว วิออส ของผู้บริโภค...
ปัจจัยที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจเลือกซื้อรถยนต์ โตโยต้า นิว วิออส ของผู้บริโภค...นางสาวสุธาสิน? ศีรทำมา
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 

What's hot (20)

นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรม
 
Incentive
IncentiveIncentive
Incentive
 
สถาบันเศรษฐกิจ
สถาบันเศรษฐกิจสถาบันเศรษฐกิจ
สถาบันเศรษฐกิจ
 
Storyboard การออกแบบ application
Storyboard การออกแบบ applicationStoryboard การออกแบบ application
Storyboard การออกแบบ application
 
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
 
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
 
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงินการพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
 
รายงานการศึกษา ปรัชญา ความเชื่อโตโยต้า
รายงานการศึกษา ปรัชญา ความเชื่อโตโยต้า รายงานการศึกษา ปรัชญา ความเชื่อโตโยต้า
รายงานการศึกษา ปรัชญา ความเชื่อโตโยต้า
 
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2559
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2559รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2559
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2559
 
รู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อรู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อ
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แรง+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u06
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แรง+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u06แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แรง+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u06
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แรง+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u06
 
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
 
แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (Global Trend) ที่อาจส่งผลกระทบต่...
แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (Global Trend) ที่อาจส่งผลกระทบต่...แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (Global Trend) ที่อาจส่งผลกระทบต่...
แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (Global Trend) ที่อาจส่งผลกระทบต่...
 
ปัจจัยที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจเลือกซื้อรถยนต์ โตโยต้า นิว วิออส ของผู้บริโภค...
ปัจจัยที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจเลือกซื้อรถยนต์ โตโยต้า นิว วิออส ของผู้บริโภค...ปัจจัยที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจเลือกซื้อรถยนต์ โตโยต้า นิว วิออส ของผู้บริโภค...
ปัจจัยที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจเลือกซื้อรถยนต์ โตโยต้า นิว วิออส ของผู้บริโภค...
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 

Similar to แผนพัฒนาอุตสาหกรรมบันเทิงของประเทศไทย เสนอโดย สมาคมเครือข่ายผู้สร้างสรรค์วิชาชีพสื่อบันเทิงไทย (TECNA)

เที่ยวไทยสิบทิศ
เที่ยวไทยสิบทิศเที่ยวไทยสิบทิศ
เที่ยวไทยสิบทิศSaran Yuwanna
 
Thailand National Online Campaign Tnoc Full Tat 270509
Thailand National Online Campaign Tnoc Full Tat 270509Thailand National Online Campaign Tnoc Full Tat 270509
Thailand National Online Campaign Tnoc Full Tat 270509Pawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
AEC 2015 overview by Dr.Danai Thieanphut
AEC 2015 overview by Dr.Danai ThieanphutAEC 2015 overview by Dr.Danai Thieanphut
AEC 2015 overview by Dr.Danai ThieanphutDrDanai Thienphut
 
211122 ไมซ์ม่วนใจ๋ intro to MICE.pdf
211122 ไมซ์ม่วนใจ๋ intro to MICE.pdf211122 ไมซ์ม่วนใจ๋ intro to MICE.pdf
211122 ไมซ์ม่วนใจ๋ intro to MICE.pdfChuta Tharachai
 
02 passakon-prathombutr-royin-20190831
02 passakon-prathombutr-royin-2019083102 passakon-prathombutr-royin-20190831
02 passakon-prathombutr-royin-20190831thanaruk theeramunkong
 
Startup Thailand Magazine ISSUE 19 : MAR TECH : THE NEW CREATIVE ECONOMY
Startup Thailand Magazine ISSUE 19 : MAR TECH : THE NEW CREATIVE ECONOMYStartup Thailand Magazine ISSUE 19 : MAR TECH : THE NEW CREATIVE ECONOMY
Startup Thailand Magazine ISSUE 19 : MAR TECH : THE NEW CREATIVE ECONOMYPeerasak C.
 
Sustainable tourism planning last lecture apr 2015
Sustainable tourism planning last lecture  apr 2015Sustainable tourism planning last lecture  apr 2015
Sustainable tourism planning last lecture apr 2015Silpakorn University
 

Similar to แผนพัฒนาอุตสาหกรรมบันเทิงของประเทศไทย เสนอโดย สมาคมเครือข่ายผู้สร้างสรรค์วิชาชีพสื่อบันเทิงไทย (TECNA) (10)

เที่ยวไทยสิบทิศ
เที่ยวไทยสิบทิศเที่ยวไทยสิบทิศ
เที่ยวไทยสิบทิศ
 
190828 royal council (6) passakorn
190828 royal council (6) passakorn190828 royal council (6) passakorn
190828 royal council (6) passakorn
 
Thailand National Online Campaign Tnoc Full Tat 270509
Thailand National Online Campaign Tnoc Full Tat 270509Thailand National Online Campaign Tnoc Full Tat 270509
Thailand National Online Campaign Tnoc Full Tat 270509
 
AEC 2015 overview by Dr.Danai Thieanphut
AEC 2015 overview by Dr.Danai ThieanphutAEC 2015 overview by Dr.Danai Thieanphut
AEC 2015 overview by Dr.Danai Thieanphut
 
Asean...pongsak
Asean...pongsakAsean...pongsak
Asean...pongsak
 
211122 ไมซ์ม่วนใจ๋ intro to MICE.pdf
211122 ไมซ์ม่วนใจ๋ intro to MICE.pdf211122 ไมซ์ม่วนใจ๋ intro to MICE.pdf
211122 ไมซ์ม่วนใจ๋ intro to MICE.pdf
 
02 passakon-prathombutr-royin-20190831
02 passakon-prathombutr-royin-2019083102 passakon-prathombutr-royin-20190831
02 passakon-prathombutr-royin-20190831
 
Startup Thailand Magazine ISSUE 19 : MAR TECH : THE NEW CREATIVE ECONOMY
Startup Thailand Magazine ISSUE 19 : MAR TECH : THE NEW CREATIVE ECONOMYStartup Thailand Magazine ISSUE 19 : MAR TECH : THE NEW CREATIVE ECONOMY
Startup Thailand Magazine ISSUE 19 : MAR TECH : THE NEW CREATIVE ECONOMY
 
Sustainable tourism planning last lecture apr 2015
Sustainable tourism planning last lecture  apr 2015Sustainable tourism planning last lecture  apr 2015
Sustainable tourism planning last lecture apr 2015
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559
 

แผนพัฒนาอุตสาหกรรมบันเทิงของประเทศไทย เสนอโดย สมาคมเครือข่ายผู้สร้างสรรค์วิชาชีพสื่อบันเทิงไทย (TECNA)

  • 1. แผนพัฒนาอุตสาหกรรมบันเทิงของประเทศไทย จัดเตรียมโดย Version 1.1 ป ิ ยะพงษ์ หมื่นประเสริฐดี กรรมการสมาคม TECNA กรรมการบริษัท ฟั งใจ จํากัด วันที่ 21 ธ.ค. 63
  • 3. จุดกําเนิดของสมาคมฯ Music Film • ใน พ.ศ. 2562 TECNA เกิดจากการรวมตัวของ 3 คลัสเตอร์อุตสหกรรมสร้างสรรค์คือ ภาพยนตร์ดนตรี และ วิทยุโทรทัศน์ ซึ่งริเริ่มจากโครงการของ สสว. และมีสถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (ISMED) ซึ่งเป็ นหน่วยงานเครือ ข่ายของกระทรวงอุตสาหกรรม เป็ นหน่วยร่วมดําเนินงานในครั้งนั้น
  • 4. 1. พัฒนาและส่งเสริมศักยภาพของสมาชิกในเครือข่ายทั้งที่เป็ นนิติบุคคลและบุคคลธรรมดาให้มีความรู้และทักษะตามมาตรฐาน วิชาชีพไปสู่ในระดับสากล และสามารถแข่งขันในตลาดโลกได้ 2. ปกป้องคุ้มครองสมาชิกในเครือข่ายให้ได้รับการปฏิบัติที่เป็ นธรรมในด้านความปลอดภัย สวัสดิการและค่าตอบแทนที่เหมาะสม รวมทั้งผลประโยชน์อื่น ๆ ที่ควรจะได้รับอย่างเป็ นธรรม 3. ส่งเสริมให้มีการสร้างความสัมพันธ์และสร้างความร่วมมือระหว่างสมาชิกในเครือข่าย รวมถึงนายจ้างกับลูกจ้าง และระหว่าง ลูกจ้างด้วยกันให้มีความเข้มแข็ง ตลอดจนการสร้างความสัมพันธ์อันดีกับสมาชิกในเครือข่ายอื่น ๆ ทั้งภายในประเทศและต่าง ประเทศ 4. เพื่อดําเนินการเจรจาหรือหาความร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน รวมทั้งองค์กรอิสระ องค์กรไม่แสวงหาผล กําไร และองค์กรการกุศล ในการดําเนินกิจกรรมที่เป็ นประโยชน์ในเชิงธุรกิจ และก่อให้เกิดเป็ นสาธารณประโยชน์ทั้งภายใน ประเทศและต่างประเทศ วัตถุประสงค์หลักในการจัดตั้งสมาคม TECNA เป้ าหมายของเรา คือ ต้องการพัฒนาศักยภาพของบุคลากร และวิสาหกิจ ในอุตสาหกรรมสื่อบันเทิงไทย ให้เติบโต แข็งแกร่ง เพื่อส่งออกไปแข่งขันได้ในตลาดโลก
  • 5. 1. Literature Review 1.1.ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมบันเทิงของประเทศไทย 1.2.ตัวอย่างและกรณีศึกษาที่น่าสนใจและควรวิเคราะห์เกี่ยวกับอุตสาหกรรมบันเทิงของประเทศอื่น ๆ 2. แนวทางการสนับสนุนและพัฒนาอุตสาหกรรมบันเทิงและสื่อ 3. แผนกลยุทธ์การพัฒนาอุตสาหกรรมสื่อบันเทิงไทยของ TECNA เนื ้อหา
  • 8. อุตสาหกรรมบันเทิงและสื่อ (E&M) • อุตสาหกรรม E&M เป็ นอุตสาหกรรมขนาดใหญ่มาก มีมูลค่าทั้งโลกรวม USD 2.1 ล้านล้าน ใน ค.ศ. 2018 • ประเทศไทยมีมูลค่า 502.8 พันล้านบาท (USD 15.3 พันล้าน) • อุตสาหกรรมดนตรี เป ็ นส่วนหนึ่งของอุตสาหกรรม บันเทิงและสื่อ (E&M) • เราอยากช่วยพัฒนาอุตสหกรรม E&M เพื่อให้ อุตสาหกรรมดนตรีเองได้พัฒนาได้อย่างยั่งยืน Source: Thai entertainment and media revenues to reach nearly 650bn baht in 2023, PwC Thailand.
  • 9. อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ของประเทศไทย แบ่งได้เป ็ น 4 กลุ่ม Details need to declare for clarity, Photo Credit Details, Citations, Side Note, ETC. ดนตรีสามารถเป็ นตัวเชื่อมไปยังอุตสาหกรรมบันเทิงได้หลากหลายแขนง
  • 10. อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ของประเทศไทย แบ่งได้เป ็ น 4 กลุ่ม Details need to declare for clarity, Photo Credit Details, Citations, Side Note, ETC. ดนตรี เกี่ยวกับดนตรี อาจจะเกี่ยวกับดนตรี ดนตรีสามารถเป็ นตัวเชื่อมไปยังอุตสาหกรรมบันเทิงได้หลากหลายแขนง
  • 11. ไทยต้องเป ็ นผู ้นําเทรนด์และผู ้นําทางความคิดของอุตสาหกรรมบันเทิงและสื่อ (E&M) ใน ASEAN • อุตสาหกรรมบันเทิงและสื่อ (E&M) เป็ น ส่วนสําคัญของชีวิตในปัจจุบัน ซึ่ง เทคโนโลยีจะเป็ นตัวกลางสําคัญในการ ขับเคลื่อน • เพื่อให้ประเทศไทยอยู่ในแนวหน้า ของตลาดโลก เราจะต้องเป ็ นผู ้นํา เทรนด์และผู ้นําทางความคิดของ อุตสาหกรรมใน ASEAN ให้ได้
  • 13. ขนาดของตลาดดนตรีแยกตามประเภทธุรกิจของประเทศไทย (ค.ศ. 2014-2017) Remarks: The data used to produce these graphs were obtained from different sources: 1) Physical, digital, performance rights and synchronization data from IFPI Global Music Report 2018 2) Total music market size data from Statista E&M Market in Thailand (2014-2019) 3) Live music data estimated from PwC E&M Outlook (2014-2018) 4) Other data calculated from Total music market less physical, digital, performance rights, synchronization and live USD millions 0 75 150 225 300 2014 2015 2016 2017 0.41 1.37 0.91 0.46 2.22 1.43 1.84 1.75 3.11 7.85 11.46 13.24 24.87 21.39 25.13 26.22 80.05 88.71 93.98 105.73 157.35 148.25 139.68 131.61 Live Other Digital Physical Performance Rights Synchronisation Live Music Growth = +6.2%/year CAGR Synchronization 0.2% Performance Rights 0.8% Physical 1.2% Digital 9.3% Other 29.9% Live 58.7% 2017 Overall Growth = -1.33% / year *CAGR) 4.7 พันล้านบาท
  • 14. ขนาดและอัตราการเจริญเติบโตของตลาดดนตรีสด: โลก, Asia และ ASEAN Source: Calculated and estimated from https://www.statista.com/outlook/273/101/music-events/, https://www.statista.com/outlook/273/100/music-events/worldwide, https://www.statista.com/outlook/273/101/music-events/asia#market-globalRevenue Remark: Estimations already took COVID-19 affects into account for year 2020. Revenue (US$ millions) 10,000 20,000 30,000 40,000 50,000 CAGR (%) 3% 6% 9% 12% 15% Global Asia ASEAN CAGR (2019-2024) 2019 2024 512 3,794 30,129 270 2,405 18,915 13.7% 9.6% 9.8% 13.7% 9.6% 9.8% ASEAN 1.4% Other Asia 11.3% Other Global 87.3% ขนาดของตลาดดนตรีสดโลก = US$ 18.9 พันล้าน (2019) ขนาดของตลาดดนตรีสด & อัตราการเจริญเติบโตต่อปี (CAGR) ของโลก, Asia และ ASEAN
  • 15. การคาดการณ์ตลาดดนตรีสดของ ASEAN ค.ศ. 2019-2024 Sources: Calculated and estimated from https://www.statista.com/outlook/273/101/music-events/, https://www.statista.com/statistics/796222/total-population-of-the-asean-countries/ Remark: Estimations already took COVID-19 affects into account for year 2020, as could be seen in significant drop in numbers. Revenue (US$ millions) 0 100 200 300 400 500 600 2019 2020 2021 2022 2023 2024 Thailand Singapore Philippines Indonesia Malaysia Vietnam Myanmar Cambodia Laos Brunei COVID-19 +45% growth per year (2020-2024)
  • 16. X = จํานวนผู้ชม (ล้านคน); Y = ขนาดตลาด (US$ ล้าน); Size = รายได้เฉลี่ยต่อหัว (US$/คน) Sources: Calculated and estimated from https://www.statista.com/outlook/273/101/music-events/ Remark: Estimations already took COVID-19 affects into account for year 2020. Industry Size (US$ millions) 0 10 20 30 Music Event Goers (millions) 0 0.5 1 1.5 2 Vietnam US$12.36 Thailand US$33.31 Singapore US$61.78 Philippines US$20.15 Myanmar US$10.79 Malaysia US$17.35 Laos US$11.97 Indonesia US$8.89 Cambodia US$20.50 Brunei US$22.21 Industry Size (US$ millions) 0 30 60 90 120 150 Music Event Goers (millions) 0 2 4 6 8 Vietnam US$14.03 Thailand US$42.57 Singapore US$77.82 Philippines US$28.58 Myanmar US$14.57 Malaysia US$22.85 Laos US$16.14 Indonesia US$10.02 Cambodia US$27.47 Brunei US$24.49 2020 2024 Thailand #1 in Total Industry Size #2 in Average Revenue per User #3 in Total Music Event Goers
  • 17. ASEAN เป็ นภูมิภาคที่กําหนดการเจริญเติบโตของอุตสาหกรรมดนตรีโลกแล้ว Sources: https://blog.chartmetric.com/music-trigger-cities-in-latin-america-south-southeast-asia-part-1/, https://blog.chartmetric.com/music-trigger-cities-focus-on-southeast-asia-part-2/ Precursor to rapid local AND international engagement Precursor only to local growth
  • 18. ข้อได้เปรียบของกรุงเทพฯ และประเทศไทย • สถานที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ • สามารถเป็ นประตูสู่ ASEAN จากเมืองใหญ่ต่าง ๆ ของโลก และการเดินทางจาก ประเทศไทยไปยังประเทศอื่นใน ASEAN นั้นไม่ไกลนัก • อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวแข็งแกร่ง • กรุงเทพฯ เป็ นเมืองที่มีนักท่องเที่ยวต่างชาติเดินทางเข้ามาสูงที่สุดในโลก 4 ป ี ติดกัน (2016-2019)1 และมีมูลค่าเป็ น 44% ของทั้งภูมิภาค2 • สภาพอากาศดีที่สุดในช่วงฤดูกาลท่องเที่ยวของโลก • สภาพอากาศอบอุ่นและแห้งในช่วงฤดูท่องเที่ยวของชาวตะวันตก (พ.ย. - ก.พ.) ซึ่งตรงกับฤดูมรสุมของประเทศมาเลเซีย สิงคโปร์อินโดนีเซีย และฟ ิ ลิปป ิ นส์ • ขนาดของตลาดดนตรีสดใหญ่ที่สุดในภูมิภาค • ตลาดดนตรีสดใหญ่ที่สุดเป็ นอันดับ 1 3 • ตลาดสิ่งบันทึกเสียงดนตรีใหญ่ที่สุดเป็ นอันดับ 2 4 Sources: 1) MasterCard’s Global Destination Cities Index; 2) Data from ASEANStatsDataPortal; 3) Music Events, Statista ; 4) IFPI Global Music Report 2018
  • 19. การใช้จ่ายต่อเที่ยวต่อหัว และค่าใช้จ่ายรวมจากนักท่องเที่ยวจากแต่ละทวีป (2016) Source: Ministry of Tourism & Sports https://www.mots.go.th/more_news.php?cid=506&filename=index Total Receipt (USD) 0 5,000 10,000 15,000 20,000 25,000 30,000 Spending per Trip per Visitor (USD) 0 500 1,000 1,500 2,000 2,500 3,000 E a s t A s i a E u r o p e A S E A N A m e r i c a s A u s t r a l i a & O c e a n i a S o u t h A s i a M i d d l e E a s t A f r i c a Spending per Trip per Visitor (USD) Total Receipt (USD millions) 418.7 2,143.2 2,159.7 2,177.6 3,214.6 8,811 13,659.5 21,367.3 2,177.51 2,449.26 1,317.28 2,297.57 2,218.63 913.59 2,160.57 1,471.38 2,177.51 2,449.26 1,317.28 2,297.57 2,218.63 913.59 2,160.57 1,471.38
  • 20. ประเภทกิจกรรม และประเภทความบันเทิงที่นักท่องเที่ยวยุโรปนิยมขณะเดินทาง Sources: Ružić, Marinela Dropulić, Tourist' profile as consumer cultural, amusement and sports offering in Istria, Juraj Dobrila University of Pula, January 2009 https://www.researchgate.net/publication/ 47697253_Tourist'_profile_as_consumer_cultural_amusement_and_sports_offering_in_Istria Others 6.4% Enogastro (wine) 9.4% Sports 6.9% Artistic 7.8% Cultural 15.8% Musical 53.7% Others 5.0% Amusement parks 7.6% Theme evenings 8.4% Bar-trawling 12.4% Town festivities 16.2% Dancing to live music 50.4% ประเภทกิจกรรม ประเภทความบันเทิง
  • 22. Bangkok Music City was birthed in Chareonkrung in 2019
  • 23. BMC 2019 Key Activities Music Festival Music Conference Music & Street Food Market
  • 24. BMC 2019 Highlights Number of total attendees and economic impact references the report on BMC 2019’s economic and social impact conducted by Brainfield - an independent market research and consulting company that specializes in database and data-driven strategic solutions commissioned by TCEB (Thailand Convention & Exhibition Bureau). Total Economic Impact THB 208.65 M Total Tax Collected THB 28.54 M International (Fly-in) 7.5% International (Expats) 17.4% Thailand (excl. BKK) 6.5% Bangkok 68.6% 3,434 attendees 1. Government Supported Event 2. Generated High Economic Impact
  • 25. BMC 2020 Promotional Video with BMC 2019 Footage Link to watch BMC 2020 promotional video: https://www.youtube.com/watch?v=oZshG3NTuVE
  • 26. • In our 2nd edition, we added other pillars of the entertainment industry, including: film; marketing trends; gaming; technology; and of course - T-pop. BMC 2020 - An Entertainment-Tech & Music Showcase Festival Photos: Time table of conference content and panel discussion about T-pop’s potential growth and expansion.
  • 27. Quick Facts of Previous Editions Format - Offline event @ 8 venues in Chareonkrung Creative District Attendance - 3,434 attendees - 95 speakers and delegates - 33 Thai - 62 international (18 countries) - 78 showcasing artists - 58 Thai - 20 international (9 countries) Contents 1. Entertainment Technology Conference - Music & Entertainment - Gaming & Technology - Content & Creative Marketing 2. Music Showcase Festival - 3 stages for local artists - 1 virtual stage for international artists - Pre-event Satellite Stage 3. Virtual Speed Meetings Contents 1. Music Business Conference - Music Cities - Music Export - Music Technology - Music Professionals - Festival Pitching 2. Music Showcase Festival - 1 main stage + 7 mini stages - Pre-event Satellite Stage 3. Music & Street Food Market Format - Virtual event via frogplus.tv - Offline event @ Glowfish Sathorn Attendance - Offline event @ Glowfish Sathorn - Conference: 300 px. - Showcase: 1,000 px. - 70+ Thai speakers - 69 international delegates (20 countries) - 80 showcasing artists - 39 Thai - 41 international (14 countries) 1st Edition - BMC 2019 2nd Edition - BMC 2020
  • 28. Co-founders of BMC • BMC was co-founded by 2 music and lifestyle media and event organizers - Fungjai and NYLON Thailand in 2018. • They both work closely with the local music industry and understand its potential to become an important cultural export. • BMC’s co-founders envision BMC to grow in a similar path as SXSW that is held annually in Austin, TX, USA. • They plan to organize BMC every year and develop it into a platform that shall not only support the development of music, but all creative entertainment & media (E&M) technology in the Southeast Asian region with Bangkok at the epicenter. Pongsiri Hetrakul (Tom) Director of NYLON Thailand Piyapong Muenprasertdee (Py) Co-founder & Director of Educational, Governmental and Overseas Partnership of Fungjai THAILAND THAILAND THAILAND THAILAND pink Black create outline
  • 29. • South by Southwest or SXSW is an event that creative minds come together to update global trends. It has been organized annually since 1987 and is able to attract large amounts of visitors and generate huge income for the local economy of Austin, TX, US - its host city. • Starting from music, it expanded into film, multimedia, interactive technologies and even into education, comedy and gaming. • SXSW has changed the landscape of entertainment, marketing, technology and innovation, and we hope to create a similar impact to Bangkok and Thailand through BMC! SXSW is our inspiration Source: https://www.texasmonthly.com/the-daily-post/sxsws-economic-impact-on-austin-in-2014-was-worth-315-million/ 1986 1987 1994 1999 2013 2019 Founded by 4 people to boost local music industry Music Music Film & Multimedia Music Film Interactive Comedy Gaming 4 days 72 bands 700 attendees 15 venues $10 / ticket 482 bands 4,258 attendees 829 bands 7,259 attendees 6 days 2,278 bands 25,119 attendees, 100+ venues $650+ / ticket 10 days 2,000+ bands 25,000+ attendees 100+ venues $850+ / ticket Music Film Interactive Music Film Interactive SXSW Economic Impact on Austin, TX = USD 355.9 million (2019)
  • 30. BMC เชื่อว่า “การท่องเที่ยวทางดนตรี” จะเป ็ นอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวใหม่ของไทยได้
  • 31. จุดมุ่งหมายของ BMC 2019 3. สนับสนุนให้กรุงเทพฯ และประเทศไทยกลายเป็ น จุดหมายในการท่องเที่ยวทางดนตรีระดับโลก 2. สนับสนุนการเชื่อมต่อทางธุรกิจเพื่อส่งเสริมการค้า ระหว่างประเทศ 1. ให้กลายเป็ นแพลตฟอร์มในการสนับสนุนอุตสาหกรรมดนตรีไทยและ ASEAN ให้แข่งขันได้ในระดับสากล 4. ส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรม ดนตรีอย่างยั่งยืน
  • 35. “Popular culture and mass media are regularly identified as a source of soft power” ที่มา: Economic warfare on the silver screen, https://en.wikipedia.org/wiki/Soft_power#cite_ref-29
  • 37. ‘อํานาจอ่อน (Soft Power)’ คืออะไร? อํานาจในการ “โน้มน้าว” ให้อีกฝ ่ าย (ประเทศอื่น) เข้ามาสนับสนุนส่งเสริม โดยไม่ต้องใช้เงิน หรือการบังคับ เกิดขึ้นจากอะไร? มีแล้วมีประโยชน์อย่างไร? 1. ผลประโยชน์ด้านการเมือง 2. ผลประโยชน์ด้านเศรษฐกิจ 1. ค่านิยมทางวัฒนธรรม (Culture) 2. ค่านิยมทางการเมือง (Political Values) 3. ค่านิยมต่อนโยบายต่างประเทศ (Foreign Policy) ที่ตรงกับใจของ [รัฐบาล สังคม หรือประชากร] ของอีกฝ ่ าย (ประเทศเป้าหมาย) ที่มา: http://kositthiphon.blogspot.com/2008/12/soft-power-public-diplomacy.html, https://en.wikipedia.org/wiki/Soft_power#cite_note-ParcMoon2019-21 Case Study from South Korea
  • 38. - Jeff Yang Cultural entrepreneur and a columnist for the Wall Street Journal “[The South Korean government] wanted Korea of the 21st century to be like America of the 20th century where America was just considered so universally cool that anything made in America would automatically be bought.” Source: https://www.npr.org/sections/codeswitch/2015/04/13/399414351/how-the-south-korean-government-made-k-pop-a-thing
  • 39. การถูกกดขี่ สงคราม ปั ญหาการเมืองภายในประเทศ ความยากจนข้นแค้น ฯลฯ ต่างเป็ นแรงผลักดันให้คนและรัฐบาลเกาหลีใต้ต้องการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเร่งด่วน ทําไมเกาหลีใต้ต้องการ ‘ขายของ’? 1939-1948 WWII, Japanese Rule & US Military Administration 1948 - 1953 First Republic of Korea & Korean War 1950s - 1990s Authoritarian Rule, Political Unrest & Widespread Poverty
  • 40. ‘ฮันรยู (Hallyu)’ - Soft Power ของเกาหลีใต้ • ‘ฮันรยู’ (Hallyu)  แปลว่า ‘คลื่นวัฒนธรรม เกาหลี’ กําเนิดจากสื่อมวลชนในจีนซึ่งเรียก การขยายตัวของสื่อบันเทิงเกาหลี ไม่ว่าจะ เป็ นเพลง ละคร ภาพยนตร์หรือวัฒนธรรม ป๊ อป (pop culture) ที่เข้าไปในจีน แล้วตอน หลังขยายตัวไปทั่วโลก ซึ่งเป ็ นผลจากการ ได้รับการผลักดันอย่างจริงจังโดยรัฐบาล เกาหลีใต้นั่นเอง (1) (2) รูป: Blackpink ที่มา: (1) https://martinroll.com/resources/articles/asia/korean-wave-hallyu-the-rise-of-koreas-cultural-economy-pop-culture/; (2) https://www.npr.org/sections/codeswitch/2015/04/13/399414351/how-the-south-korean-government-made-k-pop-a-thing; (3) https://www.the101.world/101-one-on- one-ep-30-jakkrit/
  • 41. กรณีศึกษา: อิสรภาพในการวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาลและสังคมผ่านภาพยนตร์ของเกาหลีใต้ • ประเทศเกาหลีใต้ตั้งใจส่งออกวัฒนธรรม เพื่อสร้าง อํานาจอ่อน (Soft Power) ซึ่ง นอกจาก เป็ นการสื่อสารกับภายนอกที่ ทําให้ประเทศอื่นรับรู้ว่าเกาหลีคือใครในเวที โลก ยังเป็ นการสะท้อนหรือสนทนากลับ เข้าไปภายในประเทศ เพื่อให้การศึกษา ขัดเกลาคนให้คนตั้งคําถามใหม่ๆ และสร้าง อุดมคติที่ดีของสังคมอีกด้วย (3) หมายเหตุ: ’May 18’ เกิดเมื่อ 18 พ.ค. 1980 ซึ่งประชาชน นักศึกษา ในควังจูร่วมกันชุมนุมเพื่อต่อต้านรัฐบาลของประธานาธิบดี ช็อน ดู-ฮวัน  แต่เกิดการล้อมปราบรุนแรง ฆ่าพลเรือนตายมหาศาล ตัวอย่างภาพยนตร์เกาหลีที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ ‘May 18’ ป ี ตัวอย่างภาพยนตร์ที่วิจารณ์ป ั ญหาสังคม
  • 42. กรณีศึกษา: Soft Power เพื่อส่งเสริมการส่งออกของอุตสาหกรรมอื่นทางอ้อม • Soft Power ที่ได้สร้างขึ้น สามารถช่วย เพิ่มปริมาณการส่งออกของผลิตภัณฑ์ จากอุตสาหกรรมอื่น ๆ เป็ นการส่ง เสริมการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ อีกทางหนึ่ง (4) ที่มา: www.koreafocus.or.kr/design2/layout/content_print.asp?group_id=104017
  • 43. • ประเทศเกาหลีใต้สามารถสร้างภาพลักษณ์ใหม่ให้กับประเทศ และสร้างความเติบโตให้กับเศรษฐกิจของประเทศผ่านอุตสาหกรรมบันเทิง • ประเทศไทย ซึ่งเป ็ นหนึ่งในผู ้นําอุตสาหกรรมบันเทิงของอาเซียน แท้จริงแล้วมีศักยภาพที่จะเป ็ นผู ้นําอุตสาหกรรมบันเทิงของโลกได้ เช่นกัน • หากใช้กรณีศึกษาของประเทศเกาหลีใต้เป ็ นตัวอย่าง ประเทศไทยเองก็สามารถที่จะสร้าง Soft Power เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมได้เช่นกัน การเติบโตของเพลง T-Pop, ซีรี่ย์วาย และ Soft Power อื่น ๆ ของไทย ภาพจากซ้ายไปขวา: LYRA - วงเกิร์ลกรุ๊ปไทย และภาพรวมซีรี่ย์วาย
  • 44. ‘อํานาจอ่อน (Soft Power)’ คืออะไร? อํานาจในการ “โน้มน้าว” ให้อีกฝ ่ าย (ประเทศอื่น) เข้ามาสนับสนุนส่งเสริม โดยไม่ต้องใช้เงิน หรือการบังคับ เกิดขึ้นจากอะไร? มีแล้วมีประโยชน์อย่างไร? 1. ผลประโยชน์ด้านการเมือง 2. ผลประโยชน์ด้านเศรษฐกิจ 1. ค่านิยมทางวัฒนธรรม (Culture) 2. ค่านิยมทางการเมือง (Political Values) 3. ค่านิยมต่อนโยบายต่างประเทศ (Foreign Policy) ที่ตรงกับใจของ [รัฐบาล สังคม หรือประชากร] ของอีกฝ ่ าย (ประเทศเป้าหมาย) ที่มา: http://kositthiphon.blogspot.com/2008/12/soft-power-public-diplomacy.html, https://en.wikipedia.org/wiki/Soft_power#cite_note-ParcMoon2019-21 Case Study from South Korea
  • 45. • “เกาะหนึ่งในญี่ปุ่ นชื่อเกาะฮาชิมะ กําลังจะเข้าจดทะเบียนเป็ นมรดกโลกของยูเนสโก้ เกาหลีก็ผลิตภาพยนตร์เรื่อง The Battleship Island (2017) ขึ้นมา ภาพยนตร์เรื่องนี้ เล่าถึงประวัติศาสตร์ช่วงที่ญี่ปุ่ น เอาแรงงานเกาหลีไปใช้แรงงานที่เกาะฮาชิมะ ซึ่งเป็ น เกาะที่มีถ่านหิน แล้วญี่ปุ่ นใช้ถ่านหินเหล่านี้พัฒนาประเทศช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง” • “ทําให้ยูเนสโกต้องชะลอ ไม่ยอมให้ญี่ปุ่ นจดทะเบียน จนกว่าจะสะสาง ประวัติศาสตร์เรื่องนี ้สําเร็จ” กรณีศึกษา: Soft Power และการเมืองระหว่างประเทศเกาหลีใต้และญี่ปุ่ น ที่มา: https://www.the101.world/101-one-on-one-ep-30-jakkrit/ • “ในช่วงไม่กี่ป ี ที่ผ่านมา มี [ภาพยนตร์] เรื่องเกี่ยวกับหญิงบําเรอ (comfort women) ซึ่ง เล่าประวัติศาสตร์ตอนญี่ปุ่ นเข้ามาปกครองเกาหลี ตั้งแต่ช่วง 1910-1945 รวม 30 กว่า ปี ที่คนญี่ปุ่ นมาใช้แรงงานคนเกาหลี กดขี่ เปลี่ยนภาษา เปลี่ยนรูปแบบการแต่งกาย และมีการล่วงละเมิดทางเพศ นําผู้หญิงไปบริการทางเพศให้ทหารของญี่ปุ่ นอย่าง ทารุณกรรม • เรื่องหญิงบําเรอเป ็ นข้อพิพาทมายาวนาน เพื่อให้ได้คําขอโทษ เกาหลีถึงกับมี ภาพยนตร์ออกมา 2-3 เรื่อง ก่อนหน้านั้นมี I Can Speak (2017) ป ี ก่อนมีเรื่อง Spirits’ Homecoming (2016) นี่คือภาพยนตร์ที่พูดให้เห็นภาพเลยว่าผู ้หญิงเหล่า นั้นถูกปฏิบัติอย่างไรในช่วงสงคราม” กรณีเกาะฮาจิมะ กรณีหญิงบําเรอยุคสงคราม
  • 46. • “ผมทําวิจัยเรื่องการให้ความช่วยเหลือของเกาหลีด้านการพัฒนาในต่างประเทศ ผมเพิ่งไปพม่ามาเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว ไปดูหมู่บ้านที่เกาหลีให้เงิน ให้ความช่วยเหลือในแบบ แซมาอึล อุนดง ผมคุยกับคนพม่าคนหนึ่ง แล้วเขาก็บอกว่า คนพม่าดูละครเกาหลีเยอะมาก ละครไทยนี่ตกกระป๋ องมา สักพักแล้ว” • “ลองคิดดูก็แล้วกันว่า เวลาเจ้าหน้าที่ของเกาหลีเขาไปในหมู่บ้านชนบท ซึ่งคนเขาดูรายการทีวี ดูละครของเกาหลีแล้วมีความผูกพัน เขาจะ รับการพัฒนาง่ายมาก ในขณะที่คุณเป็ นคนให้ความช่วยเหลือจากอิตาลี อเมริกา ยุโรป กว่าคุณจะเข้าถึงหมู่บ้าน คุณเข้าถึงยากมาก แต่คน เกาหลีเข้าหมู่บ้านได้ง่ายมาก คนพม่า เวียดนาม หรือคนฟ ิ ลิปป ิ นส์รับรู้เกี่ยวกับสังคมเกาหลี ทั้งอาหารการกิน และวัฒนธรรรมแทบทุกอย่าง” กรณีศึกษา: ความคุ้นเคยที่เกิดจากการเสพสื่อ ทําให้กลุ่มเป้าหมายที่ต้องการโน้มน้าวเป ิ ดใจง่ายขึ้น ที่มา: https://www.the101.world/101-one-on-one-ep-30-jakkrit/
  • 49. กรณีศึกษา: วัฒนธรรมญี่ปุ่ น Accumulated Cultures วัฒนธรรมที่สั่งสมมา Contemporary Culture วัฒนธรรมร่วมสมัยที่อาจ เกิดจากการผสมผสานสิ่ง เก่าและใหม่เข้าด้วยกัน Accumulable Cultures วัฒนธรรมที่สร้างขึ้นมาใหม่
  • 50. วัฒนธรรมไทย (เคย) มีวิวัฒนาการและนวัตกรรม ขนมไทย (1) เช่น ทองหยิบ ทองหยอด หม้อแกง ดัดแปลงมาจากขนมโปรตุเกส นาฏศิลป์ไทย (2) เป็ นศิลปะการละครฟ้อนรําและดนตรี ได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมอินเดีย ผ่านชนชาติชวาและเขมร เพลงลูกทุ่ง (3) มาจากการร้องรําทําเพลง ของไทยดั้งเดิมมาดัดแปลง แล้วใส่ดนตรีแบบสากล ที่มา: (1) https://sweetkamlangdee.wordpress.com/2014/10/04/ต้นกําเนิดทองหยิบ-ทองหยอ/; (2) http://รําไทย.blogspot.com/2010/01/blog-post.html; (3) พัฒนาการในการสื่อสารของเพลงลูกทุ่งผ่านการเล่าเรื่องตามค่านิยม ของสังคมไทย จากอดีตสู่ปัจจุบัน ทัศน์วศิน ธูสรานนท์พรพรรณ ประจักษ์เนตร, Ph.D. พ.ศ. 20XX พ.ศ. 18XX - 23XX พ.ศ. 2480 -
  • 51. พระราชบัญญัติ ส่งเสริมและรักษามรดกภูมิป ั ญญาทางวัฒนธรรม พ.ศ. ๒๕๕๙ • “...ร่างฯ ใหม่นี้ กลับตัดหมวดบทลงโทษทั้งหมดที่เคยมีอยู่ในร่างฯ ฉบับ พ.ศ. 2556 ออกไป และระบุไว้เพียงในมาตรา 23/1 ว่า หากมีการกระทําที่ก่อให้ เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงต่อมรดกภูมิป ั ญญาทางวัฒนธรรมที่ขึ้น ทะเบียนไว้แล้ว ให้คณะกรรมการฯ เสนอต่อรัฐมนตรีเพื่อระงับการกระทํา ที่ก่อให้เกิดความเสียหายดังกล่าว แต่หากมีความจําเป ็ นเร่งด่วน ก็ให้ รัฐมนตรีมีอํานาจออกคําสั่งเพื่อระงับการกระทําที่ก่อให้เกิดความเสียหาย นั้นๆ ได้ซึ่งเท่ากับว่า หากมีผู้ทําการละเมิดต่อมรดกทางวัฒนธรรมต่างๆ ก็ จะไม่มีการลงโทษต่อความผิดการละเมิดนั้นโดยตรง แต่จะเป็ นการลงโทษ หากได้รับคําสั่งให้ระงับการกระทํานั้นๆ แล้วไม่ปฏิบัติตาม ซึ่งถือเป็ นการ ฝ ่ าฝ ื นคําสั่งของผู้มีอํานาจแทน” ภาพจาก: https://ilaw.or.th/node/2963, ข่าวจาก: https://ilaw.or.th/node/4000 ดาวน์โหลด พรบ. ได้ที่ https://library2.parliament.go.th/giventake/content_nla2557/law19-010359-1.pdf
  • 52. กรณีตัวอย่าง: การแช่แข็งวัฒนธรรมจากภาครัฐ (ด้วยกันเอง?) ที่มา: https://www.facebook.com/overhyp/photos/a.1532666270282634/1810608675821724/?type=3 การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย vs. กระทรวงวัฒนธรรม
  • 55. ป ั ญหา 1) งบประมาณการสนับสนุนที่ไม่เพียงพอของอุตสาหกรรมบันเทิงไทย ทําให้ผู้ผลิตไม่กล้า เสี่ยงทํางานที่อาจดีมากได้
  • 56. ผลงานบันเทิงส่งออกที่ประสบความสําเร็จ สร้างรายได้โดยตรงเป็ นกอบเป็ นกํา มีเพียงหยิบมือ ความเสี่ยงในการลงทุนอยู่ที่ผู ้ผลิต
  • 57. บางงานส่งผลให้ประเทศสร้างรายได้มหาศาล แต่ไม่ได้รับเงินทุนกลับมาพัฒนาอุตสาหกรรมบันเทิงที่เพียงพอ ที่มา: http://www.hilightdd.com/news/2674 ผู ้ผลิตรายใหม่ไม่สามารถต่อยอด และขยายผลความสําเร็จของอุตสาหกรรม หากมีความเสี่ยงเรื่องเงินทุนที่สูงเกินไป
  • 60. Bangkok Music City - BMC 2019: สร้างผลกระทบเชิงเศรษฐกิจสูง แต่ผู้จัดขาดทุน ค่าจัดงาน เงินภาษี ที่รัฐเก็บได้ 208.65 ล้านบาท 5 ล้านบาท 2 ล้านบาท เงินสนับสนุน (จากรัฐและเอกชน) 28.54 ล้านบาท ผลกระทบทาง เศรษฐกิจโดยตรง • แม้งานนี้จะเกิดประโยชน์ระยะยาวต่ออุตสาหกรรมหรือประเทศชาติ แต่หากผู้จัดขาดทุนต่อเนื่อง ก็จะไม่สามารถจัดงานได้อีก ซึ่งเป็ นเรื่องที่น่าเสียดายยิ่ง ผลกระทบต่อผู ้จัด ผลกระทบต่อประเทศชาติ ขาดทุน < ผู ้จัดงานฯ จึงควรต้องได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐมากยิ่งขึ้น
  • 61. • South by Southwest or SXSW is an event that creative minds come together to update global trends. It has been organized annually since 1987 and is able to attract large amounts of visitors and generate huge income for the local economy of Austin, TX, US - its host city. • Starting from music, it expanded into film, multimedia, interactive technologies and even into education, comedy and gaming. • SXSW has changed the landscape of entertainment, marketing, technology and innovation, and we hope to create a similar impact to Bangkok and Thailand through BMC! SXSW is our inspiration Source: https://www.texasmonthly.com/the-daily-post/sxsws-economic-impact-on-austin-in-2014-was-worth-315-million/ 1986 1987 1994 1999 2013 2019 Founded by 4 people to boost local music industry Music Music Film & Multimedia Music Film Interactive Comedy Gaming 4 days 72 bands 700 attendees 15 venues $10 / ticket 482 bands 4,258 attendees 829 bands 7,259 attendees 6 days 2,278 bands 25,119 attendees, 100+ venues $650+ / ticket 10 days 2,000+ bands 25,000+ attendees 100+ venues $850+ / ticket Music Film Interactive Music Film Interactive SXSW Economic Impact on Austin, TX = USD 355.9 million (2019)
  • 62. ป ั ญหา 2) ‘วัฒนธรรมไทย’ ที่ได้รับ (หรือไม่ได้รับ) การสนับสนุนจากภาครัฐในปัจจุบัน มีอะไรบ้าง?
  • 63. กรณีศึกษา: ทุนสนับสนุนภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2553 ที่มา: http://www.thaicinema.org/news53_tff4.php, https://pantip.com/topic/31809020 หมายเหตุ: สุดท้าย มีการลดงบสนับสนุนจากกระทรวงวัฒนธรรม จาก 100 ล้านบาท เป็ น 46,096,902 บาท โครงการที่ได้รับการส่งเสริมตามประกาศสํานักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยกระทรวงวัฒนธรรม เรื่อง การเป ิ ดรับโครงการและกิจกรรมส่งเสริมอุตสาหกรรมภาพยนตร์และวีดิทัศน์ ประจําป ี พ.ศ.2553 ประเภทภาพยนตร์เรื่องยาว และกิจกรรม ในวงเงิน 160,000,000 บาท ชื่อเรื่อง ทุน (บาท) ตํานานสมเด็จพระนเรศวร ภาค 3 ภาค 4 100,000,000 ฝนตกขึ้นฟ้า 8,000,000 คนโขน (ศรัณยู วงศ์กระจ่าง) 8,000,000 นรสิงห์ หรือ พันท้ายนรสิงห์ 5,660,000 อีนาง...เอ้ย 5,225,000 ซามูไร...อโยธยา 5,000,000 ลุงบุญมีระลึกชาติ 3,500,000 แต่เพียงผู้เดียว 3,000,000 หมอแสง 2,700,000 รัก ณ มหาสารคาม 2,000,000 ดาวคะนอง 1,500,000 สายนํ้าลูกผู้หญิง 1,200,000 การเดินทางแห่งพระพุทธศาสนาและการสืบทอดพระไตรป ิ ฎกเถรวาท 1,000,000 อินเดียรําลึก 1,000,000 ชีวิตและผลงานของ เฟ ื้อ หริพิทักษ์ 1,000,000 รหัสลับแผ่นดินสยาม 635,000 คนโขน (สมบัติ  เตชะรัตนประเสริฐ) 580,000
  • 64. • ในปี 2561 • ‘ทุนสนับสนุนโครงการหรือกิจกรรมด้าน ภาพยนตร์และวิดีทัศน์ประจําปี ’ มีงบประมาณ ทั้งหมด 12 ล้านบาท • กระทรวงวัฒนธรรมได้รับงบประมาณ 68 ล้าน บาท • จากงบกลางของป ี ทั้งหมด 150,000 ล้านบาท • นั่นหมายความว่า งบประมาณที่รัฐจัดสรรให้ อุตสาหกรรมหนัง คิดเป ็ น 0.008% ของงบ ประมาณทั้งหมดที่รัฐจัดสรรให้ภาคส่วนต่างๆ • นั่นได้สะท้อนความสนใจที่รัฐมีต่ออุตสาหกรรม ภาพยนตร์ที่อันที่จริงแล้วสามารถเป็ นได้มากกว่าแค่ ‘ความบันเทิง’ หากแต่สามารถเป็ น ‘soft power’ อัน ทรงพลังอย่างที่อุตสาหกรรมภาพยนตร์เกาหลีใต้เป็ น ตัวอย่างที่น่าสนใจ กรณีศึกษา: ทุนสนับสนุนโครงการหรือกิจกรรมด้านภาพยนตร์และวิดีทัศน์ประจําปี พ.ศ. 2561 ที่มา: https://themomentum.co/anucha-malila-thai-film-government-fund/ • “พอเรามองไปถึงอนาคต มันมองไม่เห็นอนาคตที่สดใสนัก ดีใจก็ดีใจได้ไม่เต็มที่ คือภาพยนตร์ไทยไม่ได้รับการปกป้ อง ไม่ได้รับการส่งเสริมจากรัฐบาลที่ผ่านมาเท่าที่ควร” • นุชี่-อนุชา บุญวรรธนะ ผู้กํากับหนัง มะลิลา กล่าวหลังขึ้นรับ รางวัลผู้กํากับยอดเยี่ยมจากเวทีสุพรรณหงส์2562
  • 65. กรณีตัวอย่างที่แสดงให้เห็นถึงความสับสนทั้งในภาครัฐ ภาคเอกชน และผู ้บริโภค • “กระทรวงวัฒนธรรมและคณะกรรมการภาพยนตร์ และวีดิทัศน์แห่งชาติ ได้กําหนดนโยบายและ ยุทธศาสตร์การส่งเสริมอุตสาหกรรมภาพยนตร์และวีดิ ทัศน์ไว้อย่างชัดเจน ซึ่งปัจจุบันอยู่ในระยะที่ 3 (พ.ศ.2560-2564) โดยส่งเสริมสนับสนุนการนําศิลป วัฒนธรรมความเป็ นไทย แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ และวัฒนธรรมของไทยสอดแทรกในสื่อต่างๆ อาทิ ภาพยนตร์แอนิเมชัน ละคร เกม แคแรกเตอร์โฆษณา ฯลฯ จะทํางานลักษณะบูรณาการร่วมกันระหว่างหน่วย งานที่เกี่ยวข้อง ภายใต้แนวคิด “Content Thailand” ที่ ช่วยเผยแพร่วัฒนธรรม ส่งเสริมการท่องเที่ยวและ เศรษฐกิจประเทศ • กรณีการนําการแสดงทางศิลปวัฒนธรรม การแสดง นาฏศิลป์ไทย ท่ารํา การแต่งกาย เครื่องดนตรีไทยเหล่า นี้ไปใช้ในวัตถุประสงค์ต่างๆ หรือการนําวัฒนธรรมไป ใช้เพื่อวัตถุประสงค์ใดๆ ก็ตาม อยากให้ผู ้ผลิตหรือผู ้ ประกอบการคํานึงถึงบริบทและความเหมาะสม” • นางยุพา ทวีวัฒนะกิจบวร ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม ที่มา: https://www.thairath.co.th/news/local/bangkok/1994453 ก.วัฒนธรรม แจงดราม่าเกม “Home Sweet Home” อาจเข้าใจผิด-สื่อสาร คลาดเคลื่อน ชี ้ผ่านการพิจารณาไปแล้ว 2 ป ี ก่อน ยัน ไม่ได้สั่งตัดท่ารํา หนุนสร้างความรู ้ความเข้าใจ รักษา พัฒนาต่อยอด
  • 66. ‘Content Thailand’ คืออะไร? Link: https://www.facebook.com/content.thailand/ คนส่วนใหญ่ไม่รู้จักจริง ๆ
  • 67. 1.สินค้าทางวัฒนธรรมของไทย ควรได้รับการตีความใหม่ให้ชัดเจน และกว้างยิ่งขึ้น 2.ผู้ผลิตควรได้รับอิสรภาพในการสร้างสรรค์ที่มากยิ่งขึ้น ให้สามารถดัดแปลงและผสมผสานเพื่อ สร้างนวัตกรรมทางวัฒนธรรมได้ 3.ต้องมีการให้ทุนสนับสนุนการสร้าง content ที่มากเพียงพอ เพื่อลดภาระและความเสี่ยงแก่ผู้ ผลิต 4.แม้เนื้อหาของ content จะไม่ตรงกับ agenda ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ก็ควรได้รับการ พิจารณาเพื่อรับทุนสนับสนุน แนวทางการพัฒนาสินค้าทางวัฒนธรรมของไทย
  • 68. กลยุทธ์การใช้ค่านิยมทางวัฒนธรรม (Culture) ให้เกิด Soft Power และตัวอย่าง กําหนดเป้ าหมาย เช่น ชาติตะวันตก / UN ASEAN / จีน เลือกค่านิยม เช่น สิทธิมนุษยชน ความเป็ นผู้นํา trend สนับสนุนการสร้างและ เผยแพร่คอนเท้นต์ เช่น ภาพยนตร์วิจารณ์การเมือง/สังคม/LGBTQ+ ศิลป ิ น/ดารา
  • 70. แผนยุทธศาสตร์แยกตามคลัสเตอร์(แผนเดิม) ผนยทธ า ตร ครือขาย ผประกอบการภาพยนตร ยทธ า ตรที 1 รางการมี นร ม พือ ลก ปลียนค ามร ละ พัฒนาทัก ะของบคลากร นอต า กรรมภาพยนตร ก รอบรม ค มร พอพฒน Content ของภ พยนตร (1-2 ป) ก รอบรม ชงปฏบตก ร พอ ค มร ละทก ะก รผลตภ พยนตร (Film Production) ละก ร ช ทค น ลยก รผลตภ พยนตรทม ม ตรฐ น (1-2 ป) กจกรรม พอ ลก ปลยนค มร รอง Content Marketing (1-2 ป) ก รจดท ลงร บร ม ละ ลก ปลยนค มรของบคล กร น อต กรรมภ พยนตร (1-2 ป) ยทธ า ตรที 2 กระตน มาชิก กิดการร มตั กันอยาง ตอ นือง พือ ก ขปญ า พัฒนางาน ละปกปอง ผลประ ยชน นลัก ณะงาน ดีย กัน กจกรรม พอร มกลมยอยของผ กย ของ นอต กรรม ภ ยนตร ชน กลมผก กบ กลมคน ขยนบท กลมผผลต กลมผจด (Producer) ปนตน (3-5 ป) ยทธ า ตรที 3 พิม ักยภาพการผลิตภาพยนตรของผประกอบการ มี คณภาพยิงขึน ปด อก ผประกอบ ก ร ม รถ ข ถง ลง งนทนดอก บยต (1-5 ป) ผลกดนน ยบ ยภ ครฐ พอช ย ลอ ละ ง รมผประกอบก ร น (1-5 ป) อต กรรมภ พยนตร กดผล ปนรปธรรม ประ นค มร มมอทงจ กภ ย น ละต งประ ท พอ ผประกอบก ร ม รถขย ยธรกจ นอต กรรมภ พยนตร (1-5 ป) ผนยทธศา ตร ครอขาย ผประกอบการ ทรทัศน ยทธศา ตรที 1 การ รางความ ขา จ (Mindset) ทีตรงกัน นการ รางมาตรฐาน ละพัฒนา Content ของกลมผประกอบการอต า กรรม ทรทัศน ป นค ม มม พ มผป ก บก ท ท น ด ม . ปน กนก ง พ ทกฝ ม Mindset นก งม ต ฐ น ด กน (3 ด นขน ป) ง พฒน Content ม ต ง ชน . ปนผ ม จ จ นก ทนจ ก น ง นท ก ข ง ชน . ททท. ก งทน ง ค ก ท ง ฒนธ ม พม. ก ท ง ธ ข ก ท บ ซตท น น น ต นต Youtube channel/Facebook fanpage ( งทน นบ นน ม ถด นนง น ด) ชช งท ง น ทต งต มค ม น จข งคน Gen z ชน Bloggers/ Web drama/ News/ Documentary พ ปนช งท ง ผ ง น ต น ทน ช ง ก ท (1-3 ป) ยทธศา ตรที 2 รางความรวมมอ พอขยายธรกิจของ ครอขายผประกอบการ ทรทัศน (1-3 ป) จด มกจก ม (Event) ทมค มต น ง งน ป 1 ค ง ต ง ชน จดป ชม ก จ ข (ง นทผ ต ) นป ท ท ผ น พ ดงค ม ขง งข งก ม , ก บ มทน นบ นน งทม ท ป ต งป ท ( พง ง ปท งก ม ช ) , ก จด มกจก ม บฟงค ม คด น ค มต งก ข ง ม ชก ค ข ผป ก บก ท ท น , ก จด บ ม น ป จ ด นท งด น ช ชพ/ก งม ต ฐ นง น , ก งค ม ช ม ง ก มค ต ท ท น ดมก มง นกบท ง ค ข น ปนตน (1-3 ป) จดกจก ม Pitching ด ม ชก ค ข ผป ก บก ท ท น ท นช ง ป บผง ป 2 ค ง ด ชญทก ถ น ท ท น ปนก มก Pitching ชญผม น ก ข ง ทงผจด ผผ ต ป น ซ ปนผฟง (1-4 ป) ผนยทธ า ตร ครือขาย ผประกอบการ พลง ยทธ า ตรที 4 ราง GOVERNMENT LEVEL ดยผลักดัน ภาครัฐ ขามามี นร ม นการขับ คลือน อต า กรรม พลง นการกา นดน ยบาย ละขอกฎ มายที นับ นน ร งน ยบ ยทจ ป ยน Mindset ก รม ง พ ง ทย บบ ก (1-3 ป) ร งจต นก น ร ง ข ทธ ก รรคณค ผ ง น ป (Art Appreciation) ย งจรงจง (1-3 ป) นบ นนก รร งรบ ทยฐ น “ผช น ญก รท งด นดนตร” “ ช ชพท งด นดนตร” (1-3 ป) ผ กดน น ยง นรฐท กย ข งน งบปร ม ณม ช นก รพฒน ต กรรม พ ง ย งตรงจด (1-3 ป) ยทธ า ตรที 1 ราง COMMUNITY ดย ชือม ยงค ามร มมือระ าง ครือขายผประกอบการ พลงกับ มาคม/ ภาที กีย ของกับ ิชาชีพ ทางานร มกัน ดอยาง ขม ขง จดกจกรรม พ น มพนธ ช ม ยงร ง คร ข ยผปร ก บก ร พ งกบ คร ข ยผปร ก บก ร น งคกร/บร ท/ น ยง น น ท กย ข ง (1 ป) จดกจกรรม พ น มพนธ ช มต ร ง ปนยค ก กบ ปนรน ม ทก ขนง พ ถ ยท ดค มร update ค มร ช มต ปนท งถนกบ น ยง น น (3 ด น) จดท บ ซต พ ปน งร บร ม ก ป ยนข ม กย กบ งก ร พ ง ปนพนท น ก น น พ ผปร ก บก ร พ ง ดร มก มกน (3 ด น) ยทธ า ตรที 2 ราง PLATFORM ดยจัดตัง/ขยายพืนที ดงผลงานของ ิลปน พลง ละขยายตลาด น อต า กรรม พลง จดท บ ซต (Online Platform) พ ปน งร บร มค มร ปนพนท น น ต ง ดงผ ง นต พ น ม ชก ผ น จ กค ปนตน (3 ด น) ผ กดน ปร ท ทย ปน ม งท ง ทย ท งดนตร (3 ด น) ผ กดน กดถนนคน ดน ง ปน พ ปนพนท ปน ด ดงผ ง น ดม กยงขน (3 ด น- 1 ป) ผ กดน กด Live House นทกจง ดข งปร ท พ ปนพนท ปน ม ดงผ ง น ดม ก ยงขน (1 ป) ยทธ า ตรที 3 ราง EDUCATION ดยพัฒนาบคลากร นอต า กรรม พลง มี ักยภาพ ค ามร ละ ทัก ะที ปนปจจบัน ปร ช มพนธ บคค ท ป ดรบร ก ร นดนตร ปน ชพ ปน ก (3-5 ป) พฒน กยภ พบค กร น งก ร พ ง นทกมต พ น ผ ง น ก ต ด ก(3-5 ป) ร ง น คดทท ม ง ป น ชงพ ณชย ชงธรกจ (3-5 ป)
  • 71. แผนกลยุทธ์การพัฒนาอุตสาหกรรมสื่อบันเทิงไทยของ TECNA พัฒนาชุมชน (Community) พัฒนาธุรกิจ (Business) สร้างแพลตฟอร์ม (Platforms) • การสื่อสารมวลชน (Communication & PR) • การศึกษาออนไลน์ (Online Education) • เครือข่ายออนไลน์ด้านสังคมและธุรกิจ (Social/ Business Network) • การจัดการองค์ความรู้ (Content Management) • การเผยแพร่องค์ความรู้ (Content Promotion) • การส่งเสริมธุรกิจ (Business Promotion) • การส่งเสริมให้เข้าถึงแหล่งเงินทุนทั้งแบบให้เปล่า และ แบบดอกเบี้ยตํ่าได้ (Funding & Finances) จัดกิจกรรม (Activities) • การจัดงานประชุม (Meetings / Meetups) • การจัดงานอบรม/สัมมนา (Seminars / Workshops) • การจัดงานพบปะระหว่างบุคลากรในสายอาชีพ และ ข้ามสายอาชีพ (Networking Events) • การจัดงานประชุมเชิงวิชาการ (Conferences) • การจัดงานจับคู่ทางธุรกิจ (Business Matchings) • การจัดงาน Pitching ผู้ประกอบการโทรทัศน์ • การจัดงานแสดงสินค้า/บริการ (Trade Shows) เป้ าหมาย วิ ธ ิ ี การ
  • 72. 1. สนับสนุนในการพัฒนาแพลตฟอร์มเพื่อส่งเสริมบุคลากรและพัฒนาศักยภาพเชิงธุรกิจ เป้ าหมาย วิ ธ ิ ี การ พัฒนาชุมชน (Community) พัฒนาธุรกิจ (Business) สร้างแพลตฟอร์ม (Platforms) • การสื่อสารมวลชน (Communication & PR) • การศึกษาออนไลน์ (Online Education) • เครือข่ายออนไลน์ด้านสังคมและธุรกิจ (Social/ Business Network) • การจัดการองค์ความรู้ (Content Management) • การเผยแพร่องค์ความรู้ (Content Promotion) • การส่งเสริมธุรกิจ (Business Promotion) • การส่งเสริมให้เข้าถึงแหล่งเงินทุนทั้งแบบให้เปล่า และ แบบดอกเบี้ยตํ่าได้ (Funding & Finances) จัดกิจกรรม (Activities) • การจัดงานประชุม (Meetings / Meetups) • การจัดงานอบรม/สัมมนา (Seminars / Workshops) • การจัดงานพบปะระหว่างบุคลากรในสายอาชีพ และ ข้ามสายอาชีพ (Networking Events) • การจัดงานประชุมเชิงวิชาการ (Conferences) • การจัดงานจับคู่ทางธุรกิจ (Business Matchings) • การจัดงาน Pitching ผู้ประกอบการโทรทัศน์ • การจัดงานแสดงสินค้า/บริการ (Trade Shows) สร้างและดูแลระบบ อีกทั้งการวิจัย เก็บรวบรวม เรียบเรียง และบริหารข้อมูล
  • 73. 2. สนับสนุนในการจัดกิจกรรมของสมาคมฯ ที่เกี่ยวกับการพัฒนาอุตสาหกรรมโดยตรง เป้ าหมาย วิ ธ ิ ี การ พัฒนาชุมชน (Community) พัฒนาธุรกิจ (Business) สร้างแพลตฟอร์ม (Platforms) • การสื่อสารมวลชน (Communication & PR) • การศึกษาออนไลน์ (Online Education) • เครือข่ายออนไลน์ด้านสังคมและธุรกิจ (Social/ Business Network) • การจัดการองค์ความรู้ (Content Management) • การเผยแพร่องค์ความรู้ (Content Promotion) • การส่งเสริมธุรกิจ (Business Promotion) • การส่งเสริมให้เข้าถึงแหล่งเงินทุนทั้งแบบให้เปล่า และ แบบดอกเบี้ยตํ่าได้ (Funding & Finances) จัดกิจกรรม (Activities) • การจัดงานประชุม (Meetings / Meetups) • การจัดงานอบรม/สัมมนา (Seminars / Workshops) • การจัดงานพบปะระหว่างบุคลากรในสายอาชีพ และ ข้ามสายอาชีพ (Networking Events) • การจัดงานประชุมเชิงวิชาการ (Conferences) • การจัดงานจับคู่ทางธุรกิจ (Business Matchings) • การจัดงาน Pitching ผู้ประกอบการโทรทัศน์ • การจัดงานแสดงสินค้า/บริการ (Trade Shows) งานเล็ก ๆ จัดเป็ นประจําตลอดทั้งปี หรือตาม ความเหมาะสมของเนื้อหา งานใหญ่ จัดเป็ นประจํา ป ี ละ 1-2 ครั้ง เช่น BMC, ช่วงเปลี่ยนผังรายการโทรทัศน์ ฯลฯ