SlideShare a Scribd company logo
การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว
วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
นายทักษิณ นามวงค์
ครู คศ.1
โรงเรียนทองสวัสดิ์วิทยาคาร
การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว
การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว หมายถึง การอ่านถ้อยคา
ที่มีผู้เรียบเรียงหรือประพันธ์ไว้ โดยการเปล่งเสียง และ
วางจังหวะเสียงให้เป็นไปตามความนิยม และเหมาะสม
กับเรื่องที่อ่าน เพื่อถ่ายทอดอารมณ์ไปสู่ผู้ฟัง ซึ่งจะทาให้
ผู้ฟังเกิดอารมณ์ร่วมคล้อยตามไปกับเรื่องราว หรือรส
ประพันธ์ที่อ่าน
หลักเกณฑ์ในการอ่านออกเสียงร้อยแก้ว
๑. ก่อนอ่านควรศึกษาเรื่องที่อ่านให้เข้าใจ เพื่อเเบ่งวรรคตอน
๒. อ่านให้คล่อง และเสียงดังพอเหมาะกับสถานที่และจานวนผู้ฟัง
๓. อ่านให้คล่องและถูกต้องตามอักขรวิธี โดยเฉพาะ ร ล คาควบกล้าต้องออกเสียงให้
ชัดเจน
๔. เน้นเสียงและถ้อยคา ตามน้าหนักความสาคัญของใจความ ใช้เสียงและจังหวะให้
เป็นไปตามเนื้อเรื่อง เช่น ดุ อ้อนวอน จริงจัง ฯลฯ
๕. อ่านออกเสียงให้เหมาะสมกับประเภทของเรื่อง เช่น ถ้าอ่านเรื่องที่ให้ข้อเท็จจริงทั่วไป
จะอ่านออกเสียงธรรมดาให้ชัดเจน
๖. ในระหว่างที่อ่าน ควรกวาดสายตามองตัวอักษร สลับกับการเงยหน้าขึ้นมาสบตา
ผู้ฟัง ในลักษณะที่เหมาะสม และดูเป็นธรรมชาติ
๗. ถ้าอ่านในที่ประชุม ต้องยืนทรงตัวในท่าทางที่สง่า มือที่จับกระดาษอยู่ในท่าทางที
เหมาะ ไม่เกร็ง ไม่ยกกระดาษ หรือเอกสารบังหน้า หรือไม่ถือไว้ต่าเกินไปจนต้องก้มลง
อ่านจนตัวงอ
วิธีการอ่านออกเสียงข้อความที่เป็นร้อยแก้ว
สร้างวัฒนธรรมคนรุ่นใหม่ให้เป็นนักอ่าน
ในปัจจุบันกล่าวกันว่า/ เรากาลังอยู่ในยุคโลกาภิวัฒน์ หรือเรียกอีกอย่างว่าโลกไร้
พรมแดน// แต่จะเรียกอย่างไรก็ตามเถิด/ การอ่าน/ ก็เป็นกระบวนการสาคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาคน
ในทศวรรษนี้/ เพราะโลกของการศึกษา/ มิได้จากัดอยู่ภายในห้องเรียน/ ที่มีลักษณะรูปทรงสี่เหลี่ยม
เเคบๆ เท่านั้น/ เเต่ข้อมูลข้าวสารสารสนเทศต่างๆ /ได้ย่อโลกให้เล็กลงเท่าที่เราอยากรู้ได้รวดเร็ว/ ในชั่ว
ลัดนิ้วมือเดียวอย่างที่คนโบราณกล่าวไว้/ จะมีสื่อให้อ่านอย่างหลากหลายให้เลือก/ ทั้งสื่อสิ่งพิมพ์ที่เรา
คุ้นเคย/ ไปจนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่เรียกว่า "อินเทอร์เน็ต" เพราะการต่อสู้รุกรานกันของมนุษย์ยุคใหม่/ จะ
ใช้ข้อมูล/ สติ/ ปัญญา/ และคุณภาพของคนในชาติ/ มากกว่าการใช้กาลังอาวุธเข้าประหัตประหารกัน//
หากคนในชาติด้อยคุณภาพ/ ขาดการเรียนรู้/ จะถูกครอบงาทางปัญญาได้ง่ายๆ / จากสื่อต่างๆ จาก
ชาติที่พัฒนาเเล้ว
หากคนไม่อ่านหนังสือ/ ก็ยากที่จะพัฒนาสติปัญญา และความรู้ได้/ โดยเฉพาะประเทศที่
กาลังพัฒนา/ จะต้องทุ่มเทให้คนมีนิสัยรักการอ่าน/ มีทักษะในการอ่าน/ และพัฒนาวิธีการอ่านให้เป็น
นักอ่านที่ดี// นักอ่านที่ดีจะมีภูมิคุ้มกันการครอบงาทางปัญญาได้เป็นอย่าง/ รู้เท่ากันคน และสามารถ
แก้ปัญหาได้ดี
ชาติก้าวไกลด้วยคนไทยรักการอ่าน : มานพ ศรีเทียม
*เครื่องหมาย / หมายถึง การหยุดเว้นช่วงจังหวะ
สั้นๆ
เครื่องหมาย // หมายถึง การหยุดเว้นช่วงจังหวะ
ที่ยาวกว่าเครื่องหมาย /
เครื่องหมาย ____ หมายถึง การเน้น การเพิ่ม
น้าหนักของเสียง
บรรณานุกรม
www.google.com

More Related Content

What's hot

การอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความการอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความmayavee16
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความพัน พัน
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน0872191189
 
บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบปNamfon Wannapa
 
บทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความบทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความ
Aj.Mallika Phongphaew
 
อบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทยอบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทย
tuksin namwong
 
หนังสือ
หนังสือหนังสือ
หนังสือ
NetnapaSakulthong
 
บทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟังบทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟัง
Aj.Mallika Phongphaew
 
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่องหน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่องขนิษฐา ทวีศรี
 
วิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญวิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญ
Rung Kru
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
krumanee thaiswkj
 
งานนำเสนอนวัตกรรม2.2
งานนำเสนอนวัตกรรม2.2งานนำเสนอนวัตกรรม2.2
งานนำเสนอนวัตกรรม2.2
lalidawan
 
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความPower point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความAnan Pakhing
 
หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุป
หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุปหน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุป
หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุปขนิษฐา ทวีศรี
 
เทคนิคการเล่านิทาน
เทคนิคการเล่านิทานเทคนิคการเล่านิทาน
เทคนิคการเล่านิทานKru-Netr Netrnapha
 
พัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่านพัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่าน
Thanit Lawyer
 
เทคนิคการสอนการฟังภาษาอังกฤษเบื้องต้น
เทคนิคการสอนการฟังภาษาอังกฤษเบื้องต้นเทคนิคการสอนการฟังภาษาอังกฤษเบื้องต้น
เทคนิคการสอนการฟังภาษาอังกฤษเบื้องต้น
Phatchara Hongsomdee
 
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ
สมใจ จันสุกสี
 

What's hot (18)

การอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความการอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความ
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบป
 
บทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความบทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความ
 
อบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทยอบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทย
 
หนังสือ
หนังสือหนังสือ
หนังสือ
 
บทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟังบทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟัง
 
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่องหน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
 
วิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญวิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญ
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
งานนำเสนอนวัตกรรม2.2
งานนำเสนอนวัตกรรม2.2งานนำเสนอนวัตกรรม2.2
งานนำเสนอนวัตกรรม2.2
 
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความPower point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความ
 
หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุป
หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุปหน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุป
หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุป
 
เทคนิคการเล่านิทาน
เทคนิคการเล่านิทานเทคนิคการเล่านิทาน
เทคนิคการเล่านิทาน
 
พัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่านพัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่าน
 
เทคนิคการสอนการฟังภาษาอังกฤษเบื้องต้น
เทคนิคการสอนการฟังภาษาอังกฤษเบื้องต้นเทคนิคการสอนการฟังภาษาอังกฤษเบื้องต้น
เทคนิคการสอนการฟังภาษาอังกฤษเบื้องต้น
 
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ
 

Similar to อบรมภาษาไทย

อบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทยอบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทย
tuksin namwong
 
อบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทยอบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทย
tuksin namwong
 
อบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทยอบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทย
tuksin namwong
 
การสื่ออารมณ์
การสื่ออารมณ์การสื่ออารมณ์
การสื่ออารมณ์
patnid
 
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรมวิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรมpong_4548
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
tabparid
 
แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1krumildsarakam25
 
2 exam-plan
2 exam-plan2 exam-plan
2 exam-plan
krumildsarakam25
 
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี) แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
Kun Cool Look Natt
 
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพการแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
พัน พัน
 
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความPower point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Thanit Lawyer
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
Boonlert Aroonpiboon
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์phornphan1111
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 

Similar to อบรมภาษาไทย (20)

อบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทยอบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทย
 
อบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทยอบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทย
 
อบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทยอบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทย
 
การสื่ออารมณ์
การสื่ออารมณ์การสื่ออารมณ์
การสื่ออารมณ์
 
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรมวิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
 
01 หน่วย 1
01 หน่วย 101 หน่วย 1
01 หน่วย 1
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
 
10
1010
10
 
แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1
 
2 exam-plan
2 exam-plan2 exam-plan
2 exam-plan
 
ม.5 เทอม 1 หน่วย 1
ม.5 เทอม 1 หน่วย 1ม.5 เทอม 1 หน่วย 1
ม.5 เทอม 1 หน่วย 1
 
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี) แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
 
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพการแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
 
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความPower point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความ
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
 
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทยใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
 
งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 

อบรมภาษาไทย

  • 1. การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 นายทักษิณ นามวงค์ ครู คศ.1 โรงเรียนทองสวัสดิ์วิทยาคาร
  • 2. การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว หมายถึง การอ่านถ้อยคา ที่มีผู้เรียบเรียงหรือประพันธ์ไว้ โดยการเปล่งเสียง และ วางจังหวะเสียงให้เป็นไปตามความนิยม และเหมาะสม กับเรื่องที่อ่าน เพื่อถ่ายทอดอารมณ์ไปสู่ผู้ฟัง ซึ่งจะทาให้ ผู้ฟังเกิดอารมณ์ร่วมคล้อยตามไปกับเรื่องราว หรือรส ประพันธ์ที่อ่าน
  • 3. หลักเกณฑ์ในการอ่านออกเสียงร้อยแก้ว ๑. ก่อนอ่านควรศึกษาเรื่องที่อ่านให้เข้าใจ เพื่อเเบ่งวรรคตอน ๒. อ่านให้คล่อง และเสียงดังพอเหมาะกับสถานที่และจานวนผู้ฟัง ๓. อ่านให้คล่องและถูกต้องตามอักขรวิธี โดยเฉพาะ ร ล คาควบกล้าต้องออกเสียงให้ ชัดเจน ๔. เน้นเสียงและถ้อยคา ตามน้าหนักความสาคัญของใจความ ใช้เสียงและจังหวะให้ เป็นไปตามเนื้อเรื่อง เช่น ดุ อ้อนวอน จริงจัง ฯลฯ ๕. อ่านออกเสียงให้เหมาะสมกับประเภทของเรื่อง เช่น ถ้าอ่านเรื่องที่ให้ข้อเท็จจริงทั่วไป จะอ่านออกเสียงธรรมดาให้ชัดเจน ๖. ในระหว่างที่อ่าน ควรกวาดสายตามองตัวอักษร สลับกับการเงยหน้าขึ้นมาสบตา ผู้ฟัง ในลักษณะที่เหมาะสม และดูเป็นธรรมชาติ ๗. ถ้าอ่านในที่ประชุม ต้องยืนทรงตัวในท่าทางที่สง่า มือที่จับกระดาษอยู่ในท่าทางที เหมาะ ไม่เกร็ง ไม่ยกกระดาษ หรือเอกสารบังหน้า หรือไม่ถือไว้ต่าเกินไปจนต้องก้มลง อ่านจนตัวงอ
  • 4. วิธีการอ่านออกเสียงข้อความที่เป็นร้อยแก้ว สร้างวัฒนธรรมคนรุ่นใหม่ให้เป็นนักอ่าน ในปัจจุบันกล่าวกันว่า/ เรากาลังอยู่ในยุคโลกาภิวัฒน์ หรือเรียกอีกอย่างว่าโลกไร้ พรมแดน// แต่จะเรียกอย่างไรก็ตามเถิด/ การอ่าน/ ก็เป็นกระบวนการสาคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาคน ในทศวรรษนี้/ เพราะโลกของการศึกษา/ มิได้จากัดอยู่ภายในห้องเรียน/ ที่มีลักษณะรูปทรงสี่เหลี่ยม เเคบๆ เท่านั้น/ เเต่ข้อมูลข้าวสารสารสนเทศต่างๆ /ได้ย่อโลกให้เล็กลงเท่าที่เราอยากรู้ได้รวดเร็ว/ ในชั่ว ลัดนิ้วมือเดียวอย่างที่คนโบราณกล่าวไว้/ จะมีสื่อให้อ่านอย่างหลากหลายให้เลือก/ ทั้งสื่อสิ่งพิมพ์ที่เรา คุ้นเคย/ ไปจนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่เรียกว่า "อินเทอร์เน็ต" เพราะการต่อสู้รุกรานกันของมนุษย์ยุคใหม่/ จะ ใช้ข้อมูล/ สติ/ ปัญญา/ และคุณภาพของคนในชาติ/ มากกว่าการใช้กาลังอาวุธเข้าประหัตประหารกัน// หากคนในชาติด้อยคุณภาพ/ ขาดการเรียนรู้/ จะถูกครอบงาทางปัญญาได้ง่ายๆ / จากสื่อต่างๆ จาก ชาติที่พัฒนาเเล้ว หากคนไม่อ่านหนังสือ/ ก็ยากที่จะพัฒนาสติปัญญา และความรู้ได้/ โดยเฉพาะประเทศที่ กาลังพัฒนา/ จะต้องทุ่มเทให้คนมีนิสัยรักการอ่าน/ มีทักษะในการอ่าน/ และพัฒนาวิธีการอ่านให้เป็น นักอ่านที่ดี// นักอ่านที่ดีจะมีภูมิคุ้มกันการครอบงาทางปัญญาได้เป็นอย่าง/ รู้เท่ากันคน และสามารถ แก้ปัญหาได้ดี ชาติก้าวไกลด้วยคนไทยรักการอ่าน : มานพ ศรีเทียม
  • 5. *เครื่องหมาย / หมายถึง การหยุดเว้นช่วงจังหวะ สั้นๆ เครื่องหมาย // หมายถึง การหยุดเว้นช่วงจังหวะ ที่ยาวกว่าเครื่องหมาย / เครื่องหมาย ____ หมายถึง การเน้น การเพิ่ม น้าหนักของเสียง