SlideShare a Scribd company logo
นาฏศิลป์ไทย<br />นาฏศิลป์ไทยมีกำเนิดจาก<br />1.  การเลียนแบบธรรมชาติ อาจเห็นได้เป็น 3 ขั้น ดังนี้<br />      ขั้นต้น เกิดแต่วิสัยสัตว์ เมื่อเวทนาเสวยอารมณ์ ไม่ว่าจะเป็นสุขเวทนาหรือทุกขเวทนาก็ตาม ถ้าอารมณ์แรงกล้า ไม่กลั้นไว้ได้ ก็แสดงออกมาให้ปรากฏ เช่น เมื่อพอใจก็หัวเราะตบมือ กระโดดโลดเต้น เมื่อไม่พอใจก็ร้องให้ ดิ้นรน<br />     ขั้นต่อมา เมื่อคนรู้ความหมายของกิริยาท่าทางมากขึ้น ก็ใช้กิริยาเหล่านั้นเป็นภาษาสื่อความหมายให้ผู้อื่นรู้ความรู้สึก และความประสงค์ เช่น ต้องการแสดงความเสน่หา ก็ยิ้มแย้มกรุ้มกริ่มชม้อยชม้ายชายตา หรือโกรธเคืองก็ทำหน้าตาถมึงทึง กระทืบกระแทก<br />     ต่อมาอีกขั้นหนึ่ง เกิดมีผู้ฉลาดเลือกเอากิริยาท่าทาง ซึ่งแสดงอารมณ์นั้นมาเรียบเรียงสอดคล้องติดต่อกันเป็นกระบวนฟ้อนรำให้เห็นงาม จนเป็นที่ติดตาต้องใจคน<br />2.  การเซ่นสรวงบูชา<br />มนุษย์แต่โบราณมีความเชื่อถือในสิ่งศักดิ์สิทธิ์    จึงมีการบูชาเซ่นสรวงเพื่อขอให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์นั้นประทานพรให้ตนสมปรารถนา   หรือขอให้ขจัดปัดเป่าสิ่งที่ตนไม่ปรารถนาให้สิ้นไป  การบูชาเซ่นสรวง ก็มักถวายสิ่งที่ตนเห็นว่าดี หรือที่ตนพอใจ เช่น  ข้าวปลาอาหาร  ขนมหวาน  ผลไม้  ดอกไม้    จนถึงการขับร้อง ฟ้อนรำ เพื่อให้สิ่งที่ตนเคารพบูชานั้นพอใจ       ต่อมาก็มีการฟ้อนรำบำเรอกษัตริย์ด้วยถือว่าเป็นสมมติเทพที่ช่วยบำบัดทุกข์บำรุงสุขให้ จนแม้ขุนศึกนักรบผู้กล้าหาญที่มีชัยในการสงครามปราบข้าศึกศัตรูได้ ก็มีการบำเรอรับขวัญด้วยการฟ้อนรำ และท้ายที่สุด การฟ้อนรำก็คลายความศักดิ์สิทธิ์ลง   จากที่เคยเป็นการเซ่นสรวงบูชา ก็กลายเป็นการฟ้อนรำเพื่อความบันเทิงของคนทั่วไป<br />3. การรับอารยธรรมของอินเดีย<br />  เมื่อไทยมาอยู่ในสุวรรณภูมิใหม่ ๆ นั้น มีชนชาติมอญ และชาติขอมเจริญรุ่งเรืองอยู่ก่อนแล้ว ชาติทั้งสองนั้นได้รับอารยธรรมของอินเดียไว้มากมายเป็นเวลานาน เมื่อเรามาอยู่ในระหว่างชนสองชาตินี้ เราก็มีการติดต่อกันอย่างใกล้ชิดเราจึงพลอยได้รับอารยธรรมอินเดียไว้ด้วยหลายด้าน เช่น  ภาษา  ประเพณี  ตลอดจนศิลปะการละคร<br />นาฏศิลป์ไทย<br />นาฏศิลป์ไทย หมายถึงศิลปะในการละคร<br />นาฏศิลป์ไทย จำแนกออกเป็นประเภทต่าง ๆ ดังนี้<br />1.  โขน<br />2.  หนัง<br />3.  หุ่น<br />4.  ละครรำ<br />5.  ละครร้อง ละครสังคีต ละครพูด<br />6.  การละเล่นของหลวง การเล่นเบิกโรง การละเล่นพื้นเมือง<br />               นาฏศิลป์ไทยประเภทต่าง ๆ ดังกล่าวมานี้ รามักจะเรียกกันโดยทั่ว ๆ ไป ว่ามหรสพ คำว่า มหรสพ มีความหมายถึง “การเล่นรื่นเริง มีโขน ละคร หรือสิ่งที่คล้ายคลึงกัน ซึ่งน่าจะหมายความเฉพาะการแสดงที่มีเนื้อเรื่องเท่านั้น แต่ปัจจุบันนี้ คำว่า มหรสพ มีความหมายกว้างขวาง รวมไปถึงการเล่นรื่นเริงทุกชนิด มีระบำ  รำ  เต้น  เป็นต้น<br />ระบำ<br />   หมายถึงการแสดงเป็นชุด เป็นหมู่ ที่ผู้แสดงร่ายรำทำท่าเหมือน ๆ กัน พร้อม ๆ กัน ความงามของการแสดงระบำอยู่ที่ความสอดประสานกลมกลืนกันด้วยความพร้อมเพรียง ระบำยังจำแนกออกดังนี้<br />1.  ระบำแบบมาตรฐาน ได้แก่ระบำที่ทางปรมาจารย์ทางนาฏศิลป์แต่โบราณท่านได้ประดิษฐ์ขึ้นอย่างมีระเบียบแบบแผน และกำหนดลีลาท่ารำตลอดถึงกระบวนการแสดงไว้อย่างแน่นอนตายตัว และได้สั่งสอน ฝึกหัด ถ่ายทอดต่อ ๆ กันมาเป็นเวลานาน จนนับถือเป็นแบบแบบ ระบำเหล่านี้ไม่สมควรที่ผู้ใดจะบังอาจไปเปลี่ยนแปลงลีลาท่ารำ และกระบวนการแสดงของท่าน จึงจัดเป็นระบบแบบมาตรฐาน คือเป็นแบบแบบ เป็นแม่บทที่ควรธำรงรักษาไว้ เช่น ระบำดาวดึงส์  ระบำพรหมมาสตร์  ระบำกฤดาภินิหาร <br />ระบำเทพบันเทิง ระบำโบราณคดี ระบำย่องหงิด ระบำสี่บท<br />2.  ระบำเบ็ดเตล็ด ได้แก่ระบำที่ประดิษฐ์ขึ้นใหม่ต่าง ๆ อาจเป็นระบำเทพบุตร นางฟ้า มนุษย์ กินนร นาคและระบำสัตว์ต่าง ๆ ซึ่งอาจจะแทรกอยู่ในละครเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือประดิษฐ์ขึ้นโดยเอกเทศให้เป็นการแสดงชุดหนึ่งต่างหาก ตามโอกาสต่าง ๆ ลีลาท่ารำและกระบวนการแสดงอาจเปลี่ยนแปลงไปบ้างก็ได้ให้เหมาะกับกาลเทศะและผู้แสดง เช่น ระบำนพรัตน์ ระบำดอกบัว ระบำนกเขา ระบำม้า ระบำชุมนุมเผ่าไทย ระบำปลา<br />รำ<br />ได้แก่การรำเดี่ยว รำหมู่ รำคู่ รำอาวุธ ฯลฯ การรำเป็นศิลปะส่วนสำคัญของละครไทย<br />รำหน้าพาทย์ หมายถึงเพลงที่ดนตรีปี่พาทย์บรรเลงประกอบกิริยาต่าง ๆ ทั้งที่มีตัวละคร เช่น ในการแสดงโขน ละคร และไม่มีตัวละคร ซึ่งเป็นการสมมติ เช่น บรรเลงประกอบการไหว้ครู หรือพิธีอื่น ๆ หรือแสดงเหตุการณ์ เปลี่ยนแปลง เกิดขึ้นหรือสูญหายไป เป็นต้น การรำหน้าพาทย์   ก็คือ การรำตามเพลงหน้าพาทย์<br />รำตีบท (รำใช้บท) คือ การรำอธิบายความหมายของถ้อยคำตามบท เช่น ตัวเรา จีบมือซ้ายเข้าหาอก ตัวท่าน ตั้งมือแบห่างตัวระดับอกหรือชี้ รัก สองมือแบไขว้แขนปลายนิ้วแตะที่ต้นแขน เคารพ พนมมือระหว่างอก อาย แบมือป้องข้างแก้ม ฯลฯ การรำตีบทนี้ใช้มากทั้งโขน ละคร ระบำ   รำ   ฟ้อนทุกชนิด<br />เต้น<br />ได้แก่ศิลปะการแสดงที่เคลื่อนไหวส่วนล่างของร่างกายมากกว่าส่วนบน คือ การใช้การยกเท้าก้าวเต้นลงตามจังหวะ ส่วนลำตัว แขน มือ เป็นส่วนประกอบ อาจจะไม่ได้ใช้มือร่ายรำเพราะบางครั้งอาจจะถืออาวุธ อุปกรณ์ประกอบการแสดงอื่น ๆ การเต้นนี้เป็นศิลปะสำคัญในการแสดง โขน เช่น เรามักจะพูดว่าเต้นโขน รำละคร ดังนี้เป็นต้น<br />ฟ้อน<br />เป็นการแสดงพื้นเมืองอันเป็นศิลปะของไทยฝ่ายเหนือ เป็นการร่ายรำที่แสดงพร้อมกันเป็นชุด ๆ ไม่ดำเนินเป็นเรื่องราว ท่าทางกรีดกรายร่ายรำบางท่าแม้จะไม่มีความหมาย นอกจากความสวยงาม แต่บางท่ามีความหมายตามทีท่าและบทร้อง ในสมัยโบราณฟ้อนใช้แสดงประกอบเฉพาะในวันสำคัญในพระราชฐานเท่านั้น เช่น ในคุ้มหลวง ผู้ฟ้อนโดยมากล้วนแต่เป็นเจ้านายเชื้อพระวงศ์ฝ่ายในทั้งสิน ศิลปะในการฟ้อนอยู่ที่ความพร้อมเพรียงและความอ่อนช้อยของท่ารำเป็นสำคัญ จำนวนผู้แสดงมักแสดงเป็นหมู่ราว  8 คน  บางทีก็แสดงกลางแจ้งนับเป็น 10 คู่ถึงจำนวน 100  คู่ขึ้นไป เครื่องแต่งกายเป็นแบบชาวเหนือ<br />เพลงพื้นเมือง การแสดงพื้นเมือง<br />การละเล่นพื้นเมืองมี 2 ประเภท คือ<br />1.  เพลงพื้นเมือง<br />2.  การแสดงพื้นเมือง<br />1.  เพลงพื้นเมือง   หมายถึง เพลงของชาวบ้านในท้องถิ่นต่าง ๆ  ซึ่งแต่ละถิ่นก็ประดิษฐ์แบบแผนการร้องเพลงของตนไปตามความนิยม และสำเนียงภาษาพูดที่เพี้ยนแปร่งแตกต่างกัน มักจะนิยมร้องกันในเวลาเทศกาลหรือมีงานที่มีการชุมนุมคนในหมู่บ้าน<br />2.  การแสดงพื้นเมือง จะเน้นลักษณะลีลาการรำทากขึ้นกว่าการเล่นเพลง ความหมายของการใช้ท่าทางจะมีมากกว่าการแต่งกายของผู้แสดงจะถูพิถีพิถัน ต้องการความสวยงามและเป็นเอกลักษณ์ในการแสดงแต่ละชุด<br />ภาคกลาง<br />เพลงพื้นเมืองเพลงเทพทอง  เพลงปรบไก่  เพลงฉ่อย  ลำตัด  เพลงโคราช  เต้นกำรำเคียว <br />เพลงพวงมาลัย เพลงเรือ เพลงเหย่ย<br />การแสดงพื้นเมือง  เถิดเทิง รำสีนวน รำโคม รำโทน แม่งู แม่ศรี รำแม่บท รำอธิษฐาน    <br />
นาฏศิลป์ไทย
นาฏศิลป์ไทย
นาฏศิลป์ไทย
นาฏศิลป์ไทย

More Related Content

Viewers also liked

Traumatic and complicated cataract
Traumatic and complicated cataractTraumatic and complicated cataract
Traumatic and complicated cataract
Samuel Ponraj
 
Nyctalopia & retinitis pigmentosa
Nyctalopia  &  retinitis pigmentosaNyctalopia  &  retinitis pigmentosa
Nyctalopia & retinitis pigmentosa
Samuel Ponraj
 
Dark room
Dark roomDark room
Dark room
Samuel Ponraj
 
Corneal drawings
Corneal drawingsCorneal drawings
Corneal drawings
Samuel Ponraj
 
Rhegmatogenous retinal detachment
Rhegmatogenous retinal detachmentRhegmatogenous retinal detachment
Rhegmatogenous retinal detachment
Samuel Ponraj
 
Interpretation of fields
Interpretation of fieldsInterpretation of fields
Interpretation of fields
Samuel Ponraj
 
Angle closure glaucoma
Angle  closure  glaucomaAngle  closure  glaucoma
Angle closure glaucoma
Samuel Ponraj
 
Fluorescein in Ophthalmology
Fluorescein in OphthalmologyFluorescein in Ophthalmology
Fluorescein in Ophthalmology
Samuel Ponraj
 

Viewers also liked (8)

Traumatic and complicated cataract
Traumatic and complicated cataractTraumatic and complicated cataract
Traumatic and complicated cataract
 
Nyctalopia & retinitis pigmentosa
Nyctalopia  &  retinitis pigmentosaNyctalopia  &  retinitis pigmentosa
Nyctalopia & retinitis pigmentosa
 
Dark room
Dark roomDark room
Dark room
 
Corneal drawings
Corneal drawingsCorneal drawings
Corneal drawings
 
Rhegmatogenous retinal detachment
Rhegmatogenous retinal detachmentRhegmatogenous retinal detachment
Rhegmatogenous retinal detachment
 
Interpretation of fields
Interpretation of fieldsInterpretation of fields
Interpretation of fields
 
Angle closure glaucoma
Angle  closure  glaucomaAngle  closure  glaucoma
Angle closure glaucoma
 
Fluorescein in Ophthalmology
Fluorescein in OphthalmologyFluorescein in Ophthalmology
Fluorescein in Ophthalmology
 

Similar to นาฏศิลป์ไทย

ความหมายของสำนวน
ความหมายของสำนวนความหมายของสำนวน
ความหมายของสำนวนJoice Naka
 
ภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทยภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทยnatta25
 
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5ปวริศา
 
ภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทยภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทย
somchai2505
 
บทเรียนเรื่อง คำวิเศษณ์
บทเรียนเรื่อง คำวิเศษณ์บทเรียนเรื่อง คำวิเศษณ์
บทเรียนเรื่อง คำวิเศษณ์
ปวริศา
 
นาฏย ศัพท์
นาฏย ศัพท์นาฏย ศัพท์
นาฏย ศัพท์
Preepram Laedvilai
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์krubuatoom
 
สุภาษิตไทย
สุภาษิตไทยสุภาษิตไทย
สุภาษิตไทย
yaowarat Lertpipatkul
 
สุภาษิตไทย
สุภาษิตไทยสุภาษิตไทย
สุภาษิตไทย
yaowarat Lertpipatkul
 
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
คุณานนต์ ทองกรด
 
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)
Thanit Lawyer
 
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพการใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพAnan Pakhing
 
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพการใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพThanit Lawyer
 
นักแต่งเพลง
นักแต่งเพลงนักแต่งเพลง
นักแต่งเพลงNing Rommanee
 

Similar to นาฏศิลป์ไทย (20)

ความหมายของสำนวน
ความหมายของสำนวนความหมายของสำนวน
ความหมายของสำนวน
 
thai
thaithai
thai
 
ภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทยภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทย
 
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทยการจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
 
ชนิดของคำ
ชนิดของคำชนิดของคำ
ชนิดของคำ
 
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
 
ภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทยภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทย
 
บทเรียนเรื่อง คำวิเศษณ์
บทเรียนเรื่อง คำวิเศษณ์บทเรียนเรื่อง คำวิเศษณ์
บทเรียนเรื่อง คำวิเศษณ์
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
นาฏย ศัพท์
นาฏย ศัพท์นาฏย ศัพท์
นาฏย ศัพท์
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
Stormy aries
Stormy ariesStormy aries
Stormy aries
 
Lion
LionLion
Lion
 
สุภาษิตไทย
สุภาษิตไทยสุภาษิตไทย
สุภาษิตไทย
 
สุภาษิตไทย
สุภาษิตไทยสุภาษิตไทย
สุภาษิตไทย
 
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
 
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)
 
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพการใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
 
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพการใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
 
นักแต่งเพลง
นักแต่งเพลงนักแต่งเพลง
นักแต่งเพลง
 

นาฏศิลป์ไทย

  • 1. นาฏศิลป์ไทย<br />นาฏศิลป์ไทยมีกำเนิดจาก<br />1. การเลียนแบบธรรมชาติ อาจเห็นได้เป็น 3 ขั้น ดังนี้<br /> ขั้นต้น เกิดแต่วิสัยสัตว์ เมื่อเวทนาเสวยอารมณ์ ไม่ว่าจะเป็นสุขเวทนาหรือทุกขเวทนาก็ตาม ถ้าอารมณ์แรงกล้า ไม่กลั้นไว้ได้ ก็แสดงออกมาให้ปรากฏ เช่น เมื่อพอใจก็หัวเราะตบมือ กระโดดโลดเต้น เมื่อไม่พอใจก็ร้องให้ ดิ้นรน<br /> ขั้นต่อมา เมื่อคนรู้ความหมายของกิริยาท่าทางมากขึ้น ก็ใช้กิริยาเหล่านั้นเป็นภาษาสื่อความหมายให้ผู้อื่นรู้ความรู้สึก และความประสงค์ เช่น ต้องการแสดงความเสน่หา ก็ยิ้มแย้มกรุ้มกริ่มชม้อยชม้ายชายตา หรือโกรธเคืองก็ทำหน้าตาถมึงทึง กระทืบกระแทก<br /> ต่อมาอีกขั้นหนึ่ง เกิดมีผู้ฉลาดเลือกเอากิริยาท่าทาง ซึ่งแสดงอารมณ์นั้นมาเรียบเรียงสอดคล้องติดต่อกันเป็นกระบวนฟ้อนรำให้เห็นงาม จนเป็นที่ติดตาต้องใจคน<br />2. การเซ่นสรวงบูชา<br />มนุษย์แต่โบราณมีความเชื่อถือในสิ่งศักดิ์สิทธิ์ จึงมีการบูชาเซ่นสรวงเพื่อขอให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์นั้นประทานพรให้ตนสมปรารถนา หรือขอให้ขจัดปัดเป่าสิ่งที่ตนไม่ปรารถนาให้สิ้นไป การบูชาเซ่นสรวง ก็มักถวายสิ่งที่ตนเห็นว่าดี หรือที่ตนพอใจ เช่น ข้าวปลาอาหาร ขนมหวาน ผลไม้ ดอกไม้ จนถึงการขับร้อง ฟ้อนรำ เพื่อให้สิ่งที่ตนเคารพบูชานั้นพอใจ ต่อมาก็มีการฟ้อนรำบำเรอกษัตริย์ด้วยถือว่าเป็นสมมติเทพที่ช่วยบำบัดทุกข์บำรุงสุขให้ จนแม้ขุนศึกนักรบผู้กล้าหาญที่มีชัยในการสงครามปราบข้าศึกศัตรูได้ ก็มีการบำเรอรับขวัญด้วยการฟ้อนรำ และท้ายที่สุด การฟ้อนรำก็คลายความศักดิ์สิทธิ์ลง จากที่เคยเป็นการเซ่นสรวงบูชา ก็กลายเป็นการฟ้อนรำเพื่อความบันเทิงของคนทั่วไป<br />3. การรับอารยธรรมของอินเดีย<br /> เมื่อไทยมาอยู่ในสุวรรณภูมิใหม่ ๆ นั้น มีชนชาติมอญ และชาติขอมเจริญรุ่งเรืองอยู่ก่อนแล้ว ชาติทั้งสองนั้นได้รับอารยธรรมของอินเดียไว้มากมายเป็นเวลานาน เมื่อเรามาอยู่ในระหว่างชนสองชาตินี้ เราก็มีการติดต่อกันอย่างใกล้ชิดเราจึงพลอยได้รับอารยธรรมอินเดียไว้ด้วยหลายด้าน เช่น ภาษา ประเพณี ตลอดจนศิลปะการละคร<br />นาฏศิลป์ไทย<br />นาฏศิลป์ไทย หมายถึงศิลปะในการละคร<br />นาฏศิลป์ไทย จำแนกออกเป็นประเภทต่าง ๆ ดังนี้<br />1. โขน<br />2. หนัง<br />3. หุ่น<br />4. ละครรำ<br />5. ละครร้อง ละครสังคีต ละครพูด<br />6. การละเล่นของหลวง การเล่นเบิกโรง การละเล่นพื้นเมือง<br /> นาฏศิลป์ไทยประเภทต่าง ๆ ดังกล่าวมานี้ รามักจะเรียกกันโดยทั่ว ๆ ไป ว่ามหรสพ คำว่า มหรสพ มีความหมายถึง “การเล่นรื่นเริง มีโขน ละคร หรือสิ่งที่คล้ายคลึงกัน ซึ่งน่าจะหมายความเฉพาะการแสดงที่มีเนื้อเรื่องเท่านั้น แต่ปัจจุบันนี้ คำว่า มหรสพ มีความหมายกว้างขวาง รวมไปถึงการเล่นรื่นเริงทุกชนิด มีระบำ รำ เต้น เป็นต้น<br />ระบำ<br /> หมายถึงการแสดงเป็นชุด เป็นหมู่ ที่ผู้แสดงร่ายรำทำท่าเหมือน ๆ กัน พร้อม ๆ กัน ความงามของการแสดงระบำอยู่ที่ความสอดประสานกลมกลืนกันด้วยความพร้อมเพรียง ระบำยังจำแนกออกดังนี้<br />1. ระบำแบบมาตรฐาน ได้แก่ระบำที่ทางปรมาจารย์ทางนาฏศิลป์แต่โบราณท่านได้ประดิษฐ์ขึ้นอย่างมีระเบียบแบบแผน และกำหนดลีลาท่ารำตลอดถึงกระบวนการแสดงไว้อย่างแน่นอนตายตัว และได้สั่งสอน ฝึกหัด ถ่ายทอดต่อ ๆ กันมาเป็นเวลานาน จนนับถือเป็นแบบแบบ ระบำเหล่านี้ไม่สมควรที่ผู้ใดจะบังอาจไปเปลี่ยนแปลงลีลาท่ารำ และกระบวนการแสดงของท่าน จึงจัดเป็นระบบแบบมาตรฐาน คือเป็นแบบแบบ เป็นแม่บทที่ควรธำรงรักษาไว้ เช่น ระบำดาวดึงส์ ระบำพรหมมาสตร์ ระบำกฤดาภินิหาร <br />ระบำเทพบันเทิง ระบำโบราณคดี ระบำย่องหงิด ระบำสี่บท<br />2. ระบำเบ็ดเตล็ด ได้แก่ระบำที่ประดิษฐ์ขึ้นใหม่ต่าง ๆ อาจเป็นระบำเทพบุตร นางฟ้า มนุษย์ กินนร นาคและระบำสัตว์ต่าง ๆ ซึ่งอาจจะแทรกอยู่ในละครเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือประดิษฐ์ขึ้นโดยเอกเทศให้เป็นการแสดงชุดหนึ่งต่างหาก ตามโอกาสต่าง ๆ ลีลาท่ารำและกระบวนการแสดงอาจเปลี่ยนแปลงไปบ้างก็ได้ให้เหมาะกับกาลเทศะและผู้แสดง เช่น ระบำนพรัตน์ ระบำดอกบัว ระบำนกเขา ระบำม้า ระบำชุมนุมเผ่าไทย ระบำปลา<br />รำ<br />ได้แก่การรำเดี่ยว รำหมู่ รำคู่ รำอาวุธ ฯลฯ การรำเป็นศิลปะส่วนสำคัญของละครไทย<br />รำหน้าพาทย์ หมายถึงเพลงที่ดนตรีปี่พาทย์บรรเลงประกอบกิริยาต่าง ๆ ทั้งที่มีตัวละคร เช่น ในการแสดงโขน ละคร และไม่มีตัวละคร ซึ่งเป็นการสมมติ เช่น บรรเลงประกอบการไหว้ครู หรือพิธีอื่น ๆ หรือแสดงเหตุการณ์ เปลี่ยนแปลง เกิดขึ้นหรือสูญหายไป เป็นต้น การรำหน้าพาทย์ ก็คือ การรำตามเพลงหน้าพาทย์<br />รำตีบท (รำใช้บท) คือ การรำอธิบายความหมายของถ้อยคำตามบท เช่น ตัวเรา จีบมือซ้ายเข้าหาอก ตัวท่าน ตั้งมือแบห่างตัวระดับอกหรือชี้ รัก สองมือแบไขว้แขนปลายนิ้วแตะที่ต้นแขน เคารพ พนมมือระหว่างอก อาย แบมือป้องข้างแก้ม ฯลฯ การรำตีบทนี้ใช้มากทั้งโขน ละคร ระบำ รำ ฟ้อนทุกชนิด<br />เต้น<br />ได้แก่ศิลปะการแสดงที่เคลื่อนไหวส่วนล่างของร่างกายมากกว่าส่วนบน คือ การใช้การยกเท้าก้าวเต้นลงตามจังหวะ ส่วนลำตัว แขน มือ เป็นส่วนประกอบ อาจจะไม่ได้ใช้มือร่ายรำเพราะบางครั้งอาจจะถืออาวุธ อุปกรณ์ประกอบการแสดงอื่น ๆ การเต้นนี้เป็นศิลปะสำคัญในการแสดง โขน เช่น เรามักจะพูดว่าเต้นโขน รำละคร ดังนี้เป็นต้น<br />ฟ้อน<br />เป็นการแสดงพื้นเมืองอันเป็นศิลปะของไทยฝ่ายเหนือ เป็นการร่ายรำที่แสดงพร้อมกันเป็นชุด ๆ ไม่ดำเนินเป็นเรื่องราว ท่าทางกรีดกรายร่ายรำบางท่าแม้จะไม่มีความหมาย นอกจากความสวยงาม แต่บางท่ามีความหมายตามทีท่าและบทร้อง ในสมัยโบราณฟ้อนใช้แสดงประกอบเฉพาะในวันสำคัญในพระราชฐานเท่านั้น เช่น ในคุ้มหลวง ผู้ฟ้อนโดยมากล้วนแต่เป็นเจ้านายเชื้อพระวงศ์ฝ่ายในทั้งสิน ศิลปะในการฟ้อนอยู่ที่ความพร้อมเพรียงและความอ่อนช้อยของท่ารำเป็นสำคัญ จำนวนผู้แสดงมักแสดงเป็นหมู่ราว 8 คน บางทีก็แสดงกลางแจ้งนับเป็น 10 คู่ถึงจำนวน 100 คู่ขึ้นไป เครื่องแต่งกายเป็นแบบชาวเหนือ<br />เพลงพื้นเมือง การแสดงพื้นเมือง<br />การละเล่นพื้นเมืองมี 2 ประเภท คือ<br />1. เพลงพื้นเมือง<br />2. การแสดงพื้นเมือง<br />1. เพลงพื้นเมือง หมายถึง เพลงของชาวบ้านในท้องถิ่นต่าง ๆ ซึ่งแต่ละถิ่นก็ประดิษฐ์แบบแผนการร้องเพลงของตนไปตามความนิยม และสำเนียงภาษาพูดที่เพี้ยนแปร่งแตกต่างกัน มักจะนิยมร้องกันในเวลาเทศกาลหรือมีงานที่มีการชุมนุมคนในหมู่บ้าน<br />2. การแสดงพื้นเมือง จะเน้นลักษณะลีลาการรำทากขึ้นกว่าการเล่นเพลง ความหมายของการใช้ท่าทางจะมีมากกว่าการแต่งกายของผู้แสดงจะถูพิถีพิถัน ต้องการความสวยงามและเป็นเอกลักษณ์ในการแสดงแต่ละชุด<br />ภาคกลาง<br />เพลงพื้นเมืองเพลงเทพทอง เพลงปรบไก่ เพลงฉ่อย ลำตัด เพลงโคราช เต้นกำรำเคียว <br />เพลงพวงมาลัย เพลงเรือ เพลงเหย่ย<br />การแสดงพื้นเมือง เถิดเทิง รำสีนวน รำโคม รำโทน แม่งู แม่ศรี รำแม่บท รำอธิษฐาน <br />