SlideShare a Scribd company logo
สื่อการเรียนรู้
เรื่อง วิกฤตการณ์เบอร์ลิน
จัดทาโดย
น.ส. สุชญา ทะลิ ม.5.11 เลขที่31
น.ส. ชนิดา ชยางกูร ณ อยุธยา ม.5.11 เลขที่ 38
เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลงในปี ค.ศ. 1945 เยอรมนีแบ่งออกเป็น 4 ส่วน โดย
สนธิสัญญาปอทสดัม (Treaty of Potsdam) นั้นได้ให้ประเทศมหาอานาจตะวันตก คือ
สหรัฐอเมริกา อังกฤษ และฝรั่งเศส ครอบครอง 3 ส่วนร่วมกันเรียกว่าเยอรมนีตะวันตก
ขณะที่อีกส่วนหนึ่งให้โซเวียตปกครองเรียกว่า เยอรมนีตะวันออก ทาให้กรุงเบอร์ลินนคร
หลวงแบ่งออกเป็น 2 ส่วน โซเวียตได้ปิดกั้นเส้นทางคมนาคมทางบกที่ผ่านไปยังเบอร์ลิน
ตะวันตก ทาให้พันธมิตร 3 ชาติ ไม่สามารถส่งอาหารและสินค้าต่างๆไปยังเบอร์ลิน
ตะวันออกได้ชาวเยอรมันตะวันออกได้อพยพมาอยู่ในเขตตะวันตกมากขึ้นตลอดเวลา ทาให้
โซเวียตต้องสร้างกาแพงยาวกว่า 27 ไมล์ กั้นระหว่างเบอร์ลินใน ค.ศ.1961 เรียกว่า
กาแพงเบอร์ลิน
ก่อนกาแพงก่อตั้ง
ภาพแสดงการแบ่งเขตแดน
กาแพงเบอร์ลิน (Berlin Wall) เป็นกาแพงที่สร้างขึ้นช่วงหลังเยอรมันพ่ายสงครามโลกครั้ง
ที่สอง และถูกแบ่งเป็นสองประเทศ มีวัตถุประสงค์เพื่อปิดกั้นพรมแดนเบอร์ลินตะวันตกซึ่งเป็นส่วนหนึ่ง
ของเยอรมันตะวันตก ออกจากเยอรมนีตะวันออกที่โอบล้อมอยู่โดยรอบ มีความยาวทั้งสิ้น 155
กิโลเมตร เริ่มสร้างเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม ค.ศ. 1961 และได้ทาหน้าที่ในการปิดกั้นพรมแดนนี้เป็น
ระยะเวลา 28 ปี ก่อนจะทลายลง
กาแพงเบอร์ลิน (Berlin Wall)
ในวันที่ 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1989 ในเยอรมันตะวันออก กาแพงเบอร์ลิน คือ แนวเขตแดนที่
มั่นคง และสัญลักษณ์ของการต่อต้านทุนนิยม แต่สาหรับโลกเสรีแล้ว มันคือ สัญลักษณ์ของความ
ขัดแย้งระหว่างระบบทุนนิยมของยุโรปตะวันตก ภายใต้การนาของสหรัฐอเมริกา กับระบบคอมมิวนิสต์
ของยุโรปตะวันออก ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต หรือที่เรียกกันว่า สงครามเย็น นั่นเอง
กาแพงเบอร์ลิน ทาให้กรุง เบอร์ลินฝั่งตะวันตก กลายเป็นเสมือน หน้าต่างสู่เสรีภาพนับตั้งแต่การสร้าง
กาแพงเบอร์ลิน
การข้ามผ่านแดนจากเยอรมันตะว้นออก ไปยังเยอรมันตะวันตก กลายเป็นเรื่องผิดกฎหมาย
หากมีการฝ่าฝืนและถูกพบเห็น มีโทษสถานเดียว คือ การยิงทิ้ง ณ บริเวณกาแพงนั่นเอง ตลอด
ระยะเวลา 28 ปี คาดว่ามีผู้เสียชีวิตที่กาแพงเบอร์ลินขณะหลบหนีระหว่าง 136 ถึง 206 คน การล่ม
สลายของกาแพงเบอร์ลิน ในปี ค.ศ. 1989 ตรงกับยุคที่ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ เป็นประธานาธิบดี
ของสหภาพโซเวียต ได้มีการทดลองการปฏิรูปการปกครองไปสู่ระบอบประชาธิปไตย ในเยอรมัน
ตะวันออก ได้มีการชุมนุมประท้วงใหญ่อย่างสงบขึ้นโดยเฉพาะในเมืองโพสต์ดัม ไลพ์ซิก และเดรสเดน
เริ่มต้นในวันที่ 8 ตุลาคม ค.ศ. 1989 และดาเนินเรื่อยมา เป็นเหตุให้รัฐบาลเยอรมันตะวันออกได้รับ
ความกดดันเป็นอย่างมาก กระทั่งได้มีการประกาศว่า จะเปิดพรมแดนให้ชาวเยอรมันสามารถเดิน
ทางผ่านแดนได้อย่างอิสระ
ในวันที่ 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1989 ในวันดังกล่าวชาวเยอรมันตะวันออกจานวนมากได้มารวมตัว
กัน ณ กาแพงเบอร์ลิน เพื่อข้ามผ่านแดนไปยังเบอร์ลินตะวันตกครั้งแรกในรอบ 28 ปี จึงถือเอาวันดังกล่าว
เป็นวันล่มสลายของกาแพงเบอร์ลิน มีบางแหล่งข้อมูลอ้างว่า ในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 นาย
Günter Schabowski รัฐมนตรีว่าการกระทรวงโฆษณาการ (Minister of Propaganda) ของ
เยอรมนีตะวันออกได้แถลงข่าว (ซึ่งภายหลังพบว่าเป็นความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนของเขาเอง) ว่าทางการจะ
อนุญาตให้ชาวเบอร์ลินตะวันออก ผ่านเข้าออกเขตแดนได้อย่างเสรีอีกครั้ง ทันใดนั้นเอง ผู้คนนับหมื่นที่ได้
ทราบข่าวก็ได้หลั่งไหลไปยังด่านต่าง ๆ ของกาแพง. หลังจากความโกลาหลอยู่ช่วงหนึ่ง เนื่องจากทาง
เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยยังไม่ได้รับคาสั่งใด ๆ จากทางการ ในที่สุดเจ้าหน้าที่ก็ต้องยอมปล่อยให้ฝูงชน
ผ่านเขตแดนไปอย่างไม่มีทางเลือก ชาวเบอร์ลินตะวันตกออกมาต้อนรับชาวเบอร์ลินตะวันออก บรรยากาศใน
เช้ามืดวันนั้นเหมือนงานเฉลิมฉลอง ตั้งแต่วันที่ 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1989 กาแพงเบอร์ลินได้ถูกทุบทาลาย
บางส่วนโดยชาวเยอรมัน และชาวยุโรป แต่การทาลายกาแพงเบอร์ลินอย่างเป็นทางการ เริ่มเมื่อวันที่ 13
มิถุนายน พ.ศ. 2533 แต่กระนั้นยังคงอนุรักษ์กาแพงบางช่วงไว้เพื่อเป็นอนุสรณ์ นอกจากนี้ ยังมีการประมูล
จาหน่ายชิ้นส่วนกาแพงเบอร์ลิน และได้มีการมอบชิ้นส่วนของกาแพงเบอร์ลินไปไว้ในพิพิธภัณฑ์ และสถานที่
สาคัญ ๆ อีกหลายแห่ง อาทิ ด้านหน้าสภายุโรป ณ กรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม พิพิธภัณฑ์นิวเซียม
กรุงวอชิงตันดีซี ประเทศสหรัฐอมริกา พิพิธภัณฑ์จอห์น เอฟ เคนเนดี และพิพิธภัณฑ์โรแนล เรแกน ใน
ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นต้น
การก่อสร้างกาแพงเบอร์ลิน เริ่มขึ้นวันที่ 13 ตุลาคม ค.ศ.1961 เพื่อแบ่งพื้นที่เป็น3ส่วน ที่
ควบคุมโดยประเทศปรั่งเศส อังกฤษ และสหรัฐอเมริกา ออกจากพื้นที่ที่ควบคุมโดยสหภาพโซเวียต
หลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่2 ในปีค.ศ.1945 เยอรมนีถูกแบ่งเป็น4ส่วน แต่ละส่วนถูกควบคุม
โดย4พันธมิตรมหาอานาจที่ได้รับการชัยชนะในสงคราม พื้นที่ถูกควบคุมกลายเป็นเยอมนีตะวันตกหรือ
สหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี
25ปี กาแพงเบอร์ลินล่มสลาย สิ้นสุดการแบ่งแยกคนชาติเดียวกัน
กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1945 ไม่นานหลังจากสงครามโลกครั้งที่2สิ้นสุดลง กองทัพพันธมิตรจัดการ
ประชุมที่พระราชวังลิวาเดียในเมืองยัลตา
ค.ศ. 1949 พื้นที่ฝั่งตะวันตกของเยอรมนีที่ถูกควบคุม กลายเป็นเยอรมนีตะวันตกหรือสหพันธ
สาธารณรัฐเยอรมนี ขณะที่ฝั่งตะวันออกกลายเป็นเยอรมนีตะวันออก หรือ สาธารณประชาธิปไตย
เยอรมนี
ค.ศ. 1949-1961 ชาวเยอรมนีตะวันออกราวสามล้านคนหลบไปยังเยอรมนีตะวันตก
12 สิงหาคม ค.ศ. 1961 วอลเตอร์ อุลบริคต์ ผู้นาพรรคคอมมิวนิสต์แก่งเยอรมนีตะวันออก สั่ง
สร้างรั้วแบ่งแยกกรุงเบอร์ลินตะวันออกและตะวันตก
13 สิงหาคม ค.ศ. 1961 อีริค ฮอเนคเคอร์ หัวหน้ากองกาลังความมั่นคงแห่งเยอรมนีตะวันออก
สั่งตารวจและทหารก่อสร้างรั้วหนาม
ลาดับเหตุการณ์สาคัญ
15 สิงหาคม ค.ศ. 1961 เริ่มมีการสร้างกาแพงคอนกรีตขึ้นเป็นครั้งแรก
18 สิงหาคม ค.ศ. 1961 ลืนดอน บี จอห์นสัน รองประธานาธิบดีสหรัฐฯ เดินทางไปกรุงเบอร์ลิน
เพื่อแสดงให้เห็นว่าสหรัฐฯสนับสนุนเยอรมนีตะวันตก
21 สิงหาคม ค.ศ. 1961 ทหารสหรัฐฯราว1500นายเดินทางไปกรุงเบอร์ลินตะวันตก
23 สิงหาคม ค.ศ. 1961 เยอรมนีตะวันออกประกาศห้ามชาวเบอร์ลินตะวันออกเข้าสู่เบอร์ลิน
ตะวันตกโดยไม่ได้รับอนุญาต
26 มิถุนายนค.ศ. 1963 จอห์น แอฟ.เคนเนดี เน้นย้าเรื่องเสรีภาพ และความภูมิใจที่ได้เป็น
ชาวกรุงเบอร์ลิน
กันยายน ค.ศ. 1971 บรรลุข้อตกลง ให้สามารถนาเข้าและส่งสินค้าซึ่งกันและกันได้
ธันวาคม ค.ศ. 1972 เยอรมนีตะวันออกและตะวันตกลงนามสนธิสัญญายอมรับอธิปไตยซึ่งกัน
และกัน
12 มิถุนายน ค.ศ. 1987 โรนัลด์ เรแกน ทาลายกาแพงเบอร์ลิน
3 เมษายน ค.ศ.1989 กองกาลังคุ้มกันชายแดนเยอรมนีตะวันออกยุติการใช้อาวุธ เพื่อป้ องกันเหตุ
รุนแรง
18 ตุลาคม ค.ศ. 1989 อีริค ฮอนเนคเคอร์ ถูกขับออกจากตาแหน่ง
1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1989 ชาวเยอรมันตะวันออกหลายแสนร่วมเดินขบวนเรียกร้องเสรีภาพ
2 พฤศจิกายน ค.ศ. 1989 เอกอน เครนซ์ ออกมาอธิบายว่าจะปฏิรูปนโยบายและเศรษฐกิจ
6 พฤศจิกายน ค.ศ. 1989 รัฐสภาให้สิทธิการเดินทางและการย้ายถิ่นแก่พลเรือน
7 พฤศจิกายน ค.ศ. 1989 คณะรัฐมนตรีเยอรมนีลาออกทั้งคณะ
9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1989 เยอรมันตะวันออกยกเลิกการห้ามเดินทางไปเยอรมนีตะวันตก
9-10 พฤศจิกายน ค.ศ. 1989 ชาวเยอรมันตะวันออกช่วยกันทาลายกาแพงเบอร์ลิน
10 พฤศจิกายน ค.ศ. 1989 การทาลายกาแพงเบอร์ลินทาให้พรมแดนใหม่เกิดขึ้นมากมาย
3 ตุลาคม ค.ศ. 1990 เยอรมนีตะวันออกและเยอรมนีตะวันตกรวมตัวกันเป็นประเทศเดียวอย่าง
เป็นทางการ
กาแพงเบอร์ลิน (เยอรมัน: Berliner Mauer) เป็นกาแพงที่สร้างขึ้นช่วงหลังเยอรมัน
พ่ายสงครามโลกครั้งที่ 2 และถูกแบ่งเป็นสองประเทศ มีวัตถุประสงค์เพื่อปิดกั้นพรมแดนเบอร์ลิน
ตะวันตกซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเยอรมนีตะวันตก ออกจากเยอรมนีตะวันออกที่โอบล้อมอยู่โดยรอบ มี
ความยาวทั้งสิ้น 155 กิโลเมตร เริ่มสร้างเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2504 ค.ศ. 1961) และได้ทา
หน้าที่ในการปิดกั้นพรมแดนนี้เป็นระยะเวลา 28 ปี ก่อนจะทลายลงในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532
วิกฤตการณ์เบอร์ลิน
ในเยอรมนีตะวันออก กาแพงเบอร์ลิน คือ แนวเขตแดนที่มั่นคง และสัญลักษณ์ของการต่อต้านทุน
นิยม แต่สาหรับโลกเสรีแล้ว มันคือ สัญลักษณ์ของความขัดแย้งระหว่างระบบทุนนิยมของยุโรปตะวันตก
ภายใต้การนาของสหรัฐอเมริกา กับระบบคอมมิวนิสต์ของยุโรปตะวันออก ภายใต้การปกครองของสหภาพ
โซเวียต หรือที่เรียกกันว่า สงครามเย็น นั่นเอง กาแพงเบอร์ลิน ทาให้กรุงเบอร์ลินฝั่งตะวันตก กลายเป็น
เสมือน หน้าต่างสู่เสรีภาพ
นับตั้งแต่การสร้างกาแพงเบอร์ลิน การข้ามผ่านแดนจากเยอรมนีตะวันออก ไปยังเยอรมนีตะวันตก
กลายเป็นเรื่องผิดกฎหมาย หากมีการฝ่าฝืนและถูกพบเห็น มีโทษสถานเดียว คือ การยิงทิ้ง ณ บริเวณ
กาแพงนั่นเอง ตลอดระยะเวลา 28 ปี คาดว่ามีผู้เสียชีวิตที่กาแพงเบอร์ลินขณะหลบหนีระหว่าง 136 ถึง
206 คน
แผนที่แนวกาแพงและด่านตรวจ พื้นที่สีขาวคือเบอร์ลินตะวันตก สีชมพูที่เหลือทั้งหมดคือเยอรมนีตะวันออก
ในปี ค.ศ. 1945 ภายหลังกองทัพนาซีเยอรมัน ภายใต้การนาของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ได้พ่ายใน
สงครามโลกครั้งที่ 2 กองทัพสัมพันธมิตรได้เข้ายึดครองประเทศเยอรมัน และต่อมา 4 ประเทศมหาอานาจที่
เป็นแกน
นาในสงครามครั้งนั้น ได้แก่ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส และสหภาพโซเวียตได้ทาสนธิสัญญาในการแบ่ง
การดูแลประเทศเยอรมันออกเป็น 4 ส่วนภายใต้การดูแลของแต่ละประเทศ และเช่นกัน กรุงเบอร์ลิน เมืองหลวง
ของประเทศ ได้ถูกแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 4 ส่วนเช่นเดียวกัน
ก่อนกาแพงก่อตัว
ปีต่อมา เยอรมนีภายใต้การปกครองของ 3 ประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ และฝรั่งเศส
รวมกันจัดตั้งเป็นประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี หรือ เยอรมนีตะวันตก ในขณะที่เยอรมนีส่วนที่อยู่
ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต ได้จัดตั้งเป็นประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตย
เยอรมนี หรือ เยอรมนีตะวันออก ในช่วงแรก ประชาชนของทั้งสองประเทศสามารถเดินทางข้ามแดนไปมา
หาสู่กันได้เป็นปกติแต่เมื่อเวลาผ่านไปนานขึ้น ความแตกต่างระหว่างการปกครองแบบประชาธิปไตยใน
เยอรมนีตะวันตก และการปกครองในระบบคอมมิวนิสต์ในเยอรมนีตะวันออก มีความแตกต่างที่เด่นชัดขึ้น
ในขณะที่เยอรมนีตะวันตกได้รับการพัฒนา และฟื้นฟูประเทศ อาคารบ้านเรือนต่าง ๆ ที่พังทลายในช่วง
สงครามโลกได้รับการบูรณะ ส่วนเยอรมนีตะวันออกทุกอย่างกลับสวนทางกัน ยิ่งไปกว่านั้นธุรกิจทุกอย่าง
ถูกเปลื่ยนมือไปเป็นของรัฐ เป็นเหตุให้ผู้คนพากันอพยพข้ามถิ่นจากเยอรมนีตะวันออก ไปยังเยอรมนี
ตะวันตกกันมากขึ้น เฉพาะในปีค.ศ. 1961 เพียงปีเดียว ซึ่งมีข่าวลือว่า ทางเยอรมนีตะวันออกจะปิดกั้น
พรมแดนระหว่างสองประเทศ ทาให้ผู้คนกว่า 3 ล้านคน พากันอพยพไปยังเยอรมนีตะวันตก เป็นจุดเริ่มต้น
ที่ทาให้รัฐบาลเยอรมนีตะวันออก ภายใต้การควบคุมของสหภาพโซเวียตได้เร่งสร้างกาแพงกันแนวระหว่าง
สองประเทศ และรวมไปถึง แนวกาแพงที่ปิดล้อมกรุงเบอร์ลินฝั่งตะวันตกอีกด้วย
ผลจากการย้ายออกของชาวเยอรมันตะวันออก ที่มีมากเกินการควบคุม รัฐบาลเยอรมนีตะวันออกใน
ขณะนั้น จึงได้สร้างกาแพงกั้นระหว่างประเทศเยอรมนีตะวันออกกับเยอรมนีตะวันตก ว่ากันว่า แนวกาแพงที่กั้น
ระหว่างสองประเทศนี้ยาวเป็นอันดับสองรองจากกาแพงเมืองจีนทีเดียว
ในส่วนของกรุงเบอร์ลิน นครหลวงของประเทศทั้งสอง มีที่ตั้งอยู่ใจกลางประเทศเยอรมนีตะวันออก
ดังนั้น นครเบอร์ลินฝั่งตะวันตก จึงถูกปิดล้อมด้วยเยอรมนีตะวันออกรอบด้าน ในระยะแรก การเดิน
ทางเข้าออกระหว่างเบอร์ลินตะวันออก และเบอร์ลินตะวันตก เป็นไปโดยเสรี กระทั่งเมื่อมีการอพยพของชาว
เยอรมันตะวันออกจานวนมาก เป็นเหตุให้รัฐบาลเยอรมนีตะวันออกเร่งสร้างกาแพงเพื่อปิดกั้นการย้ายถิ่นของ
ชาวเยอรมัน ในวันที่13 สิงหาคม พ.ศ. 2507 เป็นวันแรกที่มีการสร้างกาแพงเพื่อปิดล้อมกรุงเบอร์ลินตะวันตก
และเป็นจุดเริ่มต้นของสงครามเย็นในยุคนั้น
กาเนิดกาแพงเบอร์ลิน
กาแพงเบอร์ลิน ถูกใช้งานเป็นเวลา 28 ปี ในช่วงเวลานี้ มีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างและ
รูปแบบของกาแพงถึง 4 ครั้ง แต่ละครั้งจะเพิ่มความแข็งแรง และความสูงของกาแพงเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ
เพื่อป้ องกันการหลบหนีของชาวเยอรมันตะวันออก เนื่องจากกาแพงกันระหว่างเยอรมนีตะวันออก และ
เยอรมนีตะวันตก มีจุดเปราะบางที่สุดที่กรุงเบอร์ลินนี่เอง กาแพงเบอร์ลินทั้ง 4 รุ่นมีพัฒนาการดังนี้
กาแพงรุ่นที่ 1 เริ่มสร้างเมื่อวันที่ สิงหาคม พ.ศ. 2507 เป็นแนวรั้วลวดหนาม เป็นการสร้าง
ชั่วคราวเพื่อป้ องกันการอพยพของประชาชน เป็นกาแพงเบอร์ลินรุ่นที่มีอายุใช้งานสั้นที่สุด
กาแพงรุ่นที่ 2 เป็นกาแพงก่ออิฐถือปูน ถูกสร้างขึ้นแทนกาแพงรั้วลวดหนามทันทีที่กาแพงรั้วลวด
หนามเสร็จสมบูรณ์ แต่กาแพงก่ออิฐถือปูนนี้ก็ไม่แข็งแรงพอที่ปิดกั้นความปรารถนาในการแสวงหา
เสรีภาพของประชาชน มีความพยายามในการหลบหนีด้วยการทาลายกาแพงเกิดขึ้นหลายครั้ง
กาแพงรุ่นที่ 3 เป็นรั้วคอนกรีตสาเร็จรูป ถูกสร้างขึ้นเพื่อให้เกิดความแข็งแรง และความสูงเพิ่มขึ้น
กาแพงรุ่นที่ 4 ถูกสร้างในปี ค.ศ. 1975 เป็นแผ่นคอนกรีตสาเร็จรูปขนาดกว้าง 1.2 เมตร สูง 3.6
เมตร จานวนกว่า 45,000 แผ่นถูกต่อเป็นแนวรอบกรุงเบอร์ลินตะวันตกเชื่อมต่อด้วยท่อคอนกรีตที่
ด้านบนกาแพง กาแพงรุ่นนี้ถูกใช้งานจนกระทั่งถึงการล่มสลายในปี ค.ศ. 1989 และเป็นกาแพงเบอร์ลิน
รุ่นที่ถูกนาไปแสดงในพิพิธภัณฑ์ และสถานที่ต่าง ๆ ในปัจจุบัน ในการก่อสร้างกาแพงเบอร์ลินรุ่นที่ 4 ใช้
งบประมาณสูงถึงกว่า 1,650 ล้านมาร์ก ณ ขณะนั้นทีเดียว
สาหรับประชาชนเยอรมันทั้งตะวันตก และตะวันออก และประชาคมโลกในระบบประชาธิปไตย
กาแพงเบอร์ลิน เปรียบเสมือนการปิดกั้นเสรีภาพของประชาชน ว่ากันว่า กาแพงเบอร์ลิน เป็นกาแพง
แห่งเดียวในโลกที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อปิดกั้นประชาชนในประเทศของตนจากโลกภายนอก ในขณะที่กาแพง
เมืองอื่น ๆ ทั่วโลกนั้นมีไว้เพื่อป้ องกันไม่ให้ศัตรูเข้ามารุกรานเสรีภาพของชาวเมือง ในทางกลับกัน
สหภาพโซเวียต ผู้อยู่เบื้องหลังการสร้างกาแพงเบอร์ลิน กลับมองว่า กาแพงเบอร์ลิน คือ นวัตกรรม
ของชนชาติ
ในระหว่างที่กาแพงยังตั้งอยู่นั้น มีความพยายามหลบหนีข้ามเขตแดนราว 5,000 ครั้ง ในช่วง
แรกนั้น การหลบหนีเป็นไปอย่างไม่ยากนัก เนื่องจากกาแพงในช่วงแรกเป็นเพียงรั้วลวดหนามเตี้ย ๆ
และบางส่วนก็กระโดดออกมาทางหน้าต่างของตึกที่อยู่ติดกับกาแพง แต่ไม่นานนักกาแพงก็เปลี่ยนเป็น
คอนกรีตที่แน่นหนา ส่วนหน้าต่างตึกต่าง ๆ ที่อยู่ใกล้กับกาแพงก็ถูกก่ออิฐปิดตาย
การลอบข้ามกาแพง
หากการสร้างกาแพงเบอร์ลิน คือ นวัตกรรมของชนชาติ การลอบข้าม
กาแพงเบอร์ลินย่อมเป็นนวัตกรรมที่ยิ่งใหญ่กว่า มีการลอบข้ามกาแพงเบอร์ลิน
หลายต่อหลายครั้งที่แสดงถึงความสร้างสรรค์อันยิ่งใหญ่ เช่น
การข้ามกาแพงด้วยบอลลูน การสร้างสลิงข้ามแนวกาแพงด้วยเวลาไม่ถึง
2 นาที การขุดอุโมงค์ลอดใต้กาแพง ซึ่งสามารถช่วยชาวเบอร์ลินตะวันออกหลบหนี
ได้มากถึงกว่าร้อยคน เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีจุดข้ามแดนบางจุดที่ได้รับการ
ช่วยเหลือจากกองทัพสัมพันธมิตร อาทิ จุดข้ามแดนโดยการว่ายข้ามแม่น้ากองทัพ
อังกฤษได้หย่อนบันไดลิงไว้ในฝั่งตรงข้ามเพื่อให้ผู้ที่ว่ายน้าข้ามไปสามารถปีนขึ้นฝั่ง
ได้
ในการลอบข้ามกาแพง เป็นความเสี่ยงที่ต้องแลกมาด้วยชีวิต ด้วยรัฐบาล
เยอรมนีตะวันออกมีกฎที่ว่าผู้หลบหนีจะถูกยิงทิ้งทันทีที่พบเห็น จานวนผู้เสียชีวิต และ
บาดเจ็บจากการลอบข้ามกาแพงเบอร์ลินนั้นยังไม่แน่ชัดนัก บางแหล่งระบุว่ามี 192
คนถูกฆ่าระหว่างการหลบหนี และอีกประมาณ 200 คนบาดเจ็บสาหัส ขณะที่บาง
แหล่งข้อมูลกลับมีตัวเลขผู้เสียชีวิตเพียง 136 คน บางแหล่งข้อมูลกับมีตัวเลข
ผู้เสียชีวิตสูงถึง 246 คนและในวิกีพีเดียภาษาอังกฤษได้ระบุตัวเลขผู้เสียชีวิตไว้ 100 -
200 คน เหตุที่เป็นดังนี้ เนื่องจากทางรัฐบาลเยอรมนีตะวันออกไม่ได้ทารายงานเรื่องนี้
และเมื่อมีผู้เสียชีวิตในการลอบข้ามกาแพง ทางการก็ไม่ได้แจ้งข่าว
แก่ครอบครัวอีกด้วย
การเสียชีวิตในการลอบข้ามกาแพง
เหตุการณ์เสียชีวิต ณ กาแพงเบอร์ลิน ครั้งที่โด่งดังที่สุด เกิดขึ้นเมื่อ
วันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2505 (ค.ศ. 1962) เมื่อนายปีเตอร์ เฟตช์เตอร์ (Peter
Fechter)เด็กหนุ่มที่ลอบข้ามกาแพงเบอร์ลินถูกยิง และปล่อยให้เลือดไหลจน
ตายต่อหน้าสื่อมวลชนตะวันตก เป็นจุดเริ่มต้นของการดาเนินการต่อต้านกาแพง
เบอร์ลินอย่างเป็นรูปธรรม เมื่อวัน ผู้หลบหนีรายสุดท้ายที่ถูกยิงตายคือ
นาย Chris Gueffroy เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2532 ( ค.ศ. 1989 )
การตัดสินใจขนส่งทางอากาศ
แม้ว่าฝ่ายตะวันตกจะไม่ได้เจรจาใด ๆ กับสหภาพโซเวียตเพื่อขอให้เปิดการจราจรทางบก แต่พวก
เขาได้เจรจาขอให้เปิดการจราจรทางอากาศแทน วันที่ 30พฤศจิกายน ค.ศ. 1945 ฝ่ายตะวันตกและ
โซเวียตบรรลุข้อตกลงเปิดเส้นทางจราจรทางอากาศสู่กรุงเบอร์ลิน 3 เส้นทาง แต่ละเส้นทางมีความ
กว้าง 20 ไมล์ โซเวียตไม่สามารถอ้างว่าเครื่องบินขนส่งเหล่านี้เป็นการข่มขู่ทางทหารได้ หนทางเดียวที่
จะปิดกั้นเครื่องบินเหล่านี้คือต้องยิงมันให้ตกลงมาและนั่นก็จะทาให้โซเวียตต้องถูกประณามที่ละเมิด
ข้อตกลง
การขนส่งทางอากาศที่เบอร์ลิน
อย่างไรก็ตาม การที่จะดาเนินการขนส่งทางอากาศได้นั้นจะต้องมั่นใจว่าจะสามารถจัดส่งอาหารได้รวดเร็วพอ มิฉะนั้นแล้ว ชาว
เบอร์ลินอาจต้องขอความช่วยเหลือจากโซเวียตในท้ายที่สุด เคลย์ได้คาบอกกล่าวให้ขอคาปรึกษาจากนายพล เคอร์ติส ลีเมย์ ผู้
บัญชาการกองทัพอากาศสหรัฐอเมริกาในภาคพื้นยุโรป ว่าการขนส่งทางอากาศจะเป็นไปได้หรือไม่ ลีเมย์ตอบว่า "เราสามารถขนส่ง
อะไรก็ได้"
กองทัพอเมริกันได้ปรึกษากองทัพอากาศอังกฤษถึงความเป็นไปได้ที่จะร่วมมือกันขนส่งทางอากาศ และพบว่าอังกฤษได้ขนส่ง
ทางอากาศเพื่อช่วยเหลือทหารอังกฤษในเบอร์ลินอยู่ก่อนแล้ว เซอร์ ไบรอัน โรเบิร์ตสัน ผู้บัญชาการเยอรมนีส่วนอังกฤษมีความ
พร้อมเป็นอย่างมาก Reginald Waite นาวาเอกพิเศษกองทัพอากาศอังกฤษได้คานวณทรัพยากรที่จะใช้หล่อเลี้ยงเมืองทั้งเมือง
เขาพบว่าประชาชนทั้งหมด 2 ล้านกว่าคนต้องการพลังงาน 1,700 แคลอรีต่อคนต่อวัน ซึ่งประกอบด้วยแป้ งและข้าวสาลี 646 ตัน
ธัญพืช 125 ตัน น้ามัน 64 ตัน เนื้อสัตว์ 109 ตัน มันฝรั่ง 180 ตัน น้าตาล 180 ตัน กาแฟ 11 ตัน นมผง 19 ตัน นมสาหรับเด็ก
ๆ 5 ตัน ยีสต์สาหรับทาขนมปัง 3 ตัน ผักอบแห้ง144 ตัน เกลือ 38 ตัน และชีส 10 ตัน รวมแล้วจะต้องส่งอาหารวันละ 1,534 ตัน
เพื่อเลี้ยงประชาชนมากกว่า 2 ล้านคน นอกจากนี้ ยังต้องส่งถ่านหินและน้ามัน 3,475 ตันต่อวันเพื่อทาให้ทั้งเมืองอบอุ่นและมีไฟฟ้ า
ใช้
การขนส่งทางอากาศนั้นไม่ใช่เรื่องง่าย การถอนกาลังทหารหลังสิ้นสงครามทาให้กองทัพอากาศสหรัฐ มีเพียงเครื่องบินซี-
47 สกายเทรน 2 ฝูงบินเหลือไว้ในยุโรป เครื่องบินแต่ละลาสามารถขนส่งได้เพียง 3.5 ตันต่อเที่ยวบิน เคลย์คานวณแล้วพบว่าฝูงบิน
เพียงเท่านี้จะขนส่งเสบียงได้เพียง 300 ตันต่อวัน ขณะที่กองทัพอังกฤษซึ่งมีความพร้อมกว่าสามารถส่งได้เพียง 400 ตันต่อวัน
ตัวเลขนี้ห่างจากตัวเลขความต้องการทั้งหมด 5,000 ตันต่อวันอย่างมาก อย่างไรก็ตาม เครื่องบินใหม่จากสหรัฐอเมริกาและ
อังกฤษที่จะบินเข้ามาสมทบจะช่วยให้สามารถขนส่งได้มากขึ้น ตอนนี้ทางสหรัฐอเมริกายังต้องอาศัยเครื่องบินจากอังกฤษไปก่อน
อังกฤษจะส่งเครื่องบินซี-47 เข้ามาสมทบอีก 150 ลา และส่งเครื่องบิน Avro York ซึ่งมีความสามารถในการขนส่ง 10 ตันเข้ามา
สมทบอีก 40 ลา อังกฤษคาดหวังว่าจะสามารถส่งอาหารได้ทั้งหมด 750 ตันต่อวันในระยะแรก ส่วนในระยะยาวนั้น สหรัฐอเมริกาจะ
ส่งเครื่องบินเข้ามาสมทบให้เร็วที่สุดเท่าที่ทาได้ เครื่องบินที่ปฏิบัติภารกิจนี้ได้จะต้องมีขนาดใหญ่ที่สุดเท่าที่จะทาได้และจะต้องสามารถ
บินไปลงสนามบินที่เบอร์ลินได้ ซึ่งก็ได้แก่ เครื่องบินซี-54 สกายมาสเตอร์ และเครื่องบิน R5D ของสหรัฐอเมริกา
แผนการขนส่งเสบียงทางอากาศนั้นดูจะเป็นแผนการตอบโต้โซเวียตที่ดีที่สุด อย่างไรก็ตาม ฝ่าย
ตะวันตกยังคงมีความกังวลเกี่ยวกับประชาชนชาวเบอร์ลิน เคลย์โทรไปหา แอร์นสท์ รอย
แทร์ นายกเทศมนตรีเบอร์ลิน และกล่าวว่า "ผมพร้อมจะทดลองแผนการขนส่งเสบียงทางอากาศแล้ว
แต่ผมก็ไม่อาจให้การรับรองได้ว่ามันจะประสบความสาเร็จ ผมมั่นใจว่าถึงแม้เราจะพยายามอย่างที่สุด
แล้ว แต่สุดท้ายประชาชนก็จะหนาวและประชาชนก็จะหิว และหากว่าชาวเบอร์ลินไม่อาจทนสภาพนั้นได้
ทุกอย่างก็จะพังทลาย ผมไม่ต้องการให้สิ่งนั้นเกิดจนกว่าคุณจะสัญญาว่าชาวเบอร์ลินยินดีที่จะรับสภาพ
นั้น" แม้ว่ารอยแทร์จะคลางแคลงใจ แต่เขาก็ตอบเคลย์ไปว่าชาวเบอร์ลินพร้อมจะเสียสละทุกอย่างเท่าที่
ทาได้ และชาวเบอร์ลินก็พร้อมจะสนับสนุนแผนการของเขาแล้ว
นายพล ผู้บังคับบัญชาด้านแผนและปฏิบัติการของกองทัพสหรัฐอเมริกา ยังคงอยู่ในยุโรปเวลานั้น
เขาเป็นผู้บัญชาการในสงครามมหาสมุทรแปซิฟิก ในระหว่างปี ค.ศ. 1944 – 1945 และมีความ
ชานาญเรื่องการใช้การขนส่งทางอากาศเป็นอย่างมากเพราะเขาเคยขนส่งทางอากาศจากอินเดียข้าม
เทือกเขาหิมาลัยในสงครามโลกครั้งที่สอง เขาเห็นด้วยกับแผนการนี้เป็นอย่างมาก อังกฤษและ
สหรัฐอเมริกาตกลงร่วมมือปฏิบัติภารกิจนี้โดยไม่รีรอ สหรัฐอเมริกาได้ตั้งชื่อให้ภารกิจนี้ว่า"ปฏิบัติการ
ขนส่งเสบียง" (Operation Vittles)
• การขนส่งทางอากาศเริ่มต้น
วันที่ 24 มิถุนายน ค.ศ. 1948 ลีเมย์แต่งตั้งนายพลจัตวาโจเซฟ สมิธ ผู้บังคับบัญชาฐานที่มั่นทางทหารวีสบาเด็น (Wiesbaden
Military Post) ให้เป็นผู้บังคับบัญชาปฏิบัติการครั้งนี้ วันที่ 25 มิถุนายน ค.ศ. 1948 เคลย์สั่งให้เริ่มปฏิบัติการขนส่งเสบียง สองวันถัดมา
เครื่องบินซี-47 จานวน 2 ลาก็ไปถึงเบอร์ลินโดยนานม แป้ ง และยารักษาโรคไปทั้งหมด 80 ตัน เครื่องบินลาแรกของอังกฤษบินมาถึงเบอร์ลิน
เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน
วันที่ 27 มิถุนายน เคลย์ส่งโทรเลขไปหา William Draper เพื่อรายงานสถานการณ์ดังนี้
“ผมได้จัดเตรียมเครื่องบินไว้มากที่สุดเท่าที่จะทาได้เพื่อจะปฏิบัติภารกิจในวันจันทร์นี้ 28 มิถุนายน
เราสามารถใช้เครื่องบินดาโคตา [ซี-47] ได้ทั้งหมด 70 ลา เรายังไม่รู้ว่ากองทัพอากาศของอังกฤษจะจัดส่งเครื่องบินได้เท่าไรแม้ว่านายพลโร
เบิร์ตสันจะสงสัยในขีดความสามารถของพวกเขา สนามบินของเราในเบอร์ลิน 2 สนามบินสามารถรองรับเที่ยวบินได้ 50 เที่ยวต่อวัน
เครื่องบินที่ลงจอดได้นั้นจะต้องเป็นเครื่องบินซี-47, ซี-54 หรือเครื่องบินที่มีลักษณะการลงแบบเดียวกันเพราะสนามบินของเราไม่อาจรองรับ
เครื่องบินที่ใหญ่กว่านี้ได้ LeMay กาลังเร่งรัดให้ใช้เครื่องบินซี-54 จานวนสองฝูง ด้วยเครื่องบินจานวนเท่านี้ เราสามารถขนส่งเสบียง
ได้ 600 ถึง 700 ตันต่อวัน แม้ว่าเราจาเป็นต้องส่ง 2000 ตันต่อวัน แต่ด้วยปริมาณ 600 ตันต่อวันก็จะเป็นการสร้างขวัญกาลังใจให้กับชาว
เยอรมันและเป็นการสร้างความราคาญให้กับโซเวียตอย่างไม่ต้องสงสัย อย่างไรก็ตาม เราจาเป็นจะต้องได้รับเครื่องบินเพิ่มอีกประมาณ 50 ลา
ที่เพื่อจะปฏิบัติภารกิจนี้ให้สาเร็จ ความล่าช้าในแต่ละวันจะทาให้ความสามารถในการรักษากรุงเบอร์ลินของเราลดน้อยลง เราต้องการลูกเรือ
เพื่อขับเครื่องบินให้มากที่สุดเท่าที่จะทาได้”
ตั้งแต่วันที่ 28 มิถุนายน การขนส่งทางอากาศก็เริ่มขึ้น เครื่องบินซี-54 มาร่วมสมทบกับกองบินเป็นจานวนมาก ฐานทัพอากาศไรน์-
มายน์ (Rhein-Main Air Base) ถูกทาเป็นฐานเก็บเครื่องบินซี-54 ฐานที่มั่นทางทหารวีสบาเด็นเป็นที่เก็บเครื่องบินซี-54 และซี-
47 เครื่องบินของสหรัฐอเมริกาบินไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือมุ่งสู่สนามบินเทมเพลโฮฟ (Tempelhof) เพื่อขนส่งเสบียง จากนั้นจึงบิน
ไปทางทิศตะวันตกจนเข้าพื้นที่ของอังกฤษ และเลี้ยวกลับมาทางใต้สู่ฐานของตน
การขนส่งทางอากาศเริ่มต้น
ส่วนเครื่องบินของอังกฤษนั้นบินขึ้นจากสนามบินในฮัมบูร์ก มุ่งหน้าไปยังทิศตะวันออกเฉียงใต้สู่สนามบิน
กาโทว (Gatow) ในเบอร์ลินส่วนอังกฤษ จากนั้นจึงบินไปทางทิศตะวันตกเส้นทางเดียวกับสหรัฐอเมริกาแล้ว
ลงจอดที่ฮันโนเวอร์ วันที่ 5 กรกฎาคม เครื่องบิน Short Sunderlands อีก 10 ลาเข้าร่วมกับกองบิน และ
ต่อมา เครื่องบิน Short Hythe ก็เข้ามาร่วมสมทบ การที่ลาตัวของมันมีคุณสมบัติต่อต้านการกัดกร่อนทา
ให้มันได้รับมอบหมายให้ขนส่งเกลือแกงเข้าสู่กรุงเบอร์ลิน นอกจากนี้ ยังมีลูกเรือจาก
ออสเตรเลีย แคนาดา นิวซีแลนด์ และแอฟริกาใต้ มาเข้าร่วมด้วย
สมิธได้ออกแบบตารางการบินและรูปแบบการบินที่ซับซ้อนขึ้นเพื่อจัดการกับกองบินขนาดมหึมานี้เพื่อให้มี
เวลาซ่อมบารุงเครื่องบินและเวลาขนของขึ้นเครื่อง เครื่องบินจะบินออกจากสนามบินทุก ๆ 3 นาที
โดยมีระดับการบินเริ่มต้นอยู่ที่ 5,000 ฟุต เครื่องบินแต่ละลาจะบินสูงกว่าเครื่องบินที่เพิ่งออกไปก่อน
หน้า 500 ฟุต และจะวนกลับมาเริ่มต้นที่ 5,000 ฟุตใหม่อีกครั้งหลังจากที่มีเครื่องบินออกไปแล้ว 5 ลา
ในช่วงสัปดาห์แรกของปฏิบัติการ ฝ่ายตะวันตกสามารถขนส่งเสบียงได้เพียง 90 ตันต่อวัน แต่พอถึง
สัปดาห์ที่สอง ฝ่ายตะวันตกก็สามารถทาการขนส่งได้ถึง 1,000ตันต่อวัน เชื่อกันว่าหากดาเนินการต่อไปอีกสัก
สองถึงสามสัปดาห์ก็จะทาให้เมืองอยู่รอดได้แล้ว สื่อของคอมมิวนิสต์ในเบอร์ลินตะวันออกเยาะเย้ยปฏิบัติการ
ครั้งนี้ว่าเป็น "ความพยายามอันเปล่าประโยชน์ของอเมริกาที่จะรักษาหน้าและรักษาพื้นที่ในเบอร์ลินที่พวกเขาไม่มี
วันจะครอบครองได้"
หลังจากที่สหภาพโซเวียตไม่มีท่าทีว่าจะยอมแพ้ง่าย ๆ ฝ่ายตะวันตกจึงเพิ่มการขนส่งทางอากาศให้มากขึ้น
วันที่ 27 มิถุนายน ค.ศ. 1948 พลโทวิลเลียม เอช. ทันเนอร์(William H. Tunner) จากหน่วยบริการการขนส่งทางอากาศ
ได้เข้ามาควบคุมการปฏิบัติการ ทันเนอร์มีประสบการณ์ในการสั่งงานและการขนส่งทางอากาศที่ Burma Hump มาก่อน เขา
ตั้งกองกาลังขนส่งทางอากาศเฉพาะกิจ (Combined Airlift Task Force) ที่เทมเพลโฮฟ
หลังจากที่เขาเพิ่งเข้ามาควบคุมได้ไม่นาน วันที่ 30 มิถุนายน ค.ศ. 1948 ทันเนอร์ตัดสินใจบินไปเบอร์ลินเพื่อมอบรางวัล
ให้กับร้อยโทพอล โอ. ไลคินส์ (Paul O. Lykins)นักบินผู้ปฏิบัติการขนส่งทางอากาศมากที่สุด ในเวลานั้น เมฆได้ปกคลุมกรุง
เบอร์ลินและลอยต่าลงมาจนถึงยอดตึก ฝนก็ตกหนักจนทาให้เรดาร์แทบใช้การไม่ได้ เครื่องบินซี-54 ลาหนึ่งพุ่งชนปลายรันเวย์
จนไฟไหม้เครื่อง เครื่องบินลาที่สองที่กาลังจะลงจอดจึงระเบิดยางล้อเพื่อป้ องกันไม่ให้มันวิ่งไปชนลาแรก เครื่องบินลาที่สามหมุน
ตัวเป็นวงกลมอย่างควบคุมไม่ได้ที่รันเวย์สารอง ส่งผลให้สนามบินทั้งสนามบินใช้งานไม่ได้ ทันเนอร์สั่งให้เครื่องบินทุกลาบินกลับ
ฐานโดยทันที เหตุการณ์นี้ต่อมาถูกเรียกว่า "วันศุกร์ทมิฬ" (Black Friday)
หลังจากเหตุการณ์นี้ ทันเนอร์ได้ออกกฎควบคุมการบินขึ้นมาใหม่ เขาสั่งให้นักบินปฏิบัติตามเครื่องมือบนเครื่องบินอย่าง
เคร่งครัดไม่ว่าทัศนวิสัยในขณะนั้นจะแจ่มใสหรือไม่ก็ตาม เขายังสั่งให้ฝูงบินแต่ละฝูง
มีโอกาสลงจอดได้เพียงครั้งเดียว หากเกิดความผิดพลาดขึ้น นักบินต้องบินกลับฐานโดยทันที ผลก็คือ อัตราการเกิดอุบัติเหตุ
ลดลงและการปฏิบัติภารกิจเป็นไปด้วยความรวดเร็วขึ้น นอกจากนี้ ทันเนอร์ได้เอาเครื่องบินซี-47 ออกจากภารกิจเพราะมันมี
ประสิทธิภาพต่ากว่าเครื่องบินซี-54 มาก เวลาที่ใช้ในการเอาของ 3.5 ตันลงจากเครื่องบินซี-47นั้นเท่ากับเวลาที่ใช้ในการเอา
ของ 10 ตันลงจากเครื่องบินซี-54 ทั้งนี้เป็นเพราะเครื่องบินซี-47
มีทางขนของเป็นพื้นเอียงทาให้เอาของลงได้ยาก ขณะที่เครื่องบินซี-54 มีทางขนของเป็นแบบขั้น ๆ ทาให้เอาของลงได้รวดเร็ว
วันศุกร์ทมิฬ
นอกจากนี้ ทันเนอร์ยังพบว่านักบินแต่ละคนใช้เวลาไปหยิบของกินในช่วงพักเป็นเวลานาน เขาจึงสั่ง
ไม่ให้นักบินออกจากเครื่องบินระหว่างอยู่ในเบอร์ลิน แต่เขาส่งรถบริการของกินมาบริการถึงที่และให้สาว
เบอร์ลินน่ารัก ๆ ยื่นของกินให้ถึงห้องคนขับ เกล ฮัลเวอร์เซ็น (Gail Halvorsen) นักบินคนหนึ่ง
กล่าวว่า "เขาให้สาวเยอรมันสวย ๆ ที่ยังโสดนั่งอยู่ในนั้น พวกเธอรู้ว่าเราไม่อาจขอออกเดตกับพวกเธอได้
เพราะเราไม่มีเวลา ดังนั้นพวกเธอจึงเป็นมิตรกับเรามาก"
ชาวเบอร์ลินยังช่วยลูกเรือเอาของลงจากเครื่องบินโดยจะได้รับอาหารเป็นการตอบแทน ต่อมา ผู้ที่ทา
หน้าที่เอาของลงจากเครื่องบินก็เป็นชาวเบอร์ลินเกือบทั้งหมด พอพวกเขาชานาญขึ้นเรื่อย ๆ เวลาที่ใช้ใน
การขนของออกก็ลดลงเรื่อย ๆ จนมีครั้งหนึ่งที่ใช้เวลาเอาของ 10 ตันออกจากเครื่องบินซี-45 ภายใน
เวลา 10 นาที
แต่สถิตินี้ถูกทาลายลงเมื่อลูกเรือ 12 คนเอาของ 10 ตันออกภายในเวลา 5 นาที 45 วินาที
สิ้นเดือนกรกฎาคม ปฏิบัติการขนส่งเสบียงก็ประสบความสาเร็จ แต่ละวันมีเครื่องบินทาการขนส่ง
เสบียงมากกว่า 1,500 เที่ยว รวมน้าหนักเสบียงทั้งหมด 4,500 ตันต่อวันซึ่งเพียงพอที่จะทาให้ทั้งเมืองอยู่
รอด เครื่องบินซี-47 ทั้งหมดถูกปลดประจาการภายในสิ้นเดือนกันยายน เครื่องบินซี-
54 จานวน 225 ลาปฏิบัติงานแทน
โดยขนส่งเสบียงได้ทั้งหมด 5,000 ตันต่อวัน
เกล ฮัลเวอร์เซ็น หนึ่งในนักบินที่ปฏิบัติภารกิจขนส่งทางอากาศ ตัดสินใจใช้เวลาว่างของเขาบินไป
ยังกรุงเบอร์ลินและใช้กล้องถ่ายวิดีโอของเขาถ่ายภาพยนตร์ เขามาถึงสนามบินเทมเพลโฮฟเมื่อ
วันที่ 17 มิถุนายนหลังจากที่ติดมากับเครื่องบินซี-54 ลาหนึ่ง เขาเดินไปหาเด็ก ๆ กลุ่มหนึ่งที่รวมตัว
กันอยู่ที่ปลายรันเวย์คอยเฝ้ าดูเครื่องบิน เขาแนะนาตัวเขาให้กับเด็ก ๆ เด็ก ๆ เริ่มถามคาถามเกี่ยวกับ
เครื่องบินและการบิน ด้วยความใจดีของเขา เขาจึงยื่นหมากฝรั่งริกลีย์รสดับเบิลมินต์ที่เขามีติดตัว
อยู่ 2 อันให้กับเด็ก ๆ และสัญญาว่าถ้าพวกเด็ก ๆ ไม่แย่งกัน คราวหน้าเขาจะเอาหมากฝรั่งมาให้อีก
เด็ก ๆ รีบแบ่งหมากฝรั่งออกเป็นชิ้น ๆ ให้ที่ดีสุดเท่าที่พวกเขาทาได้ ก่อนที่เขาจะกลับ เด็กคนหนึ่งถาม
เขาว่าพวกเขาจะรู้ได้อย่างไรว่าเครื่องบินลาไหนเป็นของเกล เกลตอบว่าเขาจะ"กระพือปีก"
ปฏิบัติการขนส่งเสบียงเล็ก ๆ
วันถัดมา เกลขับเครื่องบินไปเบอร์ลินและโปรยช็อกโกแล็ตที่ผูกกับร่มชูชีพผ้าเช็ดหน้าลงมาให้เด็ก
ๆ ที่รออยู่ข้างล่าง เด็ก ๆ เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ทุกวัน และเขาก็ปล่อยช็อกโกแล็ตลงมามากขึ้นเรื่อย ๆ ไม่นาน
นักก็มีจดหมายกองหนึ่งจ่าหน้ามาถึง "ลุงกระพือปีก" "ลุงช็อกโกแลต" และ "นักบินช็อกโกแลต"
ผู้บังคับบัญชาของเขารู้สึกกังวลเมื่อเรื่องนี้ปรากฏเป็นข่าว แต่หลังจากที่พลโททันเนอร์ได้ยินเรื่องนี้ เขาก็
ชมว่ายอดเยี่ยมมากพร้อมทั้งตั้งชื่อให้ว่า "ปฏิบัติการขนส่งเสบียงเล็ก ๆ " (Operation Little
Vittles) นักบินคนอื่นก็ร่วมทาเช่นเดียวกัน หลังจากที่ข่าวไปถึงสหรัฐอเมริกาแล้ว เด็ก ๆ จากทั่ว
ประเทศต่างก็ส่งลูกกวาดไปช่วย ไม่นานนัก บริษัทขนมหวานใหญ่ ๆ ในอเมริกาก็ส่งลูกกวาดไปช่วย
ด้วยเช่นกัน รวมแล้วมีขนมหวานกว่า 3 ตันถูกโปรยลงที่กรุงเบอร์ลิน
วันที่ 1 สิงหาคม สหภาพโซเวียตประกาศแจกอาหารฟรีแก่ผู้ที่ข้ามมายังเบอร์ลินฝั่งตะวันออก อย่างไรก็
ตาม มีแค่ไม่กี่คนที่ข้ามไปเพราะรู้ว่าเป็นแผนการหลอกล่อของโซเวียต
วันที่ 6 กันยายน ค.ศ. 1948 กลุ่มคอมมิวนิสต์ในเยอรมนีตะวันออกเข้ายึดสภาเทศบาลเมืองเพื่อไม่ให้มี
การเลือกตั้งครั้งใหม่ สามวันถัดมา วิทยุในเบอร์ลินตะวันตกเรียกร้องให้ชาวเบอร์ลินตะวันตกไปประท้วง
การกระทาของเยอรมนีตะวันออก ประชาชนกว่า 500,000 คนรวมตัวกันที่ประตูบรันเดนบูร์ก
(Brandenburg Gate) ในเวลานั้น การขนส่งเสบียงทางอากาศยังคงดาเนินไปอย่างต่อเนื่อง แต่ชาว
เบอร์ลินตะวันตกหลายคนเริ่มกลัวว่าประเทศมหาอานาจตะวันตกจะทอดทิ้งพวกเขาให้กับโซเวียต พวกเขา
ต้องการแน่ใจว่าการเสียสละของพวกเขาจะไม่สูญเปล่า แอร์นสท์ รอยแทร์ จับไมโครโฟนและกล่าวต่อประชาชนว่า
"ชาวโลก ชาวอเมริกัน
ชาวอังกฤษ ชาวฝรั่งเศส จงมองมาที่เมืองนี้ และจงจดจาเมืองนี้ ประชาชนที่นี่จะต้องไม่ถูกทอดทิ้ง “พวกเขา
ไม่อาจถูกทอดทิ้ง!" ฝูงชนเคลื่อนที่ไปทางตะวันออกและมีคนคนหนึ่งฉีกธงสีแดงลงจากประตู ตารวจโซเวียต
จึงฆ่าคนไปหนึ่งคน
การตอบโต้จากโซเวียต
การเลือกตั้งยังคงมีกาหนดวันที่ 5 ธันวาคม ชาวเบอร์ลินตะวันออกพยายามขัดขวาง แต่หลังจาก
ที่ความพยายามของพวกเขาไร้ผล พวกเขาจึงถอนตัวจากการเลือกตั้งและเลือกรัฐบาลของพวกเขาเอง
ภายใต้การนาของฟรีดริช เอแบร์ท (Friedrich Ebert) รอยแทร์ชนะการเลือกตั้งอีกครั้ง ทาให้กรุง
เบอร์ลินถูกแบ่งเป็นฝั่งตะวันออกกับฝั่งตะวันตกไปโดยปริยาย ทหารคอมมิวนิสต์รีบส่งคนไปคุม
บ้านเรือนและถนนในเยอรมนีตะวันออกอย่างรวดเร็ว
ตั้งแต่วันที่ 10 สิงหาคม ทหารโซเวียตเริ่มก่อกวนเครื่องบินของฝ่ายตะวันตกด้วยการให้นักบิน
ขับเครื่องบินประชิดกับเครื่องบินของฝ่ายตะวันตกและสั่งให้ยิงอากาศบริเวณใกล้เคียง มีครั้งหนึ่งที่
เครื่องบินของโซเวียตบินใกล้กับเครื่องบินของอังกฤษมากจนชนกัน ทาให้มีผู้สูญเสียชีวิต
ทั้งหมด 35 คน นอกจากนี้ยังมีการปล่อยบอลลูนขึ้นมาในบริเวณเส้นทางการบิน การยิงปืนต่อต้าน
อากาศยานขึ้นมาอย่างสะเปะสะปะ การใช้ไฟส่องเครื่องบิน และการสร้างคลื่นวิทยุปลอมเพื่อหลอกล่อให้
นักบินบินออกเส้นทาง อย่างไรก็ตาม วิธีเหล่านี้ไม่ค่อยได้ผลนัก
การขนส่งทางอากาศยังดาเนินไปอย่างต่อเนื่อง เดือนเมษายน ค.ศ. 1949 นายพลทันเนอร์
ต้องการทาลายความซ้าซากจาเจ เขาต้องการสร้างเหตุการณ์ใหญ่ ๆ เพื่อสร้างขวัญกาลังใจให้กับทุก
คน เขาตัดสินใจว่า ในวันอีสเตอร์ เขาจะจัดการขนส่งทางอากาศที่มากที่สุด วันนั้นจึงเป็นการขนถ่านหิน
ทั้งหมดเพื่อให้ง่ายต่อการขนส่ง และมีการเปลี่ยนแปลงเวลาซ่อมบารุงเครื่องบินเพื่อให้มีเครื่องบิน
ปฏิบัติงานได้มากที่สุด
พาเหรดวันอีสเตอร์
ความสาเร็จอย่างต่อเนื่องของปฏิบัติการขนส่งทางอากาศทาให้สหภาพโซเวียตต้องอับอาย และ
"พาเหรดวันอีสเตอร์" ก็เป็นเสมือนฟางเส้นสุดท้าย วันที่ 25เมษายน ค.ศ. 1949 หน่วยข่าวของรัสเซีย
รายงานว่าโซเวียตมีความเต็มใจที่จะยกเลิกการปิดกั้น วันต่อมา กระทรวงต่างประเทศของ
สหรัฐอเมริกากล่าวว่าหนทางที่จะยกเลิกการปิดกั้นดูชัดเจน ไม่นานหลังจากนั้น ประเทศมหาอานาจทั้ง
สี่ได้เผชิญหน้าเจรจากันอย่างเคร่งเครียด หลังจากนั้นจึงได้ข้อยุติ วันที่ 4 พฤษภาคม ฝ่ายพันธมิตร
ประกาศว่าจะยกเลิกการปิดกั้นให้เสร็จสิ้นภายในเวลา 8 วัน
การปิดกั้นสิ้นสุดลง
การปิดกั้นของโซเวียตสิ้นสุดลงภายในหนึ่งนาทีหลังเที่ยงคืนวันที่ 12 พฤษภาคม ค.ศ. 1949 กองทัพรถ
ของอังกฤษเคลื่อนตัวเข้าสู่เบอร์ลินในทันที รถไฟขบวนแรกเข้ามาถึงฝั่งตะวันตกเมื่อเวลา 5.32 น. ในวันนั้น ฝูง
ชนขนาดมหึมาร่วมแสดงความดีใจที่การปิดกั้นสิ้นสุดลง นายพลเคลย์ผู้ซึ่งได้รับการประกาศการเกษียณจาก
ประนาธิบดีทรูแมนเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคมได้รับการสดุดีจากทหารอเมริกันจานวน 11,000 นายและเครื่องบิน
อีกจานวนมาก เมื่อเคลย์กลับถึงสหรัฐอเมริกาแล้ว เขาได้รับการเดินขบวนขนาดใหญ่ในนครนิวยอร์ก ได้รับเชิญ
ให้กล่าวสุนทรพจน์ในรัฐสภา และได้รับการประดับเหรียญเกียรติยศจากทรูแมนอีกด้วย
การขนส่งทางอากาศยังดาเนินต่อไปอีกระยะหนึ่งเพื่อสร้างเสบียงเผื่อไว้ เพื่อว่าหากมีเหตุจาเป็นเกิดขึ้น
การขนส่งทางอากาศรอบใหม่จะสามารถเริ่มต้นได้อย่างง่ายดาย วันที่ 24 มิถุนายน ค.ศ. 1949 เสบียงสารองก็
ทาให้ทั้งเมืองอยู่ต่อได้อีก 3 เดือน การขนส่งทางอากาศสิ้นสุดลงอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 30 กันยายน
ค.ศ. 1949 หลังจากปฏิบัติงานมา 15 เดือน สหรัฐอเมริกาได้ขนส่งเสบียงทั้งหมด 1,783,573 ตัน อังกฤษ
ขนส่งเสบียง 541,937 ตัน รวมทั้งหมด 2,326,406 ตัน ด้วยเที่ยวบินสู่กรุงเบอร์ลินทั้งหมด 278,228 เที่ยว
รวมระยะทางการบินทั้งหมดกว่า 92 ล้านไมล์ซึ่งเกือบจะเท่ากับระยะทางจากโลกสู่ดวงอาทิตย์
มีลูกเรือเสียชีวิตระหว่างปฏิบัติภารกิจทั้งหมด 101 คน เป็นนักบินอังกฤษ 39 คน และนักบินอเมริกัน
31 คน ส่วนใหญ่เสียชีวิตจากการชนกัน เครื่องบินของอเมริกา 17 ลาและเครื่องบินของอังกฤษ 8 ลาชน
ระหว่างปฏิบัติการ
ในปี ค.ศ. 1989 ตรงกับยุคที่ เป็นประธานาธิบดีของสหภาพโซเวียต ได้มีการทดลองการปฏิรูปการ
ปกครองไปสู่ระบอบประชาธิปไตย ในเยอรมนีตะวันออกได้มีการชุมนุมประท้วงใหญ่อย่างสงบขึ้นโดยเฉพาะใน
เมืองโพสต์ดัม ไลพ์ซิจและเดรสเดน เริ่มต้นในวันที่ 8 ตุลาคม ค.ศ. 1989 และดาเนินเรื่อยมา เป็นเหตุให้รัฐบาล
เยอรมนีตะวันออกได้รับความกดดันเป็นอย่างมาก กระทั่งได้มีการประกาศว่า จะเปิดพรมแดนให้ชาวเยอรมัน
สามารถเดินทางผ่านแดนได้อย่างอิสระ ในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) ในวันดังกล่าวชาว
เยอรมันตะวันออกจานวนมากได้มารวมตัวกัน ณ กาแพงเบอร์ลิน เพื่อข้ามผ่านแดนไปยังเบอร์ลินตะวันตกครั้ง
แรกในรอบ 28 ปี จึงถือเอาวันดังกล่าว เป็นวันล่มสลายของกาแพงเบอร์ลิน
การล่มสลายของกาแพงเบอร์ลิน
เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลงในปี ค.ศ. 1945 เยอรมันแบ่งออกเป็น 4 ส่วน โดยสนธิสัญญา
ปอทสดัม (Treaty of Potsdam) มหาอานาจตะวันตก ได้แก่ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ และฝรั่งเศส
ครอบครอง 3 ส่วนร่วมกันเรียกว่าเยอรมันตะวันตกและอีกส่วนหนึ่งให้รัสเซียปกครองเรียกว่าเยอรมันตะวันออก
เบอร์ลินนครหลวงแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ส่วนที่ถูกยึดครองโดยฝ่ายพันธมิตรตะวันตกเรียกเบอร์ลินตะวันตก
ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1948 รัสเซียได้ปิดกั้นเส้นทางคมนาคมทางบกที่ผ่านไปยังเบอร์ลินตะวันตก ทาให้
พันธมิตร 3 ชาติ ไม่สามารถส่งอาหารและสินค้าต่าง ๆ ไปยังเบอร์บินตะวันตกได้ การปิดล้อมครั้งนี้ใช้เวลาเกือบ 1 ปี
โดยพันธมิตร 3 ประเทศได้ช่วยกันใช้เครื่องบินลาเลียงสิ่งของ เช่น อาหาร เสื้อผ้า และยารักษาโรคให้แก่ชาวเบอร์ลิน
ตะวันตกเหตุการณ์ครั้งนี้เรียกว่าวิกฤตการณ์เบอร์ลิน เดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1949 ฝ่ายรัสเซียยกเลิกการปิดล้อม
เบอร์ลินตะวันตก ในปลายปี ค.ศ. 1948 อังกฤษ สหรัฐอเมริกา และฝรั่งเศสได้รวมเขตการปกครองของตนเข้าด้วยกัน
เป็นประเทศเอกราชเรียกว่า สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน (เยอรมันตะวันตก) รัสเซียก็สถาปนาเขตที่ตนเองปกครอง
เรียกว่า สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมัน (เยอรมันตะวันออก)
การขยายอิทธิพลของรัสเซียมาสู่ยุโยปตะวันออกโดยเฉพาะอย่างยิ่ง กรณีวิกฤตการณ์เบอร์ลิน เป็ นผล
ทาให้สภาวการณ์เผชิญหน้ากันในสงครามเย็นทวีความตึงเครียดยิ่งขึ้นและการร่วมมือกันของกลุ่มประเทศใน
ยุโรปตะวันตกกับสหรัฐอเมริกาและประเทศเสรีประชาธิปไตยก็ร่วมมือกันเพื่อขจัดการแทรกแซงและขยาย
อิทธิพลของลัทธิคอมมิวนิสต์กันเป็ นระบบ เช่นสหรัฐอเมริกาได้ร่วมมือกับประเทศโลกเสรีก่อตั้งองค์การ
สนธิสัญญาทางทหาร เช่น องค์การนาโต้ องค์การซีโต้ องค์การนานารัฐอเมริกาตลอดรวมถึง การตั้งฐานทัพ
สหรัฐอเมริกา ใน เกาหลีใต้ ฟิ ลิปปิ นส์ ไทย และประเทศอื่นอีกหลายประเทศทั่วโลก
สรุปวิกฤตการณ์เบอร์ลิน
• https://www.facebook.com/pg/IlikeHistory/photos/?tab=album&albu
m_id=361659833917081
• http://chuta136.blogspot.com/2013/10/blog-post_7033.html?m=1
• http://www.thairath.co.th/content/458775
อ้างอิงแหล่งที่มา

More Related Content

What's hot

กาพย์เห่เรือ ชมไม้
กาพย์เห่เรือ ชมไม้กาพย์เห่เรือ ชมไม้
กาพย์เห่เรือ ชมไม้Smile Petsuk
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์Khwanruthai Kongpol
 
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนโจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนNok Yupa
 
โปรแกรมการแข่งขันกีฬาเปตอง
โปรแกรมการแข่งขันกีฬาเปตองโปรแกรมการแข่งขันกีฬาเปตอง
โปรแกรมการแข่งขันกีฬาเปตองPochchara Tiamwong
 
Pat2 มีนาคม 2552
Pat2 มีนาคม 2552Pat2 มีนาคม 2552
Pat2 มีนาคม 2552
Gitniphat Prom
 
เฉลยข้อสอบชีววิทยา โควตา ม.ช. ปี 37 46
เฉลยข้อสอบชีววิทยา โควตา ม.ช. ปี 37 46เฉลยข้อสอบชีววิทยา โควตา ม.ช. ปี 37 46
เฉลยข้อสอบชีววิทยา โควตา ม.ช. ปี 37 46ติ๊บ' นะ
 
ใบความรู้ สไลด์ มงคล38 ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 f20-1page
ใบความรู้  สไลด์  มงคล38 ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 f20-1pageใบความรู้  สไลด์  มงคล38 ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 f20-1page
ใบความรู้ สไลด์ มงคล38 ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 f20-1page
Prachoom Rangkasikorn
 
หลักกฎหมายอาญาทั่วไป
หลักกฎหมายอาญาทั่วไปหลักกฎหมายอาญาทั่วไป
หลักกฎหมายอาญาทั่วไป
ทิวากร ธนะมูล
 
วงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลวงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลPasit Suwanichkul
 
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
Wichai Likitponrak
 
Pat2 มีนาคม 2553
Pat2 มีนาคม 2553Pat2 มีนาคม 2553
Pat2 มีนาคม 2553
Gitniphat Prom
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
Warodom Techasrisutee
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
Thitaree Samphao
 
โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3
โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3
โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3
โสภาพรรณ ชื่นทองคำ
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
waratree wanapanubese
 
G biology bio7
G biology bio7G biology bio7
G biology bio7Bios Logos
 

What's hot (20)

ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์
 
กาพย์เห่เรือ ชมไม้
กาพย์เห่เรือ ชมไม้กาพย์เห่เรือ ชมไม้
กาพย์เห่เรือ ชมไม้
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
 
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนโจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
 
โปรแกรมการแข่งขันกีฬาเปตอง
โปรแกรมการแข่งขันกีฬาเปตองโปรแกรมการแข่งขันกีฬาเปตอง
โปรแกรมการแข่งขันกีฬาเปตอง
 
Pat2 มีนาคม 2552
Pat2 มีนาคม 2552Pat2 มีนาคม 2552
Pat2 มีนาคม 2552
 
เฉลยข้อสอบชีววิทยา โควตา ม.ช. ปี 37 46
เฉลยข้อสอบชีววิทยา โควตา ม.ช. ปี 37 46เฉลยข้อสอบชีววิทยา โควตา ม.ช. ปี 37 46
เฉลยข้อสอบชีววิทยา โควตา ม.ช. ปี 37 46
 
ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1
ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1
ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1
 
ใบความรู้ สไลด์ มงคล38 ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 f20-1page
ใบความรู้  สไลด์  มงคล38 ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 f20-1pageใบความรู้  สไลด์  มงคล38 ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 f20-1page
ใบความรู้ สไลด์ มงคล38 ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 f20-1page
 
หลักกฎหมายอาญาทั่วไป
หลักกฎหมายอาญาทั่วไปหลักกฎหมายอาญาทั่วไป
หลักกฎหมายอาญาทั่วไป
 
วงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลวงดนตรีสากล
วงดนตรีสากล
 
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
Pat2 มีนาคม 2553
Pat2 มีนาคม 2553Pat2 มีนาคม 2553
Pat2 มีนาคม 2553
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3
โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3
โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
 
ใบ000
ใบ000ใบ000
ใบ000
 
G biology bio7
G biology bio7G biology bio7
G biology bio7
 

Similar to กำแพงเบอร์ลิน

สงครามโลกครั้งที่ 1-pdf
สงครามโลกครั้งที่ 1-pdfสงครามโลกครั้งที่ 1-pdf
สงครามโลกครั้งที่ 1-pdf
Kunnai- เบ้
 
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 268141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2supasit2702
 
สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2
Waciraya Junjamsri
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
nidthawann
 
World war-ii-[TH]
World war-ii-[TH]World war-ii-[TH]
World war-ii-[TH]
boss2221
 
สงครามโลกครั้งที่ 2-pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2-pdfสงครามโลกครั้งที่ 2-pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2-pdf
Kunnai- เบ้
 

Similar to กำแพงเบอร์ลิน (8)

สงครามโลกครั้งที่ 1-pdf
สงครามโลกครั้งที่ 1-pdfสงครามโลกครั้งที่ 1-pdf
สงครามโลกครั้งที่ 1-pdf
 
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 268141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
 
สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
World war-ii-[TH]
World war-ii-[TH]World war-ii-[TH]
World war-ii-[TH]
 
Ww2 Work
Ww2 WorkWw2 Work
Ww2 Work
 
สงครามโลกครั้งที่ 2-pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2-pdfสงครามโลกครั้งที่ 2-pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2-pdf
 
สงครามโลก..[1]
สงครามโลก..[1]สงครามโลก..[1]
สงครามโลก..[1]
 

กำแพงเบอร์ลิน

  • 1. สื่อการเรียนรู้ เรื่อง วิกฤตการณ์เบอร์ลิน จัดทาโดย น.ส. สุชญา ทะลิ ม.5.11 เลขที่31 น.ส. ชนิดา ชยางกูร ณ อยุธยา ม.5.11 เลขที่ 38
  • 2. เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลงในปี ค.ศ. 1945 เยอรมนีแบ่งออกเป็น 4 ส่วน โดย สนธิสัญญาปอทสดัม (Treaty of Potsdam) นั้นได้ให้ประเทศมหาอานาจตะวันตก คือ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ และฝรั่งเศส ครอบครอง 3 ส่วนร่วมกันเรียกว่าเยอรมนีตะวันตก ขณะที่อีกส่วนหนึ่งให้โซเวียตปกครองเรียกว่า เยอรมนีตะวันออก ทาให้กรุงเบอร์ลินนคร หลวงแบ่งออกเป็น 2 ส่วน โซเวียตได้ปิดกั้นเส้นทางคมนาคมทางบกที่ผ่านไปยังเบอร์ลิน ตะวันตก ทาให้พันธมิตร 3 ชาติ ไม่สามารถส่งอาหารและสินค้าต่างๆไปยังเบอร์ลิน ตะวันออกได้ชาวเยอรมันตะวันออกได้อพยพมาอยู่ในเขตตะวันตกมากขึ้นตลอดเวลา ทาให้ โซเวียตต้องสร้างกาแพงยาวกว่า 27 ไมล์ กั้นระหว่างเบอร์ลินใน ค.ศ.1961 เรียกว่า กาแพงเบอร์ลิน ก่อนกาแพงก่อตั้ง
  • 4. กาแพงเบอร์ลิน (Berlin Wall) เป็นกาแพงที่สร้างขึ้นช่วงหลังเยอรมันพ่ายสงครามโลกครั้ง ที่สอง และถูกแบ่งเป็นสองประเทศ มีวัตถุประสงค์เพื่อปิดกั้นพรมแดนเบอร์ลินตะวันตกซึ่งเป็นส่วนหนึ่ง ของเยอรมันตะวันตก ออกจากเยอรมนีตะวันออกที่โอบล้อมอยู่โดยรอบ มีความยาวทั้งสิ้น 155 กิโลเมตร เริ่มสร้างเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม ค.ศ. 1961 และได้ทาหน้าที่ในการปิดกั้นพรมแดนนี้เป็น ระยะเวลา 28 ปี ก่อนจะทลายลง กาแพงเบอร์ลิน (Berlin Wall)
  • 5. ในวันที่ 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1989 ในเยอรมันตะวันออก กาแพงเบอร์ลิน คือ แนวเขตแดนที่ มั่นคง และสัญลักษณ์ของการต่อต้านทุนนิยม แต่สาหรับโลกเสรีแล้ว มันคือ สัญลักษณ์ของความ ขัดแย้งระหว่างระบบทุนนิยมของยุโรปตะวันตก ภายใต้การนาของสหรัฐอเมริกา กับระบบคอมมิวนิสต์ ของยุโรปตะวันออก ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต หรือที่เรียกกันว่า สงครามเย็น นั่นเอง กาแพงเบอร์ลิน ทาให้กรุง เบอร์ลินฝั่งตะวันตก กลายเป็นเสมือน หน้าต่างสู่เสรีภาพนับตั้งแต่การสร้าง กาแพงเบอร์ลิน
  • 6. การข้ามผ่านแดนจากเยอรมันตะว้นออก ไปยังเยอรมันตะวันตก กลายเป็นเรื่องผิดกฎหมาย หากมีการฝ่าฝืนและถูกพบเห็น มีโทษสถานเดียว คือ การยิงทิ้ง ณ บริเวณกาแพงนั่นเอง ตลอด ระยะเวลา 28 ปี คาดว่ามีผู้เสียชีวิตที่กาแพงเบอร์ลินขณะหลบหนีระหว่าง 136 ถึง 206 คน การล่ม สลายของกาแพงเบอร์ลิน ในปี ค.ศ. 1989 ตรงกับยุคที่ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ เป็นประธานาธิบดี ของสหภาพโซเวียต ได้มีการทดลองการปฏิรูปการปกครองไปสู่ระบอบประชาธิปไตย ในเยอรมัน ตะวันออก ได้มีการชุมนุมประท้วงใหญ่อย่างสงบขึ้นโดยเฉพาะในเมืองโพสต์ดัม ไลพ์ซิก และเดรสเดน เริ่มต้นในวันที่ 8 ตุลาคม ค.ศ. 1989 และดาเนินเรื่อยมา เป็นเหตุให้รัฐบาลเยอรมันตะวันออกได้รับ ความกดดันเป็นอย่างมาก กระทั่งได้มีการประกาศว่า จะเปิดพรมแดนให้ชาวเยอรมันสามารถเดิน ทางผ่านแดนได้อย่างอิสระ
  • 7. ในวันที่ 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1989 ในวันดังกล่าวชาวเยอรมันตะวันออกจานวนมากได้มารวมตัว กัน ณ กาแพงเบอร์ลิน เพื่อข้ามผ่านแดนไปยังเบอร์ลินตะวันตกครั้งแรกในรอบ 28 ปี จึงถือเอาวันดังกล่าว เป็นวันล่มสลายของกาแพงเบอร์ลิน มีบางแหล่งข้อมูลอ้างว่า ในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 นาย Günter Schabowski รัฐมนตรีว่าการกระทรวงโฆษณาการ (Minister of Propaganda) ของ เยอรมนีตะวันออกได้แถลงข่าว (ซึ่งภายหลังพบว่าเป็นความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนของเขาเอง) ว่าทางการจะ อนุญาตให้ชาวเบอร์ลินตะวันออก ผ่านเข้าออกเขตแดนได้อย่างเสรีอีกครั้ง ทันใดนั้นเอง ผู้คนนับหมื่นที่ได้ ทราบข่าวก็ได้หลั่งไหลไปยังด่านต่าง ๆ ของกาแพง. หลังจากความโกลาหลอยู่ช่วงหนึ่ง เนื่องจากทาง เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยยังไม่ได้รับคาสั่งใด ๆ จากทางการ ในที่สุดเจ้าหน้าที่ก็ต้องยอมปล่อยให้ฝูงชน ผ่านเขตแดนไปอย่างไม่มีทางเลือก ชาวเบอร์ลินตะวันตกออกมาต้อนรับชาวเบอร์ลินตะวันออก บรรยากาศใน เช้ามืดวันนั้นเหมือนงานเฉลิมฉลอง ตั้งแต่วันที่ 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1989 กาแพงเบอร์ลินได้ถูกทุบทาลาย บางส่วนโดยชาวเยอรมัน และชาวยุโรป แต่การทาลายกาแพงเบอร์ลินอย่างเป็นทางการ เริ่มเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2533 แต่กระนั้นยังคงอนุรักษ์กาแพงบางช่วงไว้เพื่อเป็นอนุสรณ์ นอกจากนี้ ยังมีการประมูล จาหน่ายชิ้นส่วนกาแพงเบอร์ลิน และได้มีการมอบชิ้นส่วนของกาแพงเบอร์ลินไปไว้ในพิพิธภัณฑ์ และสถานที่ สาคัญ ๆ อีกหลายแห่ง อาทิ ด้านหน้าสภายุโรป ณ กรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม พิพิธภัณฑ์นิวเซียม กรุงวอชิงตันดีซี ประเทศสหรัฐอมริกา พิพิธภัณฑ์จอห์น เอฟ เคนเนดี และพิพิธภัณฑ์โรแนล เรแกน ใน ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นต้น
  • 8. การก่อสร้างกาแพงเบอร์ลิน เริ่มขึ้นวันที่ 13 ตุลาคม ค.ศ.1961 เพื่อแบ่งพื้นที่เป็น3ส่วน ที่ ควบคุมโดยประเทศปรั่งเศส อังกฤษ และสหรัฐอเมริกา ออกจากพื้นที่ที่ควบคุมโดยสหภาพโซเวียต หลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่2 ในปีค.ศ.1945 เยอรมนีถูกแบ่งเป็น4ส่วน แต่ละส่วนถูกควบคุม โดย4พันธมิตรมหาอานาจที่ได้รับการชัยชนะในสงคราม พื้นที่ถูกควบคุมกลายเป็นเยอมนีตะวันตกหรือ สหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี 25ปี กาแพงเบอร์ลินล่มสลาย สิ้นสุดการแบ่งแยกคนชาติเดียวกัน
  • 9. กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1945 ไม่นานหลังจากสงครามโลกครั้งที่2สิ้นสุดลง กองทัพพันธมิตรจัดการ ประชุมที่พระราชวังลิวาเดียในเมืองยัลตา ค.ศ. 1949 พื้นที่ฝั่งตะวันตกของเยอรมนีที่ถูกควบคุม กลายเป็นเยอรมนีตะวันตกหรือสหพันธ สาธารณรัฐเยอรมนี ขณะที่ฝั่งตะวันออกกลายเป็นเยอรมนีตะวันออก หรือ สาธารณประชาธิปไตย เยอรมนี ค.ศ. 1949-1961 ชาวเยอรมนีตะวันออกราวสามล้านคนหลบไปยังเยอรมนีตะวันตก 12 สิงหาคม ค.ศ. 1961 วอลเตอร์ อุลบริคต์ ผู้นาพรรคคอมมิวนิสต์แก่งเยอรมนีตะวันออก สั่ง สร้างรั้วแบ่งแยกกรุงเบอร์ลินตะวันออกและตะวันตก 13 สิงหาคม ค.ศ. 1961 อีริค ฮอเนคเคอร์ หัวหน้ากองกาลังความมั่นคงแห่งเยอรมนีตะวันออก สั่งตารวจและทหารก่อสร้างรั้วหนาม ลาดับเหตุการณ์สาคัญ
  • 10. 15 สิงหาคม ค.ศ. 1961 เริ่มมีการสร้างกาแพงคอนกรีตขึ้นเป็นครั้งแรก 18 สิงหาคม ค.ศ. 1961 ลืนดอน บี จอห์นสัน รองประธานาธิบดีสหรัฐฯ เดินทางไปกรุงเบอร์ลิน เพื่อแสดงให้เห็นว่าสหรัฐฯสนับสนุนเยอรมนีตะวันตก 21 สิงหาคม ค.ศ. 1961 ทหารสหรัฐฯราว1500นายเดินทางไปกรุงเบอร์ลินตะวันตก 23 สิงหาคม ค.ศ. 1961 เยอรมนีตะวันออกประกาศห้ามชาวเบอร์ลินตะวันออกเข้าสู่เบอร์ลิน ตะวันตกโดยไม่ได้รับอนุญาต 26 มิถุนายนค.ศ. 1963 จอห์น แอฟ.เคนเนดี เน้นย้าเรื่องเสรีภาพ และความภูมิใจที่ได้เป็น ชาวกรุงเบอร์ลิน กันยายน ค.ศ. 1971 บรรลุข้อตกลง ให้สามารถนาเข้าและส่งสินค้าซึ่งกันและกันได้ ธันวาคม ค.ศ. 1972 เยอรมนีตะวันออกและตะวันตกลงนามสนธิสัญญายอมรับอธิปไตยซึ่งกัน และกัน 12 มิถุนายน ค.ศ. 1987 โรนัลด์ เรแกน ทาลายกาแพงเบอร์ลิน
  • 11. 3 เมษายน ค.ศ.1989 กองกาลังคุ้มกันชายแดนเยอรมนีตะวันออกยุติการใช้อาวุธ เพื่อป้ องกันเหตุ รุนแรง 18 ตุลาคม ค.ศ. 1989 อีริค ฮอนเนคเคอร์ ถูกขับออกจากตาแหน่ง 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1989 ชาวเยอรมันตะวันออกหลายแสนร่วมเดินขบวนเรียกร้องเสรีภาพ 2 พฤศจิกายน ค.ศ. 1989 เอกอน เครนซ์ ออกมาอธิบายว่าจะปฏิรูปนโยบายและเศรษฐกิจ 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 1989 รัฐสภาให้สิทธิการเดินทางและการย้ายถิ่นแก่พลเรือน 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 1989 คณะรัฐมนตรีเยอรมนีลาออกทั้งคณะ 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1989 เยอรมันตะวันออกยกเลิกการห้ามเดินทางไปเยอรมนีตะวันตก 9-10 พฤศจิกายน ค.ศ. 1989 ชาวเยอรมันตะวันออกช่วยกันทาลายกาแพงเบอร์ลิน 10 พฤศจิกายน ค.ศ. 1989 การทาลายกาแพงเบอร์ลินทาให้พรมแดนใหม่เกิดขึ้นมากมาย 3 ตุลาคม ค.ศ. 1990 เยอรมนีตะวันออกและเยอรมนีตะวันตกรวมตัวกันเป็นประเทศเดียวอย่าง เป็นทางการ
  • 12. กาแพงเบอร์ลิน (เยอรมัน: Berliner Mauer) เป็นกาแพงที่สร้างขึ้นช่วงหลังเยอรมัน พ่ายสงครามโลกครั้งที่ 2 และถูกแบ่งเป็นสองประเทศ มีวัตถุประสงค์เพื่อปิดกั้นพรมแดนเบอร์ลิน ตะวันตกซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเยอรมนีตะวันตก ออกจากเยอรมนีตะวันออกที่โอบล้อมอยู่โดยรอบ มี ความยาวทั้งสิ้น 155 กิโลเมตร เริ่มสร้างเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2504 ค.ศ. 1961) และได้ทา หน้าที่ในการปิดกั้นพรมแดนนี้เป็นระยะเวลา 28 ปี ก่อนจะทลายลงในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 วิกฤตการณ์เบอร์ลิน
  • 13. ในเยอรมนีตะวันออก กาแพงเบอร์ลิน คือ แนวเขตแดนที่มั่นคง และสัญลักษณ์ของการต่อต้านทุน นิยม แต่สาหรับโลกเสรีแล้ว มันคือ สัญลักษณ์ของความขัดแย้งระหว่างระบบทุนนิยมของยุโรปตะวันตก ภายใต้การนาของสหรัฐอเมริกา กับระบบคอมมิวนิสต์ของยุโรปตะวันออก ภายใต้การปกครองของสหภาพ โซเวียต หรือที่เรียกกันว่า สงครามเย็น นั่นเอง กาแพงเบอร์ลิน ทาให้กรุงเบอร์ลินฝั่งตะวันตก กลายเป็น เสมือน หน้าต่างสู่เสรีภาพ นับตั้งแต่การสร้างกาแพงเบอร์ลิน การข้ามผ่านแดนจากเยอรมนีตะวันออก ไปยังเยอรมนีตะวันตก กลายเป็นเรื่องผิดกฎหมาย หากมีการฝ่าฝืนและถูกพบเห็น มีโทษสถานเดียว คือ การยิงทิ้ง ณ บริเวณ กาแพงนั่นเอง ตลอดระยะเวลา 28 ปี คาดว่ามีผู้เสียชีวิตที่กาแพงเบอร์ลินขณะหลบหนีระหว่าง 136 ถึง 206 คน
  • 14. แผนที่แนวกาแพงและด่านตรวจ พื้นที่สีขาวคือเบอร์ลินตะวันตก สีชมพูที่เหลือทั้งหมดคือเยอรมนีตะวันออก ในปี ค.ศ. 1945 ภายหลังกองทัพนาซีเยอรมัน ภายใต้การนาของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ได้พ่ายใน สงครามโลกครั้งที่ 2 กองทัพสัมพันธมิตรได้เข้ายึดครองประเทศเยอรมัน และต่อมา 4 ประเทศมหาอานาจที่ เป็นแกน นาในสงครามครั้งนั้น ได้แก่ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส และสหภาพโซเวียตได้ทาสนธิสัญญาในการแบ่ง การดูแลประเทศเยอรมันออกเป็น 4 ส่วนภายใต้การดูแลของแต่ละประเทศ และเช่นกัน กรุงเบอร์ลิน เมืองหลวง ของประเทศ ได้ถูกแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 4 ส่วนเช่นเดียวกัน ก่อนกาแพงก่อตัว
  • 15. ปีต่อมา เยอรมนีภายใต้การปกครองของ 3 ประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ และฝรั่งเศส รวมกันจัดตั้งเป็นประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี หรือ เยอรมนีตะวันตก ในขณะที่เยอรมนีส่วนที่อยู่ ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต ได้จัดตั้งเป็นประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตย เยอรมนี หรือ เยอรมนีตะวันออก ในช่วงแรก ประชาชนของทั้งสองประเทศสามารถเดินทางข้ามแดนไปมา หาสู่กันได้เป็นปกติแต่เมื่อเวลาผ่านไปนานขึ้น ความแตกต่างระหว่างการปกครองแบบประชาธิปไตยใน เยอรมนีตะวันตก และการปกครองในระบบคอมมิวนิสต์ในเยอรมนีตะวันออก มีความแตกต่างที่เด่นชัดขึ้น ในขณะที่เยอรมนีตะวันตกได้รับการพัฒนา และฟื้นฟูประเทศ อาคารบ้านเรือนต่าง ๆ ที่พังทลายในช่วง สงครามโลกได้รับการบูรณะ ส่วนเยอรมนีตะวันออกทุกอย่างกลับสวนทางกัน ยิ่งไปกว่านั้นธุรกิจทุกอย่าง ถูกเปลื่ยนมือไปเป็นของรัฐ เป็นเหตุให้ผู้คนพากันอพยพข้ามถิ่นจากเยอรมนีตะวันออก ไปยังเยอรมนี ตะวันตกกันมากขึ้น เฉพาะในปีค.ศ. 1961 เพียงปีเดียว ซึ่งมีข่าวลือว่า ทางเยอรมนีตะวันออกจะปิดกั้น พรมแดนระหว่างสองประเทศ ทาให้ผู้คนกว่า 3 ล้านคน พากันอพยพไปยังเยอรมนีตะวันตก เป็นจุดเริ่มต้น ที่ทาให้รัฐบาลเยอรมนีตะวันออก ภายใต้การควบคุมของสหภาพโซเวียตได้เร่งสร้างกาแพงกันแนวระหว่าง สองประเทศ และรวมไปถึง แนวกาแพงที่ปิดล้อมกรุงเบอร์ลินฝั่งตะวันตกอีกด้วย
  • 16. ผลจากการย้ายออกของชาวเยอรมันตะวันออก ที่มีมากเกินการควบคุม รัฐบาลเยอรมนีตะวันออกใน ขณะนั้น จึงได้สร้างกาแพงกั้นระหว่างประเทศเยอรมนีตะวันออกกับเยอรมนีตะวันตก ว่ากันว่า แนวกาแพงที่กั้น ระหว่างสองประเทศนี้ยาวเป็นอันดับสองรองจากกาแพงเมืองจีนทีเดียว ในส่วนของกรุงเบอร์ลิน นครหลวงของประเทศทั้งสอง มีที่ตั้งอยู่ใจกลางประเทศเยอรมนีตะวันออก ดังนั้น นครเบอร์ลินฝั่งตะวันตก จึงถูกปิดล้อมด้วยเยอรมนีตะวันออกรอบด้าน ในระยะแรก การเดิน ทางเข้าออกระหว่างเบอร์ลินตะวันออก และเบอร์ลินตะวันตก เป็นไปโดยเสรี กระทั่งเมื่อมีการอพยพของชาว เยอรมันตะวันออกจานวนมาก เป็นเหตุให้รัฐบาลเยอรมนีตะวันออกเร่งสร้างกาแพงเพื่อปิดกั้นการย้ายถิ่นของ ชาวเยอรมัน ในวันที่13 สิงหาคม พ.ศ. 2507 เป็นวันแรกที่มีการสร้างกาแพงเพื่อปิดล้อมกรุงเบอร์ลินตะวันตก และเป็นจุดเริ่มต้นของสงครามเย็นในยุคนั้น กาเนิดกาแพงเบอร์ลิน
  • 17. กาแพงเบอร์ลิน ถูกใช้งานเป็นเวลา 28 ปี ในช่วงเวลานี้ มีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างและ รูปแบบของกาแพงถึง 4 ครั้ง แต่ละครั้งจะเพิ่มความแข็งแรง และความสูงของกาแพงเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เพื่อป้ องกันการหลบหนีของชาวเยอรมันตะวันออก เนื่องจากกาแพงกันระหว่างเยอรมนีตะวันออก และ เยอรมนีตะวันตก มีจุดเปราะบางที่สุดที่กรุงเบอร์ลินนี่เอง กาแพงเบอร์ลินทั้ง 4 รุ่นมีพัฒนาการดังนี้ กาแพงรุ่นที่ 1 เริ่มสร้างเมื่อวันที่ สิงหาคม พ.ศ. 2507 เป็นแนวรั้วลวดหนาม เป็นการสร้าง ชั่วคราวเพื่อป้ องกันการอพยพของประชาชน เป็นกาแพงเบอร์ลินรุ่นที่มีอายุใช้งานสั้นที่สุด กาแพงรุ่นที่ 2 เป็นกาแพงก่ออิฐถือปูน ถูกสร้างขึ้นแทนกาแพงรั้วลวดหนามทันทีที่กาแพงรั้วลวด หนามเสร็จสมบูรณ์ แต่กาแพงก่ออิฐถือปูนนี้ก็ไม่แข็งแรงพอที่ปิดกั้นความปรารถนาในการแสวงหา เสรีภาพของประชาชน มีความพยายามในการหลบหนีด้วยการทาลายกาแพงเกิดขึ้นหลายครั้ง กาแพงรุ่นที่ 3 เป็นรั้วคอนกรีตสาเร็จรูป ถูกสร้างขึ้นเพื่อให้เกิดความแข็งแรง และความสูงเพิ่มขึ้น
  • 18. กาแพงรุ่นที่ 4 ถูกสร้างในปี ค.ศ. 1975 เป็นแผ่นคอนกรีตสาเร็จรูปขนาดกว้าง 1.2 เมตร สูง 3.6 เมตร จานวนกว่า 45,000 แผ่นถูกต่อเป็นแนวรอบกรุงเบอร์ลินตะวันตกเชื่อมต่อด้วยท่อคอนกรีตที่ ด้านบนกาแพง กาแพงรุ่นนี้ถูกใช้งานจนกระทั่งถึงการล่มสลายในปี ค.ศ. 1989 และเป็นกาแพงเบอร์ลิน รุ่นที่ถูกนาไปแสดงในพิพิธภัณฑ์ และสถานที่ต่าง ๆ ในปัจจุบัน ในการก่อสร้างกาแพงเบอร์ลินรุ่นที่ 4 ใช้ งบประมาณสูงถึงกว่า 1,650 ล้านมาร์ก ณ ขณะนั้นทีเดียว สาหรับประชาชนเยอรมันทั้งตะวันตก และตะวันออก และประชาคมโลกในระบบประชาธิปไตย กาแพงเบอร์ลิน เปรียบเสมือนการปิดกั้นเสรีภาพของประชาชน ว่ากันว่า กาแพงเบอร์ลิน เป็นกาแพง แห่งเดียวในโลกที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อปิดกั้นประชาชนในประเทศของตนจากโลกภายนอก ในขณะที่กาแพง เมืองอื่น ๆ ทั่วโลกนั้นมีไว้เพื่อป้ องกันไม่ให้ศัตรูเข้ามารุกรานเสรีภาพของชาวเมือง ในทางกลับกัน สหภาพโซเวียต ผู้อยู่เบื้องหลังการสร้างกาแพงเบอร์ลิน กลับมองว่า กาแพงเบอร์ลิน คือ นวัตกรรม ของชนชาติ
  • 19. ในระหว่างที่กาแพงยังตั้งอยู่นั้น มีความพยายามหลบหนีข้ามเขตแดนราว 5,000 ครั้ง ในช่วง แรกนั้น การหลบหนีเป็นไปอย่างไม่ยากนัก เนื่องจากกาแพงในช่วงแรกเป็นเพียงรั้วลวดหนามเตี้ย ๆ และบางส่วนก็กระโดดออกมาทางหน้าต่างของตึกที่อยู่ติดกับกาแพง แต่ไม่นานนักกาแพงก็เปลี่ยนเป็น คอนกรีตที่แน่นหนา ส่วนหน้าต่างตึกต่าง ๆ ที่อยู่ใกล้กับกาแพงก็ถูกก่ออิฐปิดตาย การลอบข้ามกาแพง
  • 20. หากการสร้างกาแพงเบอร์ลิน คือ นวัตกรรมของชนชาติ การลอบข้าม กาแพงเบอร์ลินย่อมเป็นนวัตกรรมที่ยิ่งใหญ่กว่า มีการลอบข้ามกาแพงเบอร์ลิน หลายต่อหลายครั้งที่แสดงถึงความสร้างสรรค์อันยิ่งใหญ่ เช่น การข้ามกาแพงด้วยบอลลูน การสร้างสลิงข้ามแนวกาแพงด้วยเวลาไม่ถึง 2 นาที การขุดอุโมงค์ลอดใต้กาแพง ซึ่งสามารถช่วยชาวเบอร์ลินตะวันออกหลบหนี ได้มากถึงกว่าร้อยคน เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีจุดข้ามแดนบางจุดที่ได้รับการ ช่วยเหลือจากกองทัพสัมพันธมิตร อาทิ จุดข้ามแดนโดยการว่ายข้ามแม่น้ากองทัพ อังกฤษได้หย่อนบันไดลิงไว้ในฝั่งตรงข้ามเพื่อให้ผู้ที่ว่ายน้าข้ามไปสามารถปีนขึ้นฝั่ง ได้
  • 21. ในการลอบข้ามกาแพง เป็นความเสี่ยงที่ต้องแลกมาด้วยชีวิต ด้วยรัฐบาล เยอรมนีตะวันออกมีกฎที่ว่าผู้หลบหนีจะถูกยิงทิ้งทันทีที่พบเห็น จานวนผู้เสียชีวิต และ บาดเจ็บจากการลอบข้ามกาแพงเบอร์ลินนั้นยังไม่แน่ชัดนัก บางแหล่งระบุว่ามี 192 คนถูกฆ่าระหว่างการหลบหนี และอีกประมาณ 200 คนบาดเจ็บสาหัส ขณะที่บาง แหล่งข้อมูลกลับมีตัวเลขผู้เสียชีวิตเพียง 136 คน บางแหล่งข้อมูลกับมีตัวเลข ผู้เสียชีวิตสูงถึง 246 คนและในวิกีพีเดียภาษาอังกฤษได้ระบุตัวเลขผู้เสียชีวิตไว้ 100 - 200 คน เหตุที่เป็นดังนี้ เนื่องจากทางรัฐบาลเยอรมนีตะวันออกไม่ได้ทารายงานเรื่องนี้ และเมื่อมีผู้เสียชีวิตในการลอบข้ามกาแพง ทางการก็ไม่ได้แจ้งข่าว แก่ครอบครัวอีกด้วย การเสียชีวิตในการลอบข้ามกาแพง
  • 22. เหตุการณ์เสียชีวิต ณ กาแพงเบอร์ลิน ครั้งที่โด่งดังที่สุด เกิดขึ้นเมื่อ วันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2505 (ค.ศ. 1962) เมื่อนายปีเตอร์ เฟตช์เตอร์ (Peter Fechter)เด็กหนุ่มที่ลอบข้ามกาแพงเบอร์ลินถูกยิง และปล่อยให้เลือดไหลจน ตายต่อหน้าสื่อมวลชนตะวันตก เป็นจุดเริ่มต้นของการดาเนินการต่อต้านกาแพง เบอร์ลินอย่างเป็นรูปธรรม เมื่อวัน ผู้หลบหนีรายสุดท้ายที่ถูกยิงตายคือ นาย Chris Gueffroy เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2532 ( ค.ศ. 1989 )
  • 23. การตัดสินใจขนส่งทางอากาศ แม้ว่าฝ่ายตะวันตกจะไม่ได้เจรจาใด ๆ กับสหภาพโซเวียตเพื่อขอให้เปิดการจราจรทางบก แต่พวก เขาได้เจรจาขอให้เปิดการจราจรทางอากาศแทน วันที่ 30พฤศจิกายน ค.ศ. 1945 ฝ่ายตะวันตกและ โซเวียตบรรลุข้อตกลงเปิดเส้นทางจราจรทางอากาศสู่กรุงเบอร์ลิน 3 เส้นทาง แต่ละเส้นทางมีความ กว้าง 20 ไมล์ โซเวียตไม่สามารถอ้างว่าเครื่องบินขนส่งเหล่านี้เป็นการข่มขู่ทางทหารได้ หนทางเดียวที่ จะปิดกั้นเครื่องบินเหล่านี้คือต้องยิงมันให้ตกลงมาและนั่นก็จะทาให้โซเวียตต้องถูกประณามที่ละเมิด ข้อตกลง การขนส่งทางอากาศที่เบอร์ลิน
  • 24. อย่างไรก็ตาม การที่จะดาเนินการขนส่งทางอากาศได้นั้นจะต้องมั่นใจว่าจะสามารถจัดส่งอาหารได้รวดเร็วพอ มิฉะนั้นแล้ว ชาว เบอร์ลินอาจต้องขอความช่วยเหลือจากโซเวียตในท้ายที่สุด เคลย์ได้คาบอกกล่าวให้ขอคาปรึกษาจากนายพล เคอร์ติส ลีเมย์ ผู้ บัญชาการกองทัพอากาศสหรัฐอเมริกาในภาคพื้นยุโรป ว่าการขนส่งทางอากาศจะเป็นไปได้หรือไม่ ลีเมย์ตอบว่า "เราสามารถขนส่ง อะไรก็ได้" กองทัพอเมริกันได้ปรึกษากองทัพอากาศอังกฤษถึงความเป็นไปได้ที่จะร่วมมือกันขนส่งทางอากาศ และพบว่าอังกฤษได้ขนส่ง ทางอากาศเพื่อช่วยเหลือทหารอังกฤษในเบอร์ลินอยู่ก่อนแล้ว เซอร์ ไบรอัน โรเบิร์ตสัน ผู้บัญชาการเยอรมนีส่วนอังกฤษมีความ พร้อมเป็นอย่างมาก Reginald Waite นาวาเอกพิเศษกองทัพอากาศอังกฤษได้คานวณทรัพยากรที่จะใช้หล่อเลี้ยงเมืองทั้งเมือง เขาพบว่าประชาชนทั้งหมด 2 ล้านกว่าคนต้องการพลังงาน 1,700 แคลอรีต่อคนต่อวัน ซึ่งประกอบด้วยแป้ งและข้าวสาลี 646 ตัน ธัญพืช 125 ตัน น้ามัน 64 ตัน เนื้อสัตว์ 109 ตัน มันฝรั่ง 180 ตัน น้าตาล 180 ตัน กาแฟ 11 ตัน นมผง 19 ตัน นมสาหรับเด็ก ๆ 5 ตัน ยีสต์สาหรับทาขนมปัง 3 ตัน ผักอบแห้ง144 ตัน เกลือ 38 ตัน และชีส 10 ตัน รวมแล้วจะต้องส่งอาหารวันละ 1,534 ตัน เพื่อเลี้ยงประชาชนมากกว่า 2 ล้านคน นอกจากนี้ ยังต้องส่งถ่านหินและน้ามัน 3,475 ตันต่อวันเพื่อทาให้ทั้งเมืองอบอุ่นและมีไฟฟ้ า ใช้ การขนส่งทางอากาศนั้นไม่ใช่เรื่องง่าย การถอนกาลังทหารหลังสิ้นสงครามทาให้กองทัพอากาศสหรัฐ มีเพียงเครื่องบินซี- 47 สกายเทรน 2 ฝูงบินเหลือไว้ในยุโรป เครื่องบินแต่ละลาสามารถขนส่งได้เพียง 3.5 ตันต่อเที่ยวบิน เคลย์คานวณแล้วพบว่าฝูงบิน เพียงเท่านี้จะขนส่งเสบียงได้เพียง 300 ตันต่อวัน ขณะที่กองทัพอังกฤษซึ่งมีความพร้อมกว่าสามารถส่งได้เพียง 400 ตันต่อวัน ตัวเลขนี้ห่างจากตัวเลขความต้องการทั้งหมด 5,000 ตันต่อวันอย่างมาก อย่างไรก็ตาม เครื่องบินใหม่จากสหรัฐอเมริกาและ อังกฤษที่จะบินเข้ามาสมทบจะช่วยให้สามารถขนส่งได้มากขึ้น ตอนนี้ทางสหรัฐอเมริกายังต้องอาศัยเครื่องบินจากอังกฤษไปก่อน อังกฤษจะส่งเครื่องบินซี-47 เข้ามาสมทบอีก 150 ลา และส่งเครื่องบิน Avro York ซึ่งมีความสามารถในการขนส่ง 10 ตันเข้ามา สมทบอีก 40 ลา อังกฤษคาดหวังว่าจะสามารถส่งอาหารได้ทั้งหมด 750 ตันต่อวันในระยะแรก ส่วนในระยะยาวนั้น สหรัฐอเมริกาจะ ส่งเครื่องบินเข้ามาสมทบให้เร็วที่สุดเท่าที่ทาได้ เครื่องบินที่ปฏิบัติภารกิจนี้ได้จะต้องมีขนาดใหญ่ที่สุดเท่าที่จะทาได้และจะต้องสามารถ บินไปลงสนามบินที่เบอร์ลินได้ ซึ่งก็ได้แก่ เครื่องบินซี-54 สกายมาสเตอร์ และเครื่องบิน R5D ของสหรัฐอเมริกา
  • 25. แผนการขนส่งเสบียงทางอากาศนั้นดูจะเป็นแผนการตอบโต้โซเวียตที่ดีที่สุด อย่างไรก็ตาม ฝ่าย ตะวันตกยังคงมีความกังวลเกี่ยวกับประชาชนชาวเบอร์ลิน เคลย์โทรไปหา แอร์นสท์ รอย แทร์ นายกเทศมนตรีเบอร์ลิน และกล่าวว่า "ผมพร้อมจะทดลองแผนการขนส่งเสบียงทางอากาศแล้ว แต่ผมก็ไม่อาจให้การรับรองได้ว่ามันจะประสบความสาเร็จ ผมมั่นใจว่าถึงแม้เราจะพยายามอย่างที่สุด แล้ว แต่สุดท้ายประชาชนก็จะหนาวและประชาชนก็จะหิว และหากว่าชาวเบอร์ลินไม่อาจทนสภาพนั้นได้ ทุกอย่างก็จะพังทลาย ผมไม่ต้องการให้สิ่งนั้นเกิดจนกว่าคุณจะสัญญาว่าชาวเบอร์ลินยินดีที่จะรับสภาพ นั้น" แม้ว่ารอยแทร์จะคลางแคลงใจ แต่เขาก็ตอบเคลย์ไปว่าชาวเบอร์ลินพร้อมจะเสียสละทุกอย่างเท่าที่ ทาได้ และชาวเบอร์ลินก็พร้อมจะสนับสนุนแผนการของเขาแล้ว นายพล ผู้บังคับบัญชาด้านแผนและปฏิบัติการของกองทัพสหรัฐอเมริกา ยังคงอยู่ในยุโรปเวลานั้น เขาเป็นผู้บัญชาการในสงครามมหาสมุทรแปซิฟิก ในระหว่างปี ค.ศ. 1944 – 1945 และมีความ ชานาญเรื่องการใช้การขนส่งทางอากาศเป็นอย่างมากเพราะเขาเคยขนส่งทางอากาศจากอินเดียข้าม เทือกเขาหิมาลัยในสงครามโลกครั้งที่สอง เขาเห็นด้วยกับแผนการนี้เป็นอย่างมาก อังกฤษและ สหรัฐอเมริกาตกลงร่วมมือปฏิบัติภารกิจนี้โดยไม่รีรอ สหรัฐอเมริกาได้ตั้งชื่อให้ภารกิจนี้ว่า"ปฏิบัติการ ขนส่งเสบียง" (Operation Vittles)
  • 26. • การขนส่งทางอากาศเริ่มต้น วันที่ 24 มิถุนายน ค.ศ. 1948 ลีเมย์แต่งตั้งนายพลจัตวาโจเซฟ สมิธ ผู้บังคับบัญชาฐานที่มั่นทางทหารวีสบาเด็น (Wiesbaden Military Post) ให้เป็นผู้บังคับบัญชาปฏิบัติการครั้งนี้ วันที่ 25 มิถุนายน ค.ศ. 1948 เคลย์สั่งให้เริ่มปฏิบัติการขนส่งเสบียง สองวันถัดมา เครื่องบินซี-47 จานวน 2 ลาก็ไปถึงเบอร์ลินโดยนานม แป้ ง และยารักษาโรคไปทั้งหมด 80 ตัน เครื่องบินลาแรกของอังกฤษบินมาถึงเบอร์ลิน เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน วันที่ 27 มิถุนายน เคลย์ส่งโทรเลขไปหา William Draper เพื่อรายงานสถานการณ์ดังนี้ “ผมได้จัดเตรียมเครื่องบินไว้มากที่สุดเท่าที่จะทาได้เพื่อจะปฏิบัติภารกิจในวันจันทร์นี้ 28 มิถุนายน เราสามารถใช้เครื่องบินดาโคตา [ซี-47] ได้ทั้งหมด 70 ลา เรายังไม่รู้ว่ากองทัพอากาศของอังกฤษจะจัดส่งเครื่องบินได้เท่าไรแม้ว่านายพลโร เบิร์ตสันจะสงสัยในขีดความสามารถของพวกเขา สนามบินของเราในเบอร์ลิน 2 สนามบินสามารถรองรับเที่ยวบินได้ 50 เที่ยวต่อวัน เครื่องบินที่ลงจอดได้นั้นจะต้องเป็นเครื่องบินซี-47, ซี-54 หรือเครื่องบินที่มีลักษณะการลงแบบเดียวกันเพราะสนามบินของเราไม่อาจรองรับ เครื่องบินที่ใหญ่กว่านี้ได้ LeMay กาลังเร่งรัดให้ใช้เครื่องบินซี-54 จานวนสองฝูง ด้วยเครื่องบินจานวนเท่านี้ เราสามารถขนส่งเสบียง ได้ 600 ถึง 700 ตันต่อวัน แม้ว่าเราจาเป็นต้องส่ง 2000 ตันต่อวัน แต่ด้วยปริมาณ 600 ตันต่อวันก็จะเป็นการสร้างขวัญกาลังใจให้กับชาว เยอรมันและเป็นการสร้างความราคาญให้กับโซเวียตอย่างไม่ต้องสงสัย อย่างไรก็ตาม เราจาเป็นจะต้องได้รับเครื่องบินเพิ่มอีกประมาณ 50 ลา ที่เพื่อจะปฏิบัติภารกิจนี้ให้สาเร็จ ความล่าช้าในแต่ละวันจะทาให้ความสามารถในการรักษากรุงเบอร์ลินของเราลดน้อยลง เราต้องการลูกเรือ เพื่อขับเครื่องบินให้มากที่สุดเท่าที่จะทาได้” ตั้งแต่วันที่ 28 มิถุนายน การขนส่งทางอากาศก็เริ่มขึ้น เครื่องบินซี-54 มาร่วมสมทบกับกองบินเป็นจานวนมาก ฐานทัพอากาศไรน์- มายน์ (Rhein-Main Air Base) ถูกทาเป็นฐานเก็บเครื่องบินซี-54 ฐานที่มั่นทางทหารวีสบาเด็นเป็นที่เก็บเครื่องบินซี-54 และซี- 47 เครื่องบินของสหรัฐอเมริกาบินไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือมุ่งสู่สนามบินเทมเพลโฮฟ (Tempelhof) เพื่อขนส่งเสบียง จากนั้นจึงบิน ไปทางทิศตะวันตกจนเข้าพื้นที่ของอังกฤษ และเลี้ยวกลับมาทางใต้สู่ฐานของตน การขนส่งทางอากาศเริ่มต้น
  • 27. ส่วนเครื่องบินของอังกฤษนั้นบินขึ้นจากสนามบินในฮัมบูร์ก มุ่งหน้าไปยังทิศตะวันออกเฉียงใต้สู่สนามบิน กาโทว (Gatow) ในเบอร์ลินส่วนอังกฤษ จากนั้นจึงบินไปทางทิศตะวันตกเส้นทางเดียวกับสหรัฐอเมริกาแล้ว ลงจอดที่ฮันโนเวอร์ วันที่ 5 กรกฎาคม เครื่องบิน Short Sunderlands อีก 10 ลาเข้าร่วมกับกองบิน และ ต่อมา เครื่องบิน Short Hythe ก็เข้ามาร่วมสมทบ การที่ลาตัวของมันมีคุณสมบัติต่อต้านการกัดกร่อนทา ให้มันได้รับมอบหมายให้ขนส่งเกลือแกงเข้าสู่กรุงเบอร์ลิน นอกจากนี้ ยังมีลูกเรือจาก ออสเตรเลีย แคนาดา นิวซีแลนด์ และแอฟริกาใต้ มาเข้าร่วมด้วย สมิธได้ออกแบบตารางการบินและรูปแบบการบินที่ซับซ้อนขึ้นเพื่อจัดการกับกองบินขนาดมหึมานี้เพื่อให้มี เวลาซ่อมบารุงเครื่องบินและเวลาขนของขึ้นเครื่อง เครื่องบินจะบินออกจากสนามบินทุก ๆ 3 นาที โดยมีระดับการบินเริ่มต้นอยู่ที่ 5,000 ฟุต เครื่องบินแต่ละลาจะบินสูงกว่าเครื่องบินที่เพิ่งออกไปก่อน หน้า 500 ฟุต และจะวนกลับมาเริ่มต้นที่ 5,000 ฟุตใหม่อีกครั้งหลังจากที่มีเครื่องบินออกไปแล้ว 5 ลา ในช่วงสัปดาห์แรกของปฏิบัติการ ฝ่ายตะวันตกสามารถขนส่งเสบียงได้เพียง 90 ตันต่อวัน แต่พอถึง สัปดาห์ที่สอง ฝ่ายตะวันตกก็สามารถทาการขนส่งได้ถึง 1,000ตันต่อวัน เชื่อกันว่าหากดาเนินการต่อไปอีกสัก สองถึงสามสัปดาห์ก็จะทาให้เมืองอยู่รอดได้แล้ว สื่อของคอมมิวนิสต์ในเบอร์ลินตะวันออกเยาะเย้ยปฏิบัติการ ครั้งนี้ว่าเป็น "ความพยายามอันเปล่าประโยชน์ของอเมริกาที่จะรักษาหน้าและรักษาพื้นที่ในเบอร์ลินที่พวกเขาไม่มี วันจะครอบครองได้"
  • 28. หลังจากที่สหภาพโซเวียตไม่มีท่าทีว่าจะยอมแพ้ง่าย ๆ ฝ่ายตะวันตกจึงเพิ่มการขนส่งทางอากาศให้มากขึ้น วันที่ 27 มิถุนายน ค.ศ. 1948 พลโทวิลเลียม เอช. ทันเนอร์(William H. Tunner) จากหน่วยบริการการขนส่งทางอากาศ ได้เข้ามาควบคุมการปฏิบัติการ ทันเนอร์มีประสบการณ์ในการสั่งงานและการขนส่งทางอากาศที่ Burma Hump มาก่อน เขา ตั้งกองกาลังขนส่งทางอากาศเฉพาะกิจ (Combined Airlift Task Force) ที่เทมเพลโฮฟ หลังจากที่เขาเพิ่งเข้ามาควบคุมได้ไม่นาน วันที่ 30 มิถุนายน ค.ศ. 1948 ทันเนอร์ตัดสินใจบินไปเบอร์ลินเพื่อมอบรางวัล ให้กับร้อยโทพอล โอ. ไลคินส์ (Paul O. Lykins)นักบินผู้ปฏิบัติการขนส่งทางอากาศมากที่สุด ในเวลานั้น เมฆได้ปกคลุมกรุง เบอร์ลินและลอยต่าลงมาจนถึงยอดตึก ฝนก็ตกหนักจนทาให้เรดาร์แทบใช้การไม่ได้ เครื่องบินซี-54 ลาหนึ่งพุ่งชนปลายรันเวย์ จนไฟไหม้เครื่อง เครื่องบินลาที่สองที่กาลังจะลงจอดจึงระเบิดยางล้อเพื่อป้ องกันไม่ให้มันวิ่งไปชนลาแรก เครื่องบินลาที่สามหมุน ตัวเป็นวงกลมอย่างควบคุมไม่ได้ที่รันเวย์สารอง ส่งผลให้สนามบินทั้งสนามบินใช้งานไม่ได้ ทันเนอร์สั่งให้เครื่องบินทุกลาบินกลับ ฐานโดยทันที เหตุการณ์นี้ต่อมาถูกเรียกว่า "วันศุกร์ทมิฬ" (Black Friday) หลังจากเหตุการณ์นี้ ทันเนอร์ได้ออกกฎควบคุมการบินขึ้นมาใหม่ เขาสั่งให้นักบินปฏิบัติตามเครื่องมือบนเครื่องบินอย่าง เคร่งครัดไม่ว่าทัศนวิสัยในขณะนั้นจะแจ่มใสหรือไม่ก็ตาม เขายังสั่งให้ฝูงบินแต่ละฝูง มีโอกาสลงจอดได้เพียงครั้งเดียว หากเกิดความผิดพลาดขึ้น นักบินต้องบินกลับฐานโดยทันที ผลก็คือ อัตราการเกิดอุบัติเหตุ ลดลงและการปฏิบัติภารกิจเป็นไปด้วยความรวดเร็วขึ้น นอกจากนี้ ทันเนอร์ได้เอาเครื่องบินซี-47 ออกจากภารกิจเพราะมันมี ประสิทธิภาพต่ากว่าเครื่องบินซี-54 มาก เวลาที่ใช้ในการเอาของ 3.5 ตันลงจากเครื่องบินซี-47นั้นเท่ากับเวลาที่ใช้ในการเอา ของ 10 ตันลงจากเครื่องบินซี-54 ทั้งนี้เป็นเพราะเครื่องบินซี-47 มีทางขนของเป็นพื้นเอียงทาให้เอาของลงได้ยาก ขณะที่เครื่องบินซี-54 มีทางขนของเป็นแบบขั้น ๆ ทาให้เอาของลงได้รวดเร็ว วันศุกร์ทมิฬ
  • 29. นอกจากนี้ ทันเนอร์ยังพบว่านักบินแต่ละคนใช้เวลาไปหยิบของกินในช่วงพักเป็นเวลานาน เขาจึงสั่ง ไม่ให้นักบินออกจากเครื่องบินระหว่างอยู่ในเบอร์ลิน แต่เขาส่งรถบริการของกินมาบริการถึงที่และให้สาว เบอร์ลินน่ารัก ๆ ยื่นของกินให้ถึงห้องคนขับ เกล ฮัลเวอร์เซ็น (Gail Halvorsen) นักบินคนหนึ่ง กล่าวว่า "เขาให้สาวเยอรมันสวย ๆ ที่ยังโสดนั่งอยู่ในนั้น พวกเธอรู้ว่าเราไม่อาจขอออกเดตกับพวกเธอได้ เพราะเราไม่มีเวลา ดังนั้นพวกเธอจึงเป็นมิตรกับเรามาก" ชาวเบอร์ลินยังช่วยลูกเรือเอาของลงจากเครื่องบินโดยจะได้รับอาหารเป็นการตอบแทน ต่อมา ผู้ที่ทา หน้าที่เอาของลงจากเครื่องบินก็เป็นชาวเบอร์ลินเกือบทั้งหมด พอพวกเขาชานาญขึ้นเรื่อย ๆ เวลาที่ใช้ใน การขนของออกก็ลดลงเรื่อย ๆ จนมีครั้งหนึ่งที่ใช้เวลาเอาของ 10 ตันออกจากเครื่องบินซี-45 ภายใน เวลา 10 นาที แต่สถิตินี้ถูกทาลายลงเมื่อลูกเรือ 12 คนเอาของ 10 ตันออกภายในเวลา 5 นาที 45 วินาที สิ้นเดือนกรกฎาคม ปฏิบัติการขนส่งเสบียงก็ประสบความสาเร็จ แต่ละวันมีเครื่องบินทาการขนส่ง เสบียงมากกว่า 1,500 เที่ยว รวมน้าหนักเสบียงทั้งหมด 4,500 ตันต่อวันซึ่งเพียงพอที่จะทาให้ทั้งเมืองอยู่ รอด เครื่องบินซี-47 ทั้งหมดถูกปลดประจาการภายในสิ้นเดือนกันยายน เครื่องบินซี- 54 จานวน 225 ลาปฏิบัติงานแทน โดยขนส่งเสบียงได้ทั้งหมด 5,000 ตันต่อวัน
  • 30. เกล ฮัลเวอร์เซ็น หนึ่งในนักบินที่ปฏิบัติภารกิจขนส่งทางอากาศ ตัดสินใจใช้เวลาว่างของเขาบินไป ยังกรุงเบอร์ลินและใช้กล้องถ่ายวิดีโอของเขาถ่ายภาพยนตร์ เขามาถึงสนามบินเทมเพลโฮฟเมื่อ วันที่ 17 มิถุนายนหลังจากที่ติดมากับเครื่องบินซี-54 ลาหนึ่ง เขาเดินไปหาเด็ก ๆ กลุ่มหนึ่งที่รวมตัว กันอยู่ที่ปลายรันเวย์คอยเฝ้ าดูเครื่องบิน เขาแนะนาตัวเขาให้กับเด็ก ๆ เด็ก ๆ เริ่มถามคาถามเกี่ยวกับ เครื่องบินและการบิน ด้วยความใจดีของเขา เขาจึงยื่นหมากฝรั่งริกลีย์รสดับเบิลมินต์ที่เขามีติดตัว อยู่ 2 อันให้กับเด็ก ๆ และสัญญาว่าถ้าพวกเด็ก ๆ ไม่แย่งกัน คราวหน้าเขาจะเอาหมากฝรั่งมาให้อีก เด็ก ๆ รีบแบ่งหมากฝรั่งออกเป็นชิ้น ๆ ให้ที่ดีสุดเท่าที่พวกเขาทาได้ ก่อนที่เขาจะกลับ เด็กคนหนึ่งถาม เขาว่าพวกเขาจะรู้ได้อย่างไรว่าเครื่องบินลาไหนเป็นของเกล เกลตอบว่าเขาจะ"กระพือปีก" ปฏิบัติการขนส่งเสบียงเล็ก ๆ
  • 31. วันถัดมา เกลขับเครื่องบินไปเบอร์ลินและโปรยช็อกโกแล็ตที่ผูกกับร่มชูชีพผ้าเช็ดหน้าลงมาให้เด็ก ๆ ที่รออยู่ข้างล่าง เด็ก ๆ เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ทุกวัน และเขาก็ปล่อยช็อกโกแล็ตลงมามากขึ้นเรื่อย ๆ ไม่นาน นักก็มีจดหมายกองหนึ่งจ่าหน้ามาถึง "ลุงกระพือปีก" "ลุงช็อกโกแลต" และ "นักบินช็อกโกแลต" ผู้บังคับบัญชาของเขารู้สึกกังวลเมื่อเรื่องนี้ปรากฏเป็นข่าว แต่หลังจากที่พลโททันเนอร์ได้ยินเรื่องนี้ เขาก็ ชมว่ายอดเยี่ยมมากพร้อมทั้งตั้งชื่อให้ว่า "ปฏิบัติการขนส่งเสบียงเล็ก ๆ " (Operation Little Vittles) นักบินคนอื่นก็ร่วมทาเช่นเดียวกัน หลังจากที่ข่าวไปถึงสหรัฐอเมริกาแล้ว เด็ก ๆ จากทั่ว ประเทศต่างก็ส่งลูกกวาดไปช่วย ไม่นานนัก บริษัทขนมหวานใหญ่ ๆ ในอเมริกาก็ส่งลูกกวาดไปช่วย ด้วยเช่นกัน รวมแล้วมีขนมหวานกว่า 3 ตันถูกโปรยลงที่กรุงเบอร์ลิน
  • 32. วันที่ 1 สิงหาคม สหภาพโซเวียตประกาศแจกอาหารฟรีแก่ผู้ที่ข้ามมายังเบอร์ลินฝั่งตะวันออก อย่างไรก็ ตาม มีแค่ไม่กี่คนที่ข้ามไปเพราะรู้ว่าเป็นแผนการหลอกล่อของโซเวียต วันที่ 6 กันยายน ค.ศ. 1948 กลุ่มคอมมิวนิสต์ในเยอรมนีตะวันออกเข้ายึดสภาเทศบาลเมืองเพื่อไม่ให้มี การเลือกตั้งครั้งใหม่ สามวันถัดมา วิทยุในเบอร์ลินตะวันตกเรียกร้องให้ชาวเบอร์ลินตะวันตกไปประท้วง การกระทาของเยอรมนีตะวันออก ประชาชนกว่า 500,000 คนรวมตัวกันที่ประตูบรันเดนบูร์ก (Brandenburg Gate) ในเวลานั้น การขนส่งเสบียงทางอากาศยังคงดาเนินไปอย่างต่อเนื่อง แต่ชาว เบอร์ลินตะวันตกหลายคนเริ่มกลัวว่าประเทศมหาอานาจตะวันตกจะทอดทิ้งพวกเขาให้กับโซเวียต พวกเขา ต้องการแน่ใจว่าการเสียสละของพวกเขาจะไม่สูญเปล่า แอร์นสท์ รอยแทร์ จับไมโครโฟนและกล่าวต่อประชาชนว่า "ชาวโลก ชาวอเมริกัน ชาวอังกฤษ ชาวฝรั่งเศส จงมองมาที่เมืองนี้ และจงจดจาเมืองนี้ ประชาชนที่นี่จะต้องไม่ถูกทอดทิ้ง “พวกเขา ไม่อาจถูกทอดทิ้ง!" ฝูงชนเคลื่อนที่ไปทางตะวันออกและมีคนคนหนึ่งฉีกธงสีแดงลงจากประตู ตารวจโซเวียต จึงฆ่าคนไปหนึ่งคน การตอบโต้จากโซเวียต
  • 33. การเลือกตั้งยังคงมีกาหนดวันที่ 5 ธันวาคม ชาวเบอร์ลินตะวันออกพยายามขัดขวาง แต่หลังจาก ที่ความพยายามของพวกเขาไร้ผล พวกเขาจึงถอนตัวจากการเลือกตั้งและเลือกรัฐบาลของพวกเขาเอง ภายใต้การนาของฟรีดริช เอแบร์ท (Friedrich Ebert) รอยแทร์ชนะการเลือกตั้งอีกครั้ง ทาให้กรุง เบอร์ลินถูกแบ่งเป็นฝั่งตะวันออกกับฝั่งตะวันตกไปโดยปริยาย ทหารคอมมิวนิสต์รีบส่งคนไปคุม บ้านเรือนและถนนในเยอรมนีตะวันออกอย่างรวดเร็ว ตั้งแต่วันที่ 10 สิงหาคม ทหารโซเวียตเริ่มก่อกวนเครื่องบินของฝ่ายตะวันตกด้วยการให้นักบิน ขับเครื่องบินประชิดกับเครื่องบินของฝ่ายตะวันตกและสั่งให้ยิงอากาศบริเวณใกล้เคียง มีครั้งหนึ่งที่ เครื่องบินของโซเวียตบินใกล้กับเครื่องบินของอังกฤษมากจนชนกัน ทาให้มีผู้สูญเสียชีวิต ทั้งหมด 35 คน นอกจากนี้ยังมีการปล่อยบอลลูนขึ้นมาในบริเวณเส้นทางการบิน การยิงปืนต่อต้าน อากาศยานขึ้นมาอย่างสะเปะสะปะ การใช้ไฟส่องเครื่องบิน และการสร้างคลื่นวิทยุปลอมเพื่อหลอกล่อให้ นักบินบินออกเส้นทาง อย่างไรก็ตาม วิธีเหล่านี้ไม่ค่อยได้ผลนัก
  • 34. การขนส่งทางอากาศยังดาเนินไปอย่างต่อเนื่อง เดือนเมษายน ค.ศ. 1949 นายพลทันเนอร์ ต้องการทาลายความซ้าซากจาเจ เขาต้องการสร้างเหตุการณ์ใหญ่ ๆ เพื่อสร้างขวัญกาลังใจให้กับทุก คน เขาตัดสินใจว่า ในวันอีสเตอร์ เขาจะจัดการขนส่งทางอากาศที่มากที่สุด วันนั้นจึงเป็นการขนถ่านหิน ทั้งหมดเพื่อให้ง่ายต่อการขนส่ง และมีการเปลี่ยนแปลงเวลาซ่อมบารุงเครื่องบินเพื่อให้มีเครื่องบิน ปฏิบัติงานได้มากที่สุด พาเหรดวันอีสเตอร์
  • 35. ความสาเร็จอย่างต่อเนื่องของปฏิบัติการขนส่งทางอากาศทาให้สหภาพโซเวียตต้องอับอาย และ "พาเหรดวันอีสเตอร์" ก็เป็นเสมือนฟางเส้นสุดท้าย วันที่ 25เมษายน ค.ศ. 1949 หน่วยข่าวของรัสเซีย รายงานว่าโซเวียตมีความเต็มใจที่จะยกเลิกการปิดกั้น วันต่อมา กระทรวงต่างประเทศของ สหรัฐอเมริกากล่าวว่าหนทางที่จะยกเลิกการปิดกั้นดูชัดเจน ไม่นานหลังจากนั้น ประเทศมหาอานาจทั้ง สี่ได้เผชิญหน้าเจรจากันอย่างเคร่งเครียด หลังจากนั้นจึงได้ข้อยุติ วันที่ 4 พฤษภาคม ฝ่ายพันธมิตร ประกาศว่าจะยกเลิกการปิดกั้นให้เสร็จสิ้นภายในเวลา 8 วัน การปิดกั้นสิ้นสุดลง
  • 36. การปิดกั้นของโซเวียตสิ้นสุดลงภายในหนึ่งนาทีหลังเที่ยงคืนวันที่ 12 พฤษภาคม ค.ศ. 1949 กองทัพรถ ของอังกฤษเคลื่อนตัวเข้าสู่เบอร์ลินในทันที รถไฟขบวนแรกเข้ามาถึงฝั่งตะวันตกเมื่อเวลา 5.32 น. ในวันนั้น ฝูง ชนขนาดมหึมาร่วมแสดงความดีใจที่การปิดกั้นสิ้นสุดลง นายพลเคลย์ผู้ซึ่งได้รับการประกาศการเกษียณจาก ประนาธิบดีทรูแมนเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคมได้รับการสดุดีจากทหารอเมริกันจานวน 11,000 นายและเครื่องบิน อีกจานวนมาก เมื่อเคลย์กลับถึงสหรัฐอเมริกาแล้ว เขาได้รับการเดินขบวนขนาดใหญ่ในนครนิวยอร์ก ได้รับเชิญ ให้กล่าวสุนทรพจน์ในรัฐสภา และได้รับการประดับเหรียญเกียรติยศจากทรูแมนอีกด้วย การขนส่งทางอากาศยังดาเนินต่อไปอีกระยะหนึ่งเพื่อสร้างเสบียงเผื่อไว้ เพื่อว่าหากมีเหตุจาเป็นเกิดขึ้น การขนส่งทางอากาศรอบใหม่จะสามารถเริ่มต้นได้อย่างง่ายดาย วันที่ 24 มิถุนายน ค.ศ. 1949 เสบียงสารองก็ ทาให้ทั้งเมืองอยู่ต่อได้อีก 3 เดือน การขนส่งทางอากาศสิ้นสุดลงอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 30 กันยายน ค.ศ. 1949 หลังจากปฏิบัติงานมา 15 เดือน สหรัฐอเมริกาได้ขนส่งเสบียงทั้งหมด 1,783,573 ตัน อังกฤษ ขนส่งเสบียง 541,937 ตัน รวมทั้งหมด 2,326,406 ตัน ด้วยเที่ยวบินสู่กรุงเบอร์ลินทั้งหมด 278,228 เที่ยว รวมระยะทางการบินทั้งหมดกว่า 92 ล้านไมล์ซึ่งเกือบจะเท่ากับระยะทางจากโลกสู่ดวงอาทิตย์ มีลูกเรือเสียชีวิตระหว่างปฏิบัติภารกิจทั้งหมด 101 คน เป็นนักบินอังกฤษ 39 คน และนักบินอเมริกัน 31 คน ส่วนใหญ่เสียชีวิตจากการชนกัน เครื่องบินของอเมริกา 17 ลาและเครื่องบินของอังกฤษ 8 ลาชน ระหว่างปฏิบัติการ
  • 37. ในปี ค.ศ. 1989 ตรงกับยุคที่ เป็นประธานาธิบดีของสหภาพโซเวียต ได้มีการทดลองการปฏิรูปการ ปกครองไปสู่ระบอบประชาธิปไตย ในเยอรมนีตะวันออกได้มีการชุมนุมประท้วงใหญ่อย่างสงบขึ้นโดยเฉพาะใน เมืองโพสต์ดัม ไลพ์ซิจและเดรสเดน เริ่มต้นในวันที่ 8 ตุลาคม ค.ศ. 1989 และดาเนินเรื่อยมา เป็นเหตุให้รัฐบาล เยอรมนีตะวันออกได้รับความกดดันเป็นอย่างมาก กระทั่งได้มีการประกาศว่า จะเปิดพรมแดนให้ชาวเยอรมัน สามารถเดินทางผ่านแดนได้อย่างอิสระ ในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) ในวันดังกล่าวชาว เยอรมันตะวันออกจานวนมากได้มารวมตัวกัน ณ กาแพงเบอร์ลิน เพื่อข้ามผ่านแดนไปยังเบอร์ลินตะวันตกครั้ง แรกในรอบ 28 ปี จึงถือเอาวันดังกล่าว เป็นวันล่มสลายของกาแพงเบอร์ลิน การล่มสลายของกาแพงเบอร์ลิน
  • 38. เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลงในปี ค.ศ. 1945 เยอรมันแบ่งออกเป็น 4 ส่วน โดยสนธิสัญญา ปอทสดัม (Treaty of Potsdam) มหาอานาจตะวันตก ได้แก่ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ และฝรั่งเศส ครอบครอง 3 ส่วนร่วมกันเรียกว่าเยอรมันตะวันตกและอีกส่วนหนึ่งให้รัสเซียปกครองเรียกว่าเยอรมันตะวันออก เบอร์ลินนครหลวงแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ส่วนที่ถูกยึดครองโดยฝ่ายพันธมิตรตะวันตกเรียกเบอร์ลินตะวันตก ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1948 รัสเซียได้ปิดกั้นเส้นทางคมนาคมทางบกที่ผ่านไปยังเบอร์ลินตะวันตก ทาให้ พันธมิตร 3 ชาติ ไม่สามารถส่งอาหารและสินค้าต่าง ๆ ไปยังเบอร์บินตะวันตกได้ การปิดล้อมครั้งนี้ใช้เวลาเกือบ 1 ปี โดยพันธมิตร 3 ประเทศได้ช่วยกันใช้เครื่องบินลาเลียงสิ่งของ เช่น อาหาร เสื้อผ้า และยารักษาโรคให้แก่ชาวเบอร์ลิน ตะวันตกเหตุการณ์ครั้งนี้เรียกว่าวิกฤตการณ์เบอร์ลิน เดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1949 ฝ่ายรัสเซียยกเลิกการปิดล้อม เบอร์ลินตะวันตก ในปลายปี ค.ศ. 1948 อังกฤษ สหรัฐอเมริกา และฝรั่งเศสได้รวมเขตการปกครองของตนเข้าด้วยกัน เป็นประเทศเอกราชเรียกว่า สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน (เยอรมันตะวันตก) รัสเซียก็สถาปนาเขตที่ตนเองปกครอง เรียกว่า สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมัน (เยอรมันตะวันออก) การขยายอิทธิพลของรัสเซียมาสู่ยุโยปตะวันออกโดยเฉพาะอย่างยิ่ง กรณีวิกฤตการณ์เบอร์ลิน เป็ นผล ทาให้สภาวการณ์เผชิญหน้ากันในสงครามเย็นทวีความตึงเครียดยิ่งขึ้นและการร่วมมือกันของกลุ่มประเทศใน ยุโรปตะวันตกกับสหรัฐอเมริกาและประเทศเสรีประชาธิปไตยก็ร่วมมือกันเพื่อขจัดการแทรกแซงและขยาย อิทธิพลของลัทธิคอมมิวนิสต์กันเป็ นระบบ เช่นสหรัฐอเมริกาได้ร่วมมือกับประเทศโลกเสรีก่อตั้งองค์การ สนธิสัญญาทางทหาร เช่น องค์การนาโต้ องค์การซีโต้ องค์การนานารัฐอเมริกาตลอดรวมถึง การตั้งฐานทัพ สหรัฐอเมริกา ใน เกาหลีใต้ ฟิ ลิปปิ นส์ ไทย และประเทศอื่นอีกหลายประเทศทั่วโลก สรุปวิกฤตการณ์เบอร์ลิน