SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
แผนการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ พ.ศ.2553 – 2557

คณะรัฐมนตรีอนุมัติและเห็นชอบตามที่คณะกรรมการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ
เสนอ ดังนี้

   1. อนุมัติแผนการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ พ.ศ.2553 – 2557

   2. เห็นชอบมอบหมายใหกระทรวง กรม องคกรและหนวยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ จังหวัด
      อําเภอ องคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคเอกชน และภาคสวนอื่นๆ ถือปฏิบัติตามแผนการ
      ปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ และใหจัดทําแผนปฏิบัติการและงบประมาณ
      รองรับแผนดังกลาว

   3. เห็นชอบมอบหมายใหสํานักงบประมาณ หนวยงานทีเ่ กียวของ และองคกรปกครองสวน
                                                       ่
      ทองถิ่นพิจารณาใหความสําคัญเปนลําดับแรกในการจัดสรรงบประมาณเพื่อการปองกัน
      และบรรเทาสาธารณภัย ตั้งแตระยะกอนเกิดภัย ขณะเกิดภัย และการฟนฟูบูรณะภายหลัง
      ภัยสิ้นสุด เพื่อบรรเทาความเดือดรอนของประชาชน และเพื่อใหผูประสบภัยสามารถ
      กลับไปใชชีวตปกติสุขไดโดยเร็ว
                      ิ

   4. เห็นชอบมอบหมายใหหนวยงานระดับกระทรวง จัดทําแผนปฏิบัติการรองรับยุทธศาสตร
      และบรรจุโครงการที่เกี่ยวของกับการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยไวในแผนปฏิบติ         ั
      ราชการประจําป รวมทั้งกําหนดใหเรื่องดังกลาวเปนตัวชี้วัดรวม (Joint KPI) ระหวาง
      หนวยงานดวย


สาระสําคัญของเรื่อง

   1. คณะกรรมการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ (กปภ.ช.) รายงานวา

               1.1 พระราชบัญญัติปองกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550 ซึ่งมีผลบังคับใชเมื่อ
               วันที่ 6 พฤศจิกายน 2550 กําหนดใหกรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัยมีหนาที่
               ในการจัดทําแผนการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ เสนอ กปภ.ช.
               พิจารณาใหความเห็นชอบ กอนเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาอนุมัติ ทั้งนี้ จะตอง
               ดําเนินการจัดทําแผนฯ ใหแลวเสร็จภายในสองปนับแตวันที่พระราชบัญญัติมีผล
               ใชบังคับ (วันที่ 5 พฤศจิกายน 2552) โดย กปภ.ช. ไดประชุมครั้งที่ 1/2552 เมื่อ
               วันที่ 2 กุมภาพันธ 2552 แตงตั้งคณะอนุกรรมการจัดทําแผนการปองกันและ
บรรเทาสาธารณภัยแหงชาติมีหนาที่ในการจัดทําแผนการปองกันและบรรเทาสา
          ธารณภัยแหงชาติ ตามแนวนโยบายที่คณะกรรมการกําหนด ทั้งนี้ กรมปองกันและ
          บรรเทาสาธารณภัยไดจัดสัมมนาระดมความคิดเห็นจากภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ มูลนิธิ
          อาสาสมัครองคกรปกครองสวนทองถิ่น หนวยงานองคการระหวางประเทศและ
          เครือขาย เพื่อรับฟงความคิดเห็นและขอเสนอแนะตอรางแผนการปองกันและ
          บรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ พ.ศ.2553 – 2557

          1.2 คณะอนุกรรมการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติไดประชุมพิจารณา
          เนื้อหารางแผนการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ พ.ศ.2553 – 2557 ครั้ง
          ที่ 1/2552 เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2552 และมีมติเห็นชอบรางแผนฯ ดังกลาว ซึ่ง
          กปภ.ช. ไดประชุมพิจารณารางแผนการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ
          พ.ศ.2553 – 2557 ในคราวประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 10 กันยายน 2552 มีมติ
          เห็นชอบในหลักการของรางแผนฯ ดังกลาว แตขอใหคณะอนุกรรมการจัดทํา
          แผนการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ พิจารณาเพิ่มเติมรายละเอียดของ
          รางแผนฯ เพื่อใหมีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น พรอมทั้งการพิจารณาขอมติ
          คณะรัฐมนตรีในการขับเคลือนแผนไปสูการปฏิบัติ และคณะอนุกรรมการจัดทํา
                                         ่
          แผนการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติไดประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่
          21 กันยายน 2552 มีมติใหนารางแผนการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ
                                           ํ
          พ.ศ.2553 – 2557 พรอมทั้งคําขอมติคณะรัฐมนตรีเสนอ กปภ.ช. พิจารณาอีกครั้ง
          โดย กปภ.ช. ไดมีมติเห็นชอบกับรางแผนการปองกันและบรรเทาสาธารณภัย
          แหงชาติ พ.ศ.2553 – 2557 และการขอมติคณะรัฐมนตรีในการขับเคลือนแผนไปสู
                                                                             ่
          การปฏิบัติในคราวการประชุม ครั้งที่ 3/2552 เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2552

2. แผนการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ พ.ศ.2553 – 2557 มีเนื้อหาประกอบดวย 3
   สวน ไดแก หลักการปองกันและบรรเทาสาธารณภัย กระบวนการปองกันและบรรเทาสา
   ธารณภัย และกระบวนการปองกันและภัยดานความมันคง สรุปไดดังนี้
                                                ่

          สวนที่ 1 วาดวยหลักการปองกันและบรรเทาสาธารณภัย โดยมีขอบเขตของสา
          ธารณภัย มี 2 ดาน ไดแก ดานสาธารณภัย และดานความมั่นคง

                  ดานสาธารณภัย กําหนดไว 14 ประเภทภัย ดังนี้ 1) อุทกภัย และดินโคลน
                  ถลม 2) ภัยจากพายุหมุนเขตรอน 3) ภัยจากอัคคีภัย 4) ภัยจากสารเคมีและ
                  วัตถุอันตราย 5) ภัยจากการคมนาคมและขนสง 6) ภัยแลง 7) ภัยจาก
อากาศหนาว 8) ภัยจากไฟปาและหมอกควัน 9) ภัยจากแผนดินไหว และ
       อาคารถลม 10) ภัยจากคลื่นสึนามิ 11) ภัยจากโรคระบาดในมนุษย 12) ภัย
       จากโรค แมลง สัตว ศัตรูพืชระบาด 13) ภัยจากโรคระบาดสัตว และสัตว
       น้ํา 14) ภัยจากเทคโนโลยีสารสนเทศ

       ดานความมันคง กําหนดไว 4 ประเภทภัย ดังนี้ 1) การปองกันและระงับ
                 ่
       การกอวินาศกรรม 2) การปองกันและบรรเทาภัยจากทุนระเบิดกับระเบิด
                                                        
       3) การปองกันและบรรเทาภัยทางอากาศ 4) การปองกันและระงับการ
       ชุมนุมประทวงและกอการจลาจล


ทั้งนี้ แหลงงบประมาณ ประกอบดวย

       - งบประมาณดําเนินการตามยุทธศาสตร คือ

               (1) งบประมาณปกติของหนวยงานสวนกลาง

               (2) งบประมาณจังหวัดและงบประมาณของกลุมจังหวัด

               (3) งบประมาณขององคกรปกครองสวนทองถิ่น


       - งบประมาณดําเนินการตามยุทธศาสตรการบริหารจัดการในภาวะ
       ฉุกเฉิน และการจัดการหลังเกิดภัย คือ

               (1) งบประมาณเพื่อชวยเหลือผูประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน

               (2) งบกลาง


นอกจากนี้ การขับเคลื่อนแผนไปสูการปฏิบัติ มี กปภ.ช. กํากับดูแลระดับประเทศ
และแตงตั้ง “คณะอนุกรรมการประสานการขับเคลื่อนยุทธศาสตรการปองกันและ
บรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ” เพื่อทําหนาทีประสานการขับเคลื่อนตามแผนการ
                                       ่
ปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ
สวนที่ 2 วาดวยกระบวนการปองกันและบรรเทาสาธารณภัย กําหนดขอบเขตการ
บริหารจัดการสาธารณภัยไว 14 ประเภทภัย ทั้งในเขตจังหวัดและ
กรุงเทพมหานคร โดยระบุหนวยปฏิบัติการหลัก หนวยปฏิบัติการ หนวย
สนับสนุน หนวยบรรเทาทุกขและฟนฟูอยางชัดเจน ดังนี้

       ในระดับจังหวัด มีผูวาราชการจังหวัดรับผิดชอบ หากเกินขีด
       ความสามารถ ใหรายงานขอรับการสนับสนุนจากผูอํานวยการกลาง หรือ
       ผูบัญชาการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ และในกรณีเกิดสา
       ธารณภัยรายแรงอยางยิ่ง เปนอํานาจของนายกรัฐมนตรี

       ในระดับกรุงเทพมหานคร มีผูวาราชการกรุงเทพมหานครรับผิดชอบ หาก
       เกินขีดความสามารถ ใหรายงานขอรับการสนับสนุนจากผูอํานวยการ
       กลาง หรือผูบัญชาการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ และใน
       กรณีเกิดสาธารณภัยรายแรงอยางยิ่ง เปนอํานาจของนายกรัฐมนตรี


สวนที่ 3 วาดวยกระบวนการปองกันและบรรเทาภัยดานความมั่นคง และภัยดาน
ความมั่นคง 4 ประเภท ทั้งในเขตจังหวัดกรุงเทพมหานคร กําหนดขอบเขตการ
บริหารจัดการโดยระบุหนวยปฏิบัติการหลัก หนวยปฏิบัติการ หนวยสนับสนุน
หนวยบรรเทาทุกขและฟนฟูอยางชัดเจน เชนเดียวกับสวนที่ 2
                       

                                                     Updated : 17/11/2552
                                                           เรียบเรียงจาก :
                                                 http://www.thaigov.go.th/

More Related Content

What's hot

ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนพ.ศ.2553
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนพ.ศ.2553ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนพ.ศ.2553
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนพ.ศ.2553อินทนนท์ พูลทอง
 
งานนำเสนองานป้องกันฯ 26 05- 60
งานนำเสนองานป้องกันฯ 26 05- 60งานนำเสนองานป้องกันฯ 26 05- 60
งานนำเสนองานป้องกันฯ 26 05- 60gel2onimal
 
คณะกรรมการและกลไกการปฏิบัติงานฟื้นฟูเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัย
คณะกรรมการและกลไกการปฏิบัติงานฟื้นฟูเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัยคณะกรรมการและกลไกการปฏิบัติงานฟื้นฟูเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัย
คณะกรรมการและกลไกการปฏิบัติงานฟื้นฟูเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัยPoramate Minsiri
 
TAEM11: การจัดการภัยพิบัติระดับพื้นที่
TAEM11: การจัดการภัยพิบัติระดับพื้นที่TAEM11: การจัดการภัยพิบัติระดับพื้นที่
TAEM11: การจัดการภัยพิบัติระดับพื้นที่taem
 
สรุประเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการพัสดุของหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ...
สรุประเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการพัสดุของหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ...สรุประเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการพัสดุของหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ...
สรุประเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการพัสดุของหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ...ประพันธ์ เวารัมย์
 
TAEM11: การบริหารจัดการภัยพิบัติ ระดับชาติ
TAEM11: การบริหารจัดการภัยพิบัติ ระดับชาติTAEM11: การบริหารจัดการภัยพิบัติ ระดับชาติ
TAEM11: การบริหารจัดการภัยพิบัติ ระดับชาติtaem
 

What's hot (7)

ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนพ.ศ.2553
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนพ.ศ.2553ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนพ.ศ.2553
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนพ.ศ.2553
 
งานนำเสนองานป้องกันฯ 26 05- 60
งานนำเสนองานป้องกันฯ 26 05- 60งานนำเสนองานป้องกันฯ 26 05- 60
งานนำเสนองานป้องกันฯ 26 05- 60
 
คณะกรรมการและกลไกการปฏิบัติงานฟื้นฟูเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัย
คณะกรรมการและกลไกการปฏิบัติงานฟื้นฟูเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัยคณะกรรมการและกลไกการปฏิบัติงานฟื้นฟูเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัย
คณะกรรมการและกลไกการปฏิบัติงานฟื้นฟูเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัย
 
TAEM11: การจัดการภัยพิบัติระดับพื้นที่
TAEM11: การจัดการภัยพิบัติระดับพื้นที่TAEM11: การจัดการภัยพิบัติระดับพื้นที่
TAEM11: การจัดการภัยพิบัติระดับพื้นที่
 
การป้องกันภัยจากสึนามิ
การป้องกันภัยจากสึนามิการป้องกันภัยจากสึนามิ
การป้องกันภัยจากสึนามิ
 
สรุประเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการพัสดุของหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ...
สรุประเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการพัสดุของหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ...สรุประเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการพัสดุของหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ...
สรุประเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการพัสดุของหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ...
 
TAEM11: การบริหารจัดการภัยพิบัติ ระดับชาติ
TAEM11: การบริหารจัดการภัยพิบัติ ระดับชาติTAEM11: การบริหารจัดการภัยพิบัติ ระดับชาติ
TAEM11: การบริหารจัดการภัยพิบัติ ระดับชาติ
 

Similar to แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พศ2553 – 2557

การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...
การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...
การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...Poramate Minsiri
 
การจัดทำแผนดับเพลิง
การจัดทำแผนดับเพลิงการจัดทำแผนดับเพลิง
การจัดทำแผนดับเพลิง9tong30
 
การขนส่งและประกันภัย
การขนส่งและประกันภัยการขนส่งและประกันภัย
การขนส่งและประกันภัยonchuda
 
งานนำเสนองานป้องกันฯ ปี 61
งานนำเสนองานป้องกันฯ ปี 61งานนำเสนองานป้องกันฯ ปี 61
งานนำเสนองานป้องกันฯ ปี 61yahapop
 
พรบ.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 2550
พรบ.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 2550พรบ.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 2550
พรบ.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 2550Poramate Minsiri
 
การประชุมCop28 การแก้ปัญหาภาวะโลกร้อนที่เกิดขึ้น
การประชุมCop28 การแก้ปัญหาภาวะโลกร้อนที่เกิดขึ้นการประชุมCop28 การแก้ปัญหาภาวะโลกร้อนที่เกิดขึ้น
การประชุมCop28 การแก้ปัญหาภาวะโลกร้อนที่เกิดขึ้นThanawatPengra
 

Similar to แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พศ2553 – 2557 (7)

การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...
การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...
การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...
 
การจัดทำแผนดับเพลิง
การจัดทำแผนดับเพลิงการจัดทำแผนดับเพลิง
การจัดทำแผนดับเพลิง
 
การขนส่งและประกันภัย
การขนส่งและประกันภัยการขนส่งและประกันภัย
การขนส่งและประกันภัย
 
งานนำเสนองานป้องกันฯ ปี 61
งานนำเสนองานป้องกันฯ ปี 61งานนำเสนองานป้องกันฯ ปี 61
งานนำเสนองานป้องกันฯ ปี 61
 
พรบ.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 2550
พรบ.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 2550พรบ.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 2550
พรบ.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 2550
 
การประชุมCop28 การแก้ปัญหาภาวะโลกร้อนที่เกิดขึ้น
การประชุมCop28 การแก้ปัญหาภาวะโลกร้อนที่เกิดขึ้นการประชุมCop28 การแก้ปัญหาภาวะโลกร้อนที่เกิดขึ้น
การประชุมCop28 การแก้ปัญหาภาวะโลกร้อนที่เกิดขึ้น
 
นส.ประชาสัมพันธ์ (Up09.08.59)
นส.ประชาสัมพันธ์ (Up09.08.59)นส.ประชาสัมพันธ์ (Up09.08.59)
นส.ประชาสัมพันธ์ (Up09.08.59)
 

More from Poramate Minsiri

แนวคิด RNN Open Platform
แนวคิด RNN Open Platformแนวคิด RNN Open Platform
แนวคิด RNN Open PlatformPoramate Minsiri
 
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมืองทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมืองPoramate Minsiri
 
สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.
สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.
สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.Poramate Minsiri
 
นิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิริ
นิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิรินิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิริ
นิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิริPoramate Minsiri
 
Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2
Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2
Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2Poramate Minsiri
 
อาสาสู้Flood
อาสาสู้Floodอาสาสู้Flood
อาสาสู้FloodPoramate Minsiri
 
คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่Poramate Minsiri
 
ต้นคิด ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
ต้นคิด   ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่ต้นคิด   ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
ต้นคิด ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่Poramate Minsiri
 
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้น
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้นถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้น
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้นPoramate Minsiri
 
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหวคู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหวPoramate Minsiri
 
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชน
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชนคู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชน
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชนPoramate Minsiri
 
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วมวิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วมPoramate Minsiri
 
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลดคู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลดPoramate Minsiri
 
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราวแนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราวPoramate Minsiri
 
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11Poramate Minsiri
 
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่ง
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่งเตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่ง
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่งPoramate Minsiri
 
เอกสารแนะนำ Thaiflood
เอกสารแนะนำ Thaifloodเอกสารแนะนำ Thaiflood
เอกสารแนะนำ ThaifloodPoramate Minsiri
 
ใบสมัครสมาชิก Thaiflood
ใบสมัครสมาชิก Thaifloodใบสมัครสมาชิก Thaiflood
ใบสมัครสมาชิก ThaifloodPoramate Minsiri
 
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้า
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้าคำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้า
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้าPoramate Minsiri
 
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรคคำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรคPoramate Minsiri
 

More from Poramate Minsiri (20)

แนวคิด RNN Open Platform
แนวคิด RNN Open Platformแนวคิด RNN Open Platform
แนวคิด RNN Open Platform
 
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมืองทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
 
สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.
สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.
สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.
 
นิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิริ
นิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิรินิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิริ
นิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิริ
 
Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2
Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2
Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2
 
อาสาสู้Flood
อาสาสู้Floodอาสาสู้Flood
อาสาสู้Flood
 
คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
 
ต้นคิด ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
ต้นคิด   ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่ต้นคิด   ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
ต้นคิด ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
 
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้น
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้นถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้น
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้น
 
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหวคู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
 
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชน
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชนคู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชน
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชน
 
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วมวิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
 
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลดคู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
 
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราวแนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว
 
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11
 
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่ง
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่งเตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่ง
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่ง
 
เอกสารแนะนำ Thaiflood
เอกสารแนะนำ Thaifloodเอกสารแนะนำ Thaiflood
เอกสารแนะนำ Thaiflood
 
ใบสมัครสมาชิก Thaiflood
ใบสมัครสมาชิก Thaifloodใบสมัครสมาชิก Thaiflood
ใบสมัครสมาชิก Thaiflood
 
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้า
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้าคำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้า
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้า
 
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรคคำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค
 

แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พศ2553 – 2557

  • 1. แผนการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ พ.ศ.2553 – 2557 คณะรัฐมนตรีอนุมัติและเห็นชอบตามที่คณะกรรมการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ เสนอ ดังนี้ 1. อนุมัติแผนการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ พ.ศ.2553 – 2557 2. เห็นชอบมอบหมายใหกระทรวง กรม องคกรและหนวยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ จังหวัด อําเภอ องคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคเอกชน และภาคสวนอื่นๆ ถือปฏิบัติตามแผนการ ปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ และใหจัดทําแผนปฏิบัติการและงบประมาณ รองรับแผนดังกลาว 3. เห็นชอบมอบหมายใหสํานักงบประมาณ หนวยงานทีเ่ กียวของ และองคกรปกครองสวน ่ ทองถิ่นพิจารณาใหความสําคัญเปนลําดับแรกในการจัดสรรงบประมาณเพื่อการปองกัน และบรรเทาสาธารณภัย ตั้งแตระยะกอนเกิดภัย ขณะเกิดภัย และการฟนฟูบูรณะภายหลัง ภัยสิ้นสุด เพื่อบรรเทาความเดือดรอนของประชาชน และเพื่อใหผูประสบภัยสามารถ กลับไปใชชีวตปกติสุขไดโดยเร็ว ิ 4. เห็นชอบมอบหมายใหหนวยงานระดับกระทรวง จัดทําแผนปฏิบัติการรองรับยุทธศาสตร และบรรจุโครงการที่เกี่ยวของกับการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยไวในแผนปฏิบติ ั ราชการประจําป รวมทั้งกําหนดใหเรื่องดังกลาวเปนตัวชี้วัดรวม (Joint KPI) ระหวาง หนวยงานดวย สาระสําคัญของเรื่อง 1. คณะกรรมการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ (กปภ.ช.) รายงานวา 1.1 พระราชบัญญัติปองกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550 ซึ่งมีผลบังคับใชเมื่อ วันที่ 6 พฤศจิกายน 2550 กําหนดใหกรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัยมีหนาที่ ในการจัดทําแผนการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ เสนอ กปภ.ช. พิจารณาใหความเห็นชอบ กอนเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาอนุมัติ ทั้งนี้ จะตอง ดําเนินการจัดทําแผนฯ ใหแลวเสร็จภายในสองปนับแตวันที่พระราชบัญญัติมีผล ใชบังคับ (วันที่ 5 พฤศจิกายน 2552) โดย กปภ.ช. ไดประชุมครั้งที่ 1/2552 เมื่อ วันที่ 2 กุมภาพันธ 2552 แตงตั้งคณะอนุกรรมการจัดทําแผนการปองกันและ
  • 2. บรรเทาสาธารณภัยแหงชาติมีหนาที่ในการจัดทําแผนการปองกันและบรรเทาสา ธารณภัยแหงชาติ ตามแนวนโยบายที่คณะกรรมการกําหนด ทั้งนี้ กรมปองกันและ บรรเทาสาธารณภัยไดจัดสัมมนาระดมความคิดเห็นจากภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ มูลนิธิ อาสาสมัครองคกรปกครองสวนทองถิ่น หนวยงานองคการระหวางประเทศและ เครือขาย เพื่อรับฟงความคิดเห็นและขอเสนอแนะตอรางแผนการปองกันและ บรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ พ.ศ.2553 – 2557 1.2 คณะอนุกรรมการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติไดประชุมพิจารณา เนื้อหารางแผนการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ พ.ศ.2553 – 2557 ครั้ง ที่ 1/2552 เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2552 และมีมติเห็นชอบรางแผนฯ ดังกลาว ซึ่ง กปภ.ช. ไดประชุมพิจารณารางแผนการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ พ.ศ.2553 – 2557 ในคราวประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 10 กันยายน 2552 มีมติ เห็นชอบในหลักการของรางแผนฯ ดังกลาว แตขอใหคณะอนุกรรมการจัดทํา แผนการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ พิจารณาเพิ่มเติมรายละเอียดของ รางแผนฯ เพื่อใหมีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น พรอมทั้งการพิจารณาขอมติ คณะรัฐมนตรีในการขับเคลือนแผนไปสูการปฏิบัติ และคณะอนุกรรมการจัดทํา ่ แผนการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติไดประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 21 กันยายน 2552 มีมติใหนารางแผนการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ ํ พ.ศ.2553 – 2557 พรอมทั้งคําขอมติคณะรัฐมนตรีเสนอ กปภ.ช. พิจารณาอีกครั้ง โดย กปภ.ช. ไดมีมติเห็นชอบกับรางแผนการปองกันและบรรเทาสาธารณภัย แหงชาติ พ.ศ.2553 – 2557 และการขอมติคณะรัฐมนตรีในการขับเคลือนแผนไปสู ่ การปฏิบัติในคราวการประชุม ครั้งที่ 3/2552 เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2552 2. แผนการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ พ.ศ.2553 – 2557 มีเนื้อหาประกอบดวย 3 สวน ไดแก หลักการปองกันและบรรเทาสาธารณภัย กระบวนการปองกันและบรรเทาสา ธารณภัย และกระบวนการปองกันและภัยดานความมันคง สรุปไดดังนี้ ่ สวนที่ 1 วาดวยหลักการปองกันและบรรเทาสาธารณภัย โดยมีขอบเขตของสา ธารณภัย มี 2 ดาน ไดแก ดานสาธารณภัย และดานความมั่นคง ดานสาธารณภัย กําหนดไว 14 ประเภทภัย ดังนี้ 1) อุทกภัย และดินโคลน ถลม 2) ภัยจากพายุหมุนเขตรอน 3) ภัยจากอัคคีภัย 4) ภัยจากสารเคมีและ วัตถุอันตราย 5) ภัยจากการคมนาคมและขนสง 6) ภัยแลง 7) ภัยจาก
  • 3. อากาศหนาว 8) ภัยจากไฟปาและหมอกควัน 9) ภัยจากแผนดินไหว และ อาคารถลม 10) ภัยจากคลื่นสึนามิ 11) ภัยจากโรคระบาดในมนุษย 12) ภัย จากโรค แมลง สัตว ศัตรูพืชระบาด 13) ภัยจากโรคระบาดสัตว และสัตว น้ํา 14) ภัยจากเทคโนโลยีสารสนเทศ ดานความมันคง กําหนดไว 4 ประเภทภัย ดังนี้ 1) การปองกันและระงับ ่ การกอวินาศกรรม 2) การปองกันและบรรเทาภัยจากทุนระเบิดกับระเบิด  3) การปองกันและบรรเทาภัยทางอากาศ 4) การปองกันและระงับการ ชุมนุมประทวงและกอการจลาจล ทั้งนี้ แหลงงบประมาณ ประกอบดวย - งบประมาณดําเนินการตามยุทธศาสตร คือ (1) งบประมาณปกติของหนวยงานสวนกลาง (2) งบประมาณจังหวัดและงบประมาณของกลุมจังหวัด (3) งบประมาณขององคกรปกครองสวนทองถิ่น - งบประมาณดําเนินการตามยุทธศาสตรการบริหารจัดการในภาวะ ฉุกเฉิน และการจัดการหลังเกิดภัย คือ (1) งบประมาณเพื่อชวยเหลือผูประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (2) งบกลาง นอกจากนี้ การขับเคลื่อนแผนไปสูการปฏิบัติ มี กปภ.ช. กํากับดูแลระดับประเทศ และแตงตั้ง “คณะอนุกรรมการประสานการขับเคลื่อนยุทธศาสตรการปองกันและ บรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ” เพื่อทําหนาทีประสานการขับเคลื่อนตามแผนการ ่ ปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ
  • 4. สวนที่ 2 วาดวยกระบวนการปองกันและบรรเทาสาธารณภัย กําหนดขอบเขตการ บริหารจัดการสาธารณภัยไว 14 ประเภทภัย ทั้งในเขตจังหวัดและ กรุงเทพมหานคร โดยระบุหนวยปฏิบัติการหลัก หนวยปฏิบัติการ หนวย สนับสนุน หนวยบรรเทาทุกขและฟนฟูอยางชัดเจน ดังนี้ ในระดับจังหวัด มีผูวาราชการจังหวัดรับผิดชอบ หากเกินขีด ความสามารถ ใหรายงานขอรับการสนับสนุนจากผูอํานวยการกลาง หรือ ผูบัญชาการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ และในกรณีเกิดสา ธารณภัยรายแรงอยางยิ่ง เปนอํานาจของนายกรัฐมนตรี ในระดับกรุงเทพมหานคร มีผูวาราชการกรุงเทพมหานครรับผิดชอบ หาก เกินขีดความสามารถ ใหรายงานขอรับการสนับสนุนจากผูอํานวยการ กลาง หรือผูบัญชาการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ และใน กรณีเกิดสาธารณภัยรายแรงอยางยิ่ง เปนอํานาจของนายกรัฐมนตรี สวนที่ 3 วาดวยกระบวนการปองกันและบรรเทาภัยดานความมั่นคง และภัยดาน ความมั่นคง 4 ประเภท ทั้งในเขตจังหวัดกรุงเทพมหานคร กําหนดขอบเขตการ บริหารจัดการโดยระบุหนวยปฏิบัติการหลัก หนวยปฏิบัติการ หนวยสนับสนุน หนวยบรรเทาทุกขและฟนฟูอยางชัดเจน เชนเดียวกับสวนที่ 2  Updated : 17/11/2552 เรียบเรียงจาก : http://www.thaigov.go.th/