SlideShare a Scribd company logo
KBank FX & Rates Strategies                                                                                 Economics /
                                                                                                                FX / Rates
    จีนกับการเริมตนกระบวนการปรับสมดุลทางเศรษฐกิจ
                ่                                                                                               22 December


                                                                                                                Warunee Sithithaworn
      ตลาดการเงินไดรับแรงกดดันอยางตอเนื่องจากความกังวลเกี่ยวกับการคุมเขม                                   warunee.si @kasikornbank.com
      นโยบายการเงินของจีน
      ในช ว งที่ ผ า นมาธนาคารกลางจี น มี ก ารปรั บ เพิ่ ม เพดานการกั น สํ า รองของ
      ธนาคารพาณิชย (RRR) ถึง 6 ครั้งในรอบปนี้ รวมทั้งการปรับเพิ่มอัตราดอกเบี้ย
      นโยบายในชวงเดือนต.ค.ที่ผานมา
      อัตราเงินเฟอที่เรงตัวขึ้นแตะระดับสูงสุดในรอบ 28 เดือน ประกอบกับกระแส
      เงิน ทุ น จากต า งประเทศจํ า นวนมากที่ไ หลเขา ประเทศ สร า งความกัง วลตอ ผู
      กําหนดนโยบายของจีน
      อัตราดอกเบี้ยแทจริงในระดับติดลบ เปนอีกปจจัยที่กระตุนใหครัวเรือนมองหา
      แหลงลงทุนอื่นๆ อาทิ การลงทุนในตลาดหุนและตลาดอสังหาริมทรัพย ซึ่งให
      ผลตอบแทนที่ดีกวา
      ตลาดลวงหนาคาดการณวา ธนาคารกลางจีนจะมีการปรับเพดานการกันสํารอง
      ของธนาคารพาณิ ช ย ขึ้น อี ก รวมทั้ ง มี โ อกาสที่ จ ะเห็ น อั ต ราดอกเบี้ ย นโยบาย
      ปรับตัวสูงขึ้น
      อยางไรก็ดีการดําเนินนโยบายการเงินในชวงตอไป ทางการจีนตองรักษาสมดุล
      ทางเศรษฐกิ จ มากขึ้ น ในภาวะที่ เ ศรษฐกิ จ จํ า เป น ต อ งพึ่ ง พาเศรษฐกิ จ
      ภายในประเทศมากขึ้น

ตลาดการเงินไดรบแรงกดดันจากการคุมเขมการเงินของจีน
               ั

            ตลาดหุ น จี น เริ่มตน สั ป ดาหไ มสดใสนั ก โดยดัชนี ตลาดหุน ปรับ ตั วลงนําตลาดหุน อื่น ๆ ใน
ภูมิภาค โดยดิ่งลงเกือบ 3% ในชวงแรกของการซื้อขายกอนฟนตัวขึ้นในชวงทายตลาด แมสวนหนึ่งเปน
ผลกระทบจากสถานการณที่ตึงเครียดมากขึ้นบนคาบสมุทรเกาหลีหลังจากทางการเกาหลีใตประกาศจะ
ซอมรบโดยใชกระสุนจริง ขณะที่เกาหลีเหนือขูจะมีการตอบโตหากการซอมรบเกิดขึ้นจริง ซึ่งความขัดแยง
ดังกลาวฉุดใหตลาดหุนเอเชียตางปรับตัวลงในวันทําการแรกของสัปดาห แตอีกสาเหตุที่ทําใหตลาดหุน
จีนดิ่งลงในระดับที่แรงกวาตลาดหุนอื่นๆ ในเอเชีย เปนผลความกังวลเกี่ยวกับสภาพคลองในระบบที่มี
แนวโนมตึงตัวขึ้นในชวงปลายป และผลกระทบจากมาตรการเพิ่มสํารองของธนาคารพาณิชยที่ธนาคาร
กลางจีน (PBOC) ประกาศไปเมื่อวันที่ 10 ธ.ค. ที่ผานมา ซึ่งเริ่มมีผลบังคับใชในวันจันทรที่ 20 ธ.ค.โดย
เปนการเพิ่มการกันสํารองอีก 0.50% สงผลใหอัตราการกันสํารองของธนาคารพาณิชยขนาดใหญและ

11

1
ธนาคารพาณิชยขนาดเล็กขยับขึ้นไปอยูที่18.5% และ 16.5% ซึ่งเปนระดับสูงที่สุดเปนประวัติการณใน
 ระบบธนาคารพาณิชยของจีน

 ทางการจีนแตะเบรกความรอนแรงทางเศรษฐกิจ

                  การฟนตัวขึ้นอยางตอเนื่องของเศรษฐกิจจีน รวมทั้งสัญญาณการเกิดฟองสบูในตลาดหุน
 และตลาดที่อยูอาศัยภายในประเทศทําใหทางการเริ่มปรับเปลี่ยนนโยบายการเงินไปสูเชิงเขมงวดมากขึ้น
 โดยนับจากชวงตนป ธนาคารกลางจีน (PBOC) มีการประกาศเพิ่มเพดานการกันสํารองของธนาคาร
 พาณิชย (Reserve Requirement Ratio: RRR) ขึ้นอยางตอเนื่องในชวงครึ่งแรกของป รวมทั้งมีการควบคุม
 ความรอนแรงในตลาดอสังหาริมทรัพย โดยการควบคุมการปลอยสินเชื่อ ซึ่ งประกอบดวยการกําหนด
 การวางเงินดาวนที่สูงขึ้นและเงื่อนไขการพิจารณาการปลอยสินเชื่อที่เขมงวดมากขึ้น
                  อยางไรก็ดี การดําเนินการในชวงที่ผานมา ดูเหมือนยังไมมีประสิทธิผลมากนัก เห็นไดจาก
 ตัวเลขการปลอยกูที่ยังคงเพิ่มสูงขึ้น ที่สําคัญความกังวลเกี่ยวกับการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น
 พรอมๆ การพุงขึ้นของราคาอาหาร คาจางแรงงานและราคาอสังหาริมทรัพย ทําใหทางการจีนตองมีการ
 ปรับเปลี่ยนนโยบายการเงินเพื่อดูแลใหเศรษฐกิจมีการเติบโตในระดับที่เหมาะสมและมีคุณภาพมากขึ้น
                  โดยในชวงไตรมาสสุดทายของป 2553 ทางการจีนมีการประกาศเพิ่มการสํารองเงินฝากของ
 ธนาคารพาณิชยขึ้นถึง 3 ครั้ง สงผลใหอัตราการกันสํารองของธนาคารพาณิชยขนาดใหญขยับขึ้นไปที่
 ระดับ 18.5% จาก 15.5% ในชวงตนป และธนาคารพาณิชยขนาดเล็กขยับขึ้นไปที่16.5% จาก13.5%
 ในชวงตนป และเปนระดับสูงที่สุดเปนประวัติการณในระบบธนาคารพาณิชยของจีน ที่สําคัญในเดือนต.ค.
 ทางการจีนยังมีการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยกูยืมระยะ 1 ป ซึ่งเปนระดับอางอิงสูระดับ 5.56 % จาก 5.31%
 ซึ่ ง ถือ เปน การปรับ ขึ้น อั ต ราดอกเบี้ยนโยบายเป นครั้ง แรกในรอบ 2 ป การดํา เนิน การดังกล า วสะทอ น
 ความกังวลเกี่ยวกับแรงกดดันเงินเฟอที่เรงตัวขึ้นมากในปจจุบัน ขณะเดียวกับประกาศเพิ่มอัตราดอกเบี้ย
 เงินฝากออมทรัพยขึ้นไปที่ 2.5% จาก 2.25% ซึ่งอาจสงผลดีในแงของการชดเชยความมั่งคั่งใหกับผูฝาก
 เงิน แตอาจยังไมแรงพอที่จะสกัดการพุงขึ้นของเงินเฟอ

รูปที่ 1 : ทางการจีนปรับเพิ่มเพดานเงินสํารองธนาคารพาณิชยอยางตอเนื่อง                รูปที่ 2 : ธนาคารกลางจีนมีการปรับเพิ่มอัตราดอกเบี้ยนโยบาย
        %                      China reserve requirement                                   %                            Asia policy rate
   20                                                                                    14
   19                                                                                    12
   18                                                                                    10
   17                                                                                     8
   16
                                                                                          6
   15
                                                                                          4
   14
                                                                                          2
   13
   12                                                                                     0
    Dec-08   Mar-09   Jun-09   Sep-09   Dec-09    Mar-10    Jun-10   Sep-10   Dec-10      Jun-06   Dec-06 Jun-07 Dec-07 Jun-08    Dec-08 Jun-09   Dec-09 Jun-10     Dec-10
                                                                                                               China               India                Indonesia
                               Major Bank        Smaller Bank                                                  Malaysia            Taiwan               Thailand

Source: Bloomberg, KBank                                                               Source: Bloomberg, Kbank




 22

 2
สภาพคลองสูง เงินเฟอพุง...สรางความกังวลแกผูกําหนดนโยบาย

              ในชวงที่ผานมา เศรษฐกิจจีนไดรับผลกระทบจากการถดถอยของเศรษฐกิจโลกเชนเดียวกับ
 ประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคเอเชีย โดยเศรษฐกิจมีการชะลอตัวลงอยางชัดเจน เห็นไดจากผลิตภัณฑมวลรวม
 ในประเทศหรือ GDP ที่ขยายตัวราว 8% ในชวงครึ่งหลังของป 2008 เทียบกับที่เคยขยายตัวเหนือระดับ
 10% ในชวง 10 ที่ผานมา กอนที่เศรษฐกิจจะเริ่มฟนตัวขึ้นเปนลําดับในชวงครึ่งหลังของป 2009 ตามการ
 ฟนตัวทางของเศรษฐกิจโลกและแรงหนุนจากมาตรการกระตุนเศรษฐกิจของภาครัฐที่ชวยใหเศรษฐกิจ
 ของจีนฟนตัวขึ้นอยางรวดเร็ว โดยเศรษฐกิจสามารถกลับมาขยายตัวในเหนือระดับ 10% อีกครั้งนับจาก
 ชวงไตรมาสสุดทายของป 2009 เปนตนมา
              การฟนตัวอยางรวดเร็วของเศรษฐกิจจีน นอกจากเปนการสะทอนถึงพื้นฐานทางเศรษฐกิจ
 ของประเทศที่คอนขางแข็งแกรง โดยเฉพาะในแงของการเปนประเทศผูถือครองเงินทุนสํารองระหวาง
 ประเทศเปนอันดับหนึ่งของโลกแลว การที่จีนสามารถแซงหนาญี่ปุนขึ้นไปยืนเปนเศรษฐกิจที่มีขนาดใหญ
 เปนอันดับสองของโลก ยังทําใหเศรษฐกิจจีนมีความโดดเดน โดยเฉพาะหากเทียบกับประเทศแกนหลัก
 อื่นๆ ทั้งสหรัฐฯ ที่การฟนตัวทางเศรษฐกิจยังมีความลาชา เศรษฐกิจยุโรปที่ยังวนเวียนอยูกับการแกปญหา
 หนี้สินของประเทศสมาชิก รวมไปถึงเศรษฐกิจญี่ปุนที่อยูในภาวะซึมเซาตอเนื่องในชวงกวา 10 ปที่ผานมา
 จุดแข็ งดัง กลาวเปน ปจจัยสํา คัญที่ดึงดูดใหเม็ดเงินจํานวนมากมุงหนาเขาสูตลาดการเงินของจีน จาก
 มุมมองในเชิงบวกตอเศรษฐกิจในประเทศและการคาดการณวา ทางการจีนจะปลอยใหเงินหยวนปรับแข็ง
 คาหรือมีการเคลื่อนไหวตามปจจัยพื้นฐานของประเทศมากขึ้น

รูปที่ 3 : เศรษฐกิจจีนยังคงขยายตัวในระดับสูง                                                                                                                                              รูปที่ 4 : ปริมาณเงินและการปลอยสินเชื่อในระบบธนาคารพาณิชย
                                                                              China GDP (%)
                                                                                                                                                                                             35                                                                           2100
 16
 14                                                                                                                                                                                                                                                                       1800
                                                                                                                                                                                             30
 12                                                                                                                                                                                                                                                                       1500
 10                                                                                                                                                                                          25                                                                           1200
  8
                                                                                                                                                                                             20                                                                           900
  6
                                                                                                                                                                                                                                                                          600
  4                                                                                                                                                                                          15
  2                                                                                                                                                                                                                                                                       300
  0                                                                                                                                                                                          10                                                                           0
      Mar-01
               Sep-01
                        Mar-02
                                 Sep-02
                                          Mar-03
                                                   Sep-03
                                                            Mar-04
                                                                     Sep-04
                                                                              Mar-05
                                                                                       Sep-05
                                                                                                Mar-06
                                                                                                         Sep-06
                                                                                                                  Mar-07
                                                                                                                           Sep-07
                                                                                                                                    Mar-08
                                                                                                                                             Sep-08
                                                                                                                                                      Mar-09
                                                                                                                                                               Sep-09
                                                                                                                                                                        Mar-10
                                                                                                                                                                                 Sep-10




                                                                                                                                                                                               Nov-05 May-06 Nov-06 May-07 Nov-07 May-08 Nov-08 May-09 Nov-09 May-10 Nov-10

                                                                                                                                                                                                              M2 (left axis : % )     New Loan (right axis : bn CNY)

Source: Bloomberg, KBank                                                                                                                                                                  Source: Bloomberg, Kbank




               สภาพคลองในระบบการเงินของจีนที่เพิ่มสูงขึ้น ซึ่งนอกจากเงินทุนจากตางประเทศจํานวนมาก
 ที่ไหลเขามาลงทุนในตลาดการเงินของจีนแลว ตัวเลขปลอยสินเชื่อในระบบธนาคารพาณิชยของจีนยัง
 ขยายตัวในระดับสูงและเปนอีกเหตุผลหนึ่งที่สรางความกังวลใหกับผูกําหนดนโยบายของประเทศ โดย
 ตัวเลขการปลอยสินเชื่อของธนาคารพาณิชยจีนที่เพิ่มสูงขึ้น ทําใหมีการคาดการณวา ตัวเลขการปลอย
 สินเชื่อของธนาคารพาณิชยในปนี้จะเกินเปาหมายที่ทางการกําหนดไว เห็นไดจากตัวเลขการปลอยสินเชื่อ
 ใหมในชวง 10 เดือนแรกของปนี้อยูที่ราว 7 ลานลานหยวน ซึ่งใกลเคียงระดับเปาหมายที่ทางการกําหนด
 ไวที่ 7.5 ลานลานหยวน แมทางการจะสงสัญญาณใหธนาคารพาณิชยขนาดใหญมีความเขมงวดในการ


 33

 3
ปลอยสินเชื่ออยางมีคุณภาพมากขึ้น แตดูเหมือนจะยังไมเห็นผลนัก เนื่องจากตัวเลขการปลอยกูในเดือน
 ลาสุดยังคงเพิ่มขึ้นอีกราว 5.64 แสนลานหยวน
             อยางไรก็ดี สิ่งที่เปนประเด็นเรงดวนและสรางความกังวลใจแกผูกําหนดนโยบายในปจจุบันไดแก
 ราคาสินคาในประเทศที่ปรับตัวสูงขึ้นอยางตอเนื่อง สวนหนึ่งเปนผลจากการที่ทางการจีนพยายามกดให
 เงิ นหยวนอยูต่ํากวา ระดั บที่ เหมาะสมหรือออนค า เกิน จริง ทําใหจีน ตองนํา เขา สินค าในราคาที่แพงขึ้น
 แนนอนวาตนทุนสินคาที่เพิ่มขึ้นยอมสงผลใหดัชนีราคาทางฝงผูผลิต (Producer Price Index : PPI)ของ
 จีนปรับตัวสูงขึ้นและกําลังสงผานผลกระทบดังกลาวไปสูเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศในแงของราคา
 สิ น ค า และบริ ก ารในระบบเศรษฐกิ จ ที่ ป รั บ ตั ว ในทิ ศ ทางเดี ย วกั บ ล า สุ ด ดั ช นี ร าคาผู บ ริ โ ภคของจี น
 (Consumer Price Index: CPI) พุงขึ้นไปที่ 5.1% ในเดือนพ.ย. (จากระดับ 1.7% ในชวงตนป) และเปน
 ระดับสูงสุดในรอบ 28 เดือน เชนเดียวกับอัตราเงินเฟอพื้นฐาน (Core CPI) ที่ปรับตัวในทิศทางขาขึ้น
 เชนกัน

รูปที่ 5 : อัตราเงินเฟอพุงสูงสุดในรอบ 28 เดือน                                            รูปที่ 6 : อัตราดอกเบี้ยเงินฝากแทจริงอยูในระดับติดลบ
  %yoy                                                                                             %
   12                                                                                        10

     9                                                                                        8
                                                                                              6
     6
                                                                                              4
     3
                                                                                              2
     0
                                                                                              0
     -3
                                                                                              -2
     -6                                                                                       -4
     -9                                                                                       -6
      May-05 Nov-05 May-06 Nov-06 May-07 Nov-07 May-08 Nov-08 May-09 Nov-09 May-10 Nov-10       2000   2001   2002     2003   2004   2005   2006   2007    2008      2009   2010
                              Headline CPI      Core CPI       PPI                                               Real saving rate       Household saving rate 1 yr          CPI

Source: Bloomberg, KBank                                                                    Source: Bloomberg, Kbank




             อัตราเงินเฟอที่เรงตัวขึ้นดังกลาว นอกจากจะสงผลกระทบโดยตรงตอผูบริโภคในแงของคาใชจาย
 ที่เพิ่มสูงขึ้นแลว ยังสงผลกระทบตอความมั่งคั่งของผูออม เนื่องจากอัตราเงินเฟอที่ปรับตัวขึ้นเร็วกวาอัตรา
 ดอกเบี้ยที่ไดรับจากการฝากเงินในธนาคาร โดยรูปที่ 6 จะเห็นไดวา อัตราดอกเบี้ยแทจริงที่ผูออมไดรับใน
 ปจจุบันอยูในระดับติดลบ ซึ่งเปนปจจัยกระตุนใหผูมีเงินออมมีการโยกเงินไปลงทุนที่ใหผลตอบแทนที่ดีกวา
 อาทิ การลงทุนในตลาดหุน หรือตลาดที่อยูอาศัย ซึ่งหากสถานการณดังกลาวดําเนินตอไปจะทําใหการ
 ออมในประเทศมีความบิดเบือนและเปนอีกปจจัยที่สรางความเสี่ยงที่เศรษฐกิจจะเกิดภาวะฟองสบูใน
 ตลาดสินทรัพย

 ตลาดลวงหนายังมองถึงโอกาสที่อัตราดอกเบี้ยจะปรับตัวสูงขึ้น

                ภาพรวมเศรษฐกิจจีนที่คอนขางแข็งแกรง โดยมีปจจัยบวกทั้งจากเม็ดเงินลงทุนจํานวนมาก
 จากตางประเทศ การสงออกที่ขยายตัวในระดับสูง รวมถึงอุปสงคภายในประเทศที่ฟนตัวขึ้นอยางตอเนื่อง
 โดยรูปที่ 9 ซึ่งเปนตัวเลขการคาปลีกในประเทศซึ่งสะทอนการใชจายของประชาชนในประเทศ พบวายอด
 คาปลีกของจีนมีการฟนตัวขึ้นอยางตอเนื่องจากที่ชะลอตัวลงในชวงป 2009 ที่ผานมา โดยในชวง 11 เดือน

 44

 4
แรกของปนี้ยอดคาปลีกของประเทศขยายในระดับสูงราว 18.4% เทียบกับที่ขยายตัวที่ระดับ 15.4% ในป
 2009 ขณะที่การลงทุนในสินทรัพยถาวรในเขตเมือง (จากรูปที่ 10) แมจะเริ่มแผวลงแตยังคงขยายตัวใน
 ระดับสูงราว 25.4% ในชวง 11 เดือนแรกของปนี้ โดยไดรับแรงหนุนจากการเรงปลอยสินเชื่อของธนาคาร
 พาณิชยเพื่อสนองนโยบายกระตุนเศรษฐกิจของภาครัฐในชวงที่ผานมา

รูปที่ 7: ยอดคาปลีกปรับตัวดีขึ้น                                                   รูปที่ 8 : การลงทุนในสินทรัพยถาวรในเขตเมือง
  %yoy                            China Retail Sales %yoy                                                        China Fixed Asseted Investment
                                                                                        %yoy
   25                                                                                    60

                                                                                         50
   20
                                                                                         40
   15
                                                                                         30
   10
                                                                                         20

     5                                                                                   10

     0                                                                                   0
      2000   2001   2002   2003   2004   2005    2006   2007   2008   2009   2010         2000   2001   2002   2003   2004   2005    2006    2007   2008   2009   2010

Source: Bloomberg, KBank                                                            Source: Bloomberg, Kbank



                ขณะเดียวกัน ความกังวลเกี่ยวกับปญหาเงินเฟอที่คาดวาจะปรับตัวสูงขึ้นอยางตอเนื่อง ทั้งจาก
 ปญหาทางดานอุปทานสินคาในประเทศ และราคาสินคาโภคภัณฑในตลาดโลกที่ปรับตัวสูงขึ้น ซึ่งความ
 กังวลดังกลาวสะทอนจากรายงานของสํานักงานวางแผนเศรษฐกิจจีนที่รายงานวาอัตราเงินเฟอของจีน
 ในปนี้อยูที่ระดับ 3.3% (คาเฉลี่ย 11 เดือนอยูที่ 3.21%) ซึ่งสูงกวาเปาหมายที่กําหนดไวในชวงตนปที่ 3.0%
 และยังมองวาสถานการณดังกลาวจะดําเนินตอไป โดยมีการกําหนดเปาหมายอัตราเงินเฟอกําหนดไวที่
 4.0% ในป 2011
             ความกังวลเกี่ยวกับเงินเฟอทั้งในแงของคาใชจายของผูบริโภคที่ปรับตัวสูงขึ้น ซึ่งอาจสรางความ
 ไมพอใจแกประชาชนในประเทศ รวมทั้งผลในเชิงลบตอระดับการออมในประเทศ เปนเหตุผลที่นักวิเคราะห
 มองถึงความจําเปนที่ทางการจีนอาจตองมีการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยอีกครั้งเพื่อเพิ่มคุณภาพในการปลอย
 สินเชื่อ ซึ่งไมเพียงการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยทางฝงเงินกูเพื่อควบคุมความรอนแรงทางเศรษฐกิจเทานั้น
 แตคาดวาอัตราดอกเบี้ยเงินฝากจะมีการปรับตัวขึ้นเชนกัน เนื่องจากผูบริโภคคงไมตองการเห็นเงินออม
 ของตนเสื่อมคาลงหลังถูกกัดกรอนจากตัวเลขอัตราเงินเฟอที่พุงสูงขึ้นอยางรวดเร็วในปจจุบัน
             โดยตลาดลวงหนามีการคาดการณถึงทิศทางอัตราดอกเบี้ยของจีนในทิศทางขาขึ้น โดยมองวา
 อัตราดอกเบี้ยเงินกูยืมระยะ 1 ปจะมีการปรับตัวขึ้นจากระดับ 5.56% ในปจจุบัน สูระดับ 6.25%ในชวง
 ปลายป 2011 เช น เดี ย วกั บ อั ต ราดอกเบี้ ย เงิ น ฝากระยะ1 ป ที่ ข ยั บ ขึ้ น สู ร ะดั บ 3.25% ในช ว งปลายป
 จากระดับปจจุบันที่ระดับ 2.50% ขณะเดียวกันตลาดยังมองวาเพื่อชวยใหมาตรการชะลอความรอนแรง
 ทางเศรษฐกิจและสกัดการเรงตัวขึ้นของเงินเฟอเห็นผล ทางการจีนอาจยอมปลอยใหเงินหยวนปรับแข็ง
 คามากขึ้น โดยคาดวาเงินหยวนจะปรับแข็งคาขึ้นสูระดับ 6.30 หรือแข็งคาขึ้นราว 5.2% จากระดับ 6.65
 ในปจจุบัน




 55

 5
รูปที่ 9 : ตลาดคาดการณอัตราดอกเบี้ยของจีนในทิศทางขาขึ้น                               รูปที่ 10 : ตลาดลวงหนามองวาเงินหยวนมีแนวโนมแข็งคาขึ้น
      %                             China Interest Rate                                  9.0
  7
                                                                                         8.5
  6
  5                                                                                      8.0
  4                                                                                      7.5
  3
                                                                                         7.0
  2
                                                                                         6.5
  1
  0                                                                                      6.0
           Spot            Q1/11            Q2/11             Q3/11            Q4/11        2000   2001   2002    2003    2004   2005   2006   2007   2008   2009   2010
                     3 mth Shibor         1 yr Deposit rate     1 yr Lending rate                                        USD/CNY        NDF 12 mth

Source: Bloomberg, KBank                                                               Source: Bloomberg, Kbank




               การปรับเปลี่ยนทิศทางการดําเนินนโยบายของจีนถือเปนการเริ่มตนกระบวนการปรับสมดุล
 ทางเศรษฐกิจเพื่อใหเศรษฐกิจมีการเติบโตอยางมีคุณภาพมากขึ้น อยางไรก็ดีหากพิจารณาแผนการพัฒนา
 เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติระยะ 5 ปของจีน (ซึ่งจะมีการประกาศออกมาอยางเปนทางการในวาระการ
 ประชุมแหงชาติที่จะมีขึ้นในเดือนมีนาคมป 2554) โดยคาดวาแผนฉบับที่ 12 จะมุงเนนไปที่การลดการ
 พึ่งพาการผลิตเพื่อการสงออกและหันมากระตุนการบริโภคในประเทศใหสูงขึ้นจากปจจุบันมีสัดสวนเพียง
 36% ของผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศเทานั้น ขณะเดียวกันทางการยังมีการสงเสริมธุรกิจภาคบริการ
 และการขับเคลื่อนการลงทุนภายในประเทศ ดังนั้นเรามองวาการดําเนินนโยบายการเงินของธนาคารกลาง
 จีน (PBOC) ในชวงตอไปจําเปนตองมีการดําเนินการดวยความระมัดระวังมากขึ้น เพื่อปองกันไมใหการ
 คุ ม เข ม ทางการเงิ น ส ง ผลกระทบต อ การใช จ า ยและการลงทุ น ของภาคเอกชน โดยเฉพาะในภาวะที่
 เศรษฐกิจจําเปนตองหันไปพึ่งพาอุปสงคภายในประเทศมากขึ้น




 66

 6
ตารางที่ 1 : เครื่องชี้เศรษฐกิจสําคัญของไทย                                                                2010
                                                                      Apr-10      May-10      Jun-10       Jul-10     Aug-10      Sep-10      Oct-10
The Real Sector (%yoy , unless specified otherwise)
Manufacturing Production Index, seasonally adjusted (level)              196.5       187.5       191.9       188.7       182.5       189.1       187.7
Manufacturing Production Index, without seasonal adjustment (level)      180.0       185.0       194.2       190.1       183.7       201.5       191.6
Manufacturing Production Index, without seasonal adjustment               23.4        15.9        14.2        13.1          8.4         8.1         6.2
Industrial Capacity Utilization (%)                                       58.3        64.3        65.4        64.8        63.6        64.4        64.1
Private Consumption Indicators
    Retail Sales (at 2002 prices)                                         12.0          7.7       11.6        12.4          8.2         8.6        n.a.
    Passenger Car Sales (units)                                           72.2        68.1        86.2        74.3        59.4        45.8        43.2
    Motorcycle Sales (units)                                              19.9        26.5        43.2        34.2        20.0          9.3         2.0
    Imports of Consumer Goods (at 2000 prices)                            23.0        45.2        37.4        13.5        27.4          9.2       11.3
Private Investment Indicators
    Commercial Car Sales (units)                                          24.8        42.5        44.6        37.0        46.4        35.6        28.9
    Imports of Capital Goods (at 2000 prices)                             25.1        37.0        42.9        27.9        32.0        21.7        11.6
    Cement Sales (tons)                                                   10.4        19.4          6.4         3.5        -4.5         3.7        -7.4
    Government Cash Balance (billions of baht)                            28.6        -15.4      122.6        -56.3        -0.1       67.4        -76.0
Consumer Price Index                                                        3.0         3.5         3.3         3.4         3.3         3.0         2.8
    Food                                                                    3.7         4.6         6.1         6.9         7.5         6.6         5.5
    Non-Food                                                                2.5         2.8         1.5         1.4         1.0         0.9         1.3
    Core Inflation (excluding raw food and energy)                          0.5         1.2         1.1         1.2         1.2         1.1         1.1
External Accounts (Millions of US$, unless specified otherwise)
    Exports                                                             13,832      16,436      17,878      15,475      16,292      17,955    17,046.0
    ( %)                                                                 (34.7)      (42.5)      (47.1)      (21.2)      (23.6)      (21.8)      (16.6)
    Imports                                                             14,022      14,137      15,342      16,266      15,440      14,712    14,604.0
    ( %)                                                                 (44.0)      (53.5)      (38.3)      (36.5)      (41.8)      (15.7)      (13.0)
    Trade Balance                                                         -190       2,299       2,536        -791         852       3,243     2,442.0
    Current Account Balance                                               -289       1,172         814      -1,001         280       2,767     2,909.0
    Net Capital Flow                                                     3,002      -2,410         808       3,123       3,935         732       3,877
    Monetary authorities                                                  -251          62         173         261         149         457         765
    Government                                                             459        -170         102         434         903         620         434
    Bank                                                                 1,245      -1,703       2,554         527       1,860         460       4,155
    Others                                                               1,549        -599      -2,020       1,902      1,024         -804      -1,478
    Balance of Payments                                                  3,749        -989       2,166       1,412       3,589       4,270       5,822
Official Reserves (billions of US$)                                      147.6       143.5       146.8       151.5       155.2       163.2       171.1
Monetary Statistics (End of period) (Billions of baht)
    Monetary Base                                                      1,099.7     1,088.8     1,072.0     1,066.9     1,045.6     1,118.1     1,072.2
    ( %)                                                                 (10.7)      (14.3)       (9.3)      (11.3)       (8.0)      (13.7)       (9.6)
    Narrow Money (M1)                                                  1,182.5     1,261.9     1,180.2     1,173.0     1,181.4     1,175.5     1,202.3
    ( %)                                                                  11.5        14.4        15.1        15.8        11.4        11.7        11.4
    Broad Money (M2)                                                  10,831.8    11,001.5    10,846.4    10,887.1    10,968.1    11,116.1    11,321.4
    ( %)                                                                    5.4         6.7         6.9         8.7         8.4         9.8       11.1
Interest Rates (% p.a.)
    Repurchase Rate, 1 day (closing rate daily average)                   1.25        1.25        1.25        1.40        1.56        1.75        1.75
    Overnight Interbank Rate (mode daily average)                         1.15        1.16        1.13        1.27        1.43        1.62        1.62
    Fixed Deposit Rate (1 year)                                       0.65-0.75   0.65-0.75   0.65-0.75   1.00-1.25   1.00-1.25   1.10-1.43   1.10-1.50
    Prime Rate (MLR)                                                  5.85-6.25   5.85-6.25   5.85-6.25   6.00-6.38   6.00-6.38   6.00-6.38   6.00-6.38
Exchange Rate (Baht : US$)                                               32.29       32.39       32.47       32.33       31.74       30.83       29.97
Source: Bank of Thailand




77

7
Disclaimer
    For private circulation only. The foregoing is for informational purposes only and not to be considered as an offer to buy or
    sell, or a solicitation of an offer to buy or sell any security. Although the information herein was obtained from sources we
    believe to be reliable, we do not guarantee its accuracy nor do we assume responsibility for any error or mistake contained
    herein. Further information on the securities referred to herein may be obtained upon request.


88

8

More Related Content

More from KBank Fx Dealing Room

KBank Capital Market perspectives May 18 markets wrap up - positioning for ...
KBank Capital Market perspectives   May 18 markets wrap up - positioning for ...KBank Capital Market perspectives   May 18 markets wrap up - positioning for ...
KBank Capital Market perspectives May 18 markets wrap up - positioning for ...
KBank Fx Dealing Room
 
KBank Capital Market perspective May 18 greece
KBank Capital Market perspective May 18 greeceKBank Capital Market perspective May 18 greece
KBank Capital Market perspective May 18 greece
KBank Fx Dealing Room
 
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 04-19
KBank CMB Seminar  Khun Kitti  2012 04-19KBank CMB Seminar  Khun Kitti  2012 04-19
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 04-19
KBank Fx Dealing Room
 
KBank CMB Seminar Khun Kobsidthi 2012 04-19
KBank CMB Seminar Khun Kobsidthi 2012 04-19KBank CMB Seminar Khun Kobsidthi 2012 04-19
KBank CMB Seminar Khun Kobsidthi 2012 04-19
KBank Fx Dealing Room
 
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 04-19
KBank CMB Seminar  Khun Kitti  2012 04-19KBank CMB Seminar  Khun Kitti  2012 04-19
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 04-19
KBank Fx Dealing Room
 
KBank Capital Market perspectives Portugal in focus
KBank Capital Market perspectives   Portugal in focusKBank Capital Market perspectives   Portugal in focus
KBank Capital Market perspectives Portugal in focus
KBank Fx Dealing Room
 
KBank Capital Market perspectives Apr 26 fomc
KBank Capital Market perspectives Apr 26  fomcKBank Capital Market perspectives Apr 26  fomc
KBank Capital Market perspectives Apr 26 fomc
KBank Fx Dealing Room
 
KBank CMB's event mar (Thai)
KBank CMB's event mar (Thai)KBank CMB's event mar (Thai)
KBank CMB's event mar (Thai)
KBank Fx Dealing Room
 
KBank Economics update Mar 2012
KBank Economics update   Mar 2012KBank Economics update   Mar 2012
KBank Economics update Mar 2012
KBank Fx Dealing Room
 
KBank Capital Market perspective, FATFs slap on the wrist
KBank Capital Market perspective, FATFs slap on the wristKBank Capital Market perspective, FATFs slap on the wrist
KBank Capital Market perspective, FATFs slap on the wrist
KBank Fx Dealing Room
 
KBank Capital Market Perspective Feb 20 - gdp q4
KBank Capital Market Perspective   Feb 20 - gdp q4KBank Capital Market Perspective   Feb 20 - gdp q4
KBank Capital Market Perspective Feb 20 - gdp q4
KBank Fx Dealing Room
 
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 02-17
KBank CMB Seminar Khun Kitti  2012 02-17KBank CMB Seminar Khun Kitti  2012 02-17
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 02-17
KBank Fx Dealing Room
 
KฺฺฺBank CMB seminar Khun Kobsidthi 2012 02-17
KฺฺฺBank CMB seminar Khun Kobsidthi 2012 02-17KฺฺฺBank CMB seminar Khun Kobsidthi 2012 02-17
KฺฺฺBank CMB seminar Khun Kobsidthi 2012 02-17
KBank Fx Dealing Room
 
Prariwat feb23
Prariwat feb23Prariwat feb23
Prariwat feb23
KBank Fx Dealing Room
 
KBank Multi Asset Strategies Jan 2012
KBank Multi Asset Strategies   Jan 2012KBank Multi Asset Strategies   Jan 2012
KBank Multi Asset Strategies Jan 2012
KBank Fx Dealing Room
 
K bank multi asset strategies jan 2012
K bank multi asset strategies   jan 2012K bank multi asset strategies   jan 2012
K bank multi asset strategies jan 2012
KBank Fx Dealing Room
 
KBank Econ update jan 2012
KBank Econ update   jan 2012KBank Econ update   jan 2012
KBank Econ update jan 2012
KBank Fx Dealing Room
 
KBank Capital Market perspectives Dec 30 flooding and economic slowdown in n...
KBank Capital Market perspectives Dec 30  flooding and economic slowdown in n...KBank Capital Market perspectives Dec 30  flooding and economic slowdown in n...
KBank Capital Market perspectives Dec 30 flooding and economic slowdown in n...
KBank Fx Dealing Room
 
KBank capital market perspectives dec 20 trade
KBank capital market perspectives dec 20   tradeKBank capital market perspectives dec 20   trade
KBank capital market perspectives dec 20 trade
KBank Fx Dealing Room
 
KBank Multi Asset Strategies dec 2011 th
KBank Multi Asset Strategies dec 2011   thKBank Multi Asset Strategies dec 2011   th
KBank Multi Asset Strategies dec 2011 th
KBank Fx Dealing Room
 

More from KBank Fx Dealing Room (20)

KBank Capital Market perspectives May 18 markets wrap up - positioning for ...
KBank Capital Market perspectives   May 18 markets wrap up - positioning for ...KBank Capital Market perspectives   May 18 markets wrap up - positioning for ...
KBank Capital Market perspectives May 18 markets wrap up - positioning for ...
 
KBank Capital Market perspective May 18 greece
KBank Capital Market perspective May 18 greeceKBank Capital Market perspective May 18 greece
KBank Capital Market perspective May 18 greece
 
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 04-19
KBank CMB Seminar  Khun Kitti  2012 04-19KBank CMB Seminar  Khun Kitti  2012 04-19
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 04-19
 
KBank CMB Seminar Khun Kobsidthi 2012 04-19
KBank CMB Seminar Khun Kobsidthi 2012 04-19KBank CMB Seminar Khun Kobsidthi 2012 04-19
KBank CMB Seminar Khun Kobsidthi 2012 04-19
 
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 04-19
KBank CMB Seminar  Khun Kitti  2012 04-19KBank CMB Seminar  Khun Kitti  2012 04-19
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 04-19
 
KBank Capital Market perspectives Portugal in focus
KBank Capital Market perspectives   Portugal in focusKBank Capital Market perspectives   Portugal in focus
KBank Capital Market perspectives Portugal in focus
 
KBank Capital Market perspectives Apr 26 fomc
KBank Capital Market perspectives Apr 26  fomcKBank Capital Market perspectives Apr 26  fomc
KBank Capital Market perspectives Apr 26 fomc
 
KBank CMB's event mar (Thai)
KBank CMB's event mar (Thai)KBank CMB's event mar (Thai)
KBank CMB's event mar (Thai)
 
KBank Economics update Mar 2012
KBank Economics update   Mar 2012KBank Economics update   Mar 2012
KBank Economics update Mar 2012
 
KBank Capital Market perspective, FATFs slap on the wrist
KBank Capital Market perspective, FATFs slap on the wristKBank Capital Market perspective, FATFs slap on the wrist
KBank Capital Market perspective, FATFs slap on the wrist
 
KBank Capital Market Perspective Feb 20 - gdp q4
KBank Capital Market Perspective   Feb 20 - gdp q4KBank Capital Market Perspective   Feb 20 - gdp q4
KBank Capital Market Perspective Feb 20 - gdp q4
 
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 02-17
KBank CMB Seminar Khun Kitti  2012 02-17KBank CMB Seminar Khun Kitti  2012 02-17
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 02-17
 
KฺฺฺBank CMB seminar Khun Kobsidthi 2012 02-17
KฺฺฺBank CMB seminar Khun Kobsidthi 2012 02-17KฺฺฺBank CMB seminar Khun Kobsidthi 2012 02-17
KฺฺฺBank CMB seminar Khun Kobsidthi 2012 02-17
 
Prariwat feb23
Prariwat feb23Prariwat feb23
Prariwat feb23
 
KBank Multi Asset Strategies Jan 2012
KBank Multi Asset Strategies   Jan 2012KBank Multi Asset Strategies   Jan 2012
KBank Multi Asset Strategies Jan 2012
 
K bank multi asset strategies jan 2012
K bank multi asset strategies   jan 2012K bank multi asset strategies   jan 2012
K bank multi asset strategies jan 2012
 
KBank Econ update jan 2012
KBank Econ update   jan 2012KBank Econ update   jan 2012
KBank Econ update jan 2012
 
KBank Capital Market perspectives Dec 30 flooding and economic slowdown in n...
KBank Capital Market perspectives Dec 30  flooding and economic slowdown in n...KBank Capital Market perspectives Dec 30  flooding and economic slowdown in n...
KBank Capital Market perspectives Dec 30 flooding and economic slowdown in n...
 
KBank capital market perspectives dec 20 trade
KBank capital market perspectives dec 20   tradeKBank capital market perspectives dec 20   trade
KBank capital market perspectives dec 20 trade
 
KBank Multi Asset Strategies dec 2011 th
KBank Multi Asset Strategies dec 2011   thKBank Multi Asset Strategies dec 2011   th
KBank Multi Asset Strategies dec 2011 th
 

จีนเริ่มต้นปรับสมดุลทางเศรษฐกิจ

  • 1. KBank FX & Rates Strategies Economics / FX / Rates จีนกับการเริมตนกระบวนการปรับสมดุลทางเศรษฐกิจ ่ 22 December Warunee Sithithaworn ตลาดการเงินไดรับแรงกดดันอยางตอเนื่องจากความกังวลเกี่ยวกับการคุมเขม warunee.si @kasikornbank.com นโยบายการเงินของจีน ในช ว งที่ ผ า นมาธนาคารกลางจี น มี ก ารปรั บ เพิ่ ม เพดานการกั น สํ า รองของ ธนาคารพาณิชย (RRR) ถึง 6 ครั้งในรอบปนี้ รวมทั้งการปรับเพิ่มอัตราดอกเบี้ย นโยบายในชวงเดือนต.ค.ที่ผานมา อัตราเงินเฟอที่เรงตัวขึ้นแตะระดับสูงสุดในรอบ 28 เดือน ประกอบกับกระแส เงิน ทุ น จากต า งประเทศจํ า นวนมากที่ไ หลเขา ประเทศ สร า งความกัง วลตอ ผู กําหนดนโยบายของจีน อัตราดอกเบี้ยแทจริงในระดับติดลบ เปนอีกปจจัยที่กระตุนใหครัวเรือนมองหา แหลงลงทุนอื่นๆ อาทิ การลงทุนในตลาดหุนและตลาดอสังหาริมทรัพย ซึ่งให ผลตอบแทนที่ดีกวา ตลาดลวงหนาคาดการณวา ธนาคารกลางจีนจะมีการปรับเพดานการกันสํารอง ของธนาคารพาณิ ช ย ขึ้น อี ก รวมทั้ ง มี โ อกาสที่ จ ะเห็ น อั ต ราดอกเบี้ ย นโยบาย ปรับตัวสูงขึ้น อยางไรก็ดีการดําเนินนโยบายการเงินในชวงตอไป ทางการจีนตองรักษาสมดุล ทางเศรษฐกิ จ มากขึ้ น ในภาวะที่ เ ศรษฐกิ จ จํ า เป น ต อ งพึ่ ง พาเศรษฐกิ จ ภายในประเทศมากขึ้น ตลาดการเงินไดรบแรงกดดันจากการคุมเขมการเงินของจีน ั ตลาดหุ น จี น เริ่มตน สั ป ดาหไ มสดใสนั ก โดยดัชนี ตลาดหุน ปรับ ตั วลงนําตลาดหุน อื่น ๆ ใน ภูมิภาค โดยดิ่งลงเกือบ 3% ในชวงแรกของการซื้อขายกอนฟนตัวขึ้นในชวงทายตลาด แมสวนหนึ่งเปน ผลกระทบจากสถานการณที่ตึงเครียดมากขึ้นบนคาบสมุทรเกาหลีหลังจากทางการเกาหลีใตประกาศจะ ซอมรบโดยใชกระสุนจริง ขณะที่เกาหลีเหนือขูจะมีการตอบโตหากการซอมรบเกิดขึ้นจริง ซึ่งความขัดแยง ดังกลาวฉุดใหตลาดหุนเอเชียตางปรับตัวลงในวันทําการแรกของสัปดาห แตอีกสาเหตุที่ทําใหตลาดหุน จีนดิ่งลงในระดับที่แรงกวาตลาดหุนอื่นๆ ในเอเชีย เปนผลความกังวลเกี่ยวกับสภาพคลองในระบบที่มี แนวโนมตึงตัวขึ้นในชวงปลายป และผลกระทบจากมาตรการเพิ่มสํารองของธนาคารพาณิชยที่ธนาคาร กลางจีน (PBOC) ประกาศไปเมื่อวันที่ 10 ธ.ค. ที่ผานมา ซึ่งเริ่มมีผลบังคับใชในวันจันทรที่ 20 ธ.ค.โดย เปนการเพิ่มการกันสํารองอีก 0.50% สงผลใหอัตราการกันสํารองของธนาคารพาณิชยขนาดใหญและ 11 1
  • 2. ธนาคารพาณิชยขนาดเล็กขยับขึ้นไปอยูที่18.5% และ 16.5% ซึ่งเปนระดับสูงที่สุดเปนประวัติการณใน ระบบธนาคารพาณิชยของจีน ทางการจีนแตะเบรกความรอนแรงทางเศรษฐกิจ การฟนตัวขึ้นอยางตอเนื่องของเศรษฐกิจจีน รวมทั้งสัญญาณการเกิดฟองสบูในตลาดหุน และตลาดที่อยูอาศัยภายในประเทศทําใหทางการเริ่มปรับเปลี่ยนนโยบายการเงินไปสูเชิงเขมงวดมากขึ้น โดยนับจากชวงตนป ธนาคารกลางจีน (PBOC) มีการประกาศเพิ่มเพดานการกันสํารองของธนาคาร พาณิชย (Reserve Requirement Ratio: RRR) ขึ้นอยางตอเนื่องในชวงครึ่งแรกของป รวมทั้งมีการควบคุม ความรอนแรงในตลาดอสังหาริมทรัพย โดยการควบคุมการปลอยสินเชื่อ ซึ่ งประกอบดวยการกําหนด การวางเงินดาวนที่สูงขึ้นและเงื่อนไขการพิจารณาการปลอยสินเชื่อที่เขมงวดมากขึ้น อยางไรก็ดี การดําเนินการในชวงที่ผานมา ดูเหมือนยังไมมีประสิทธิผลมากนัก เห็นไดจาก ตัวเลขการปลอยกูที่ยังคงเพิ่มสูงขึ้น ที่สําคัญความกังวลเกี่ยวกับการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น พรอมๆ การพุงขึ้นของราคาอาหาร คาจางแรงงานและราคาอสังหาริมทรัพย ทําใหทางการจีนตองมีการ ปรับเปลี่ยนนโยบายการเงินเพื่อดูแลใหเศรษฐกิจมีการเติบโตในระดับที่เหมาะสมและมีคุณภาพมากขึ้น โดยในชวงไตรมาสสุดทายของป 2553 ทางการจีนมีการประกาศเพิ่มการสํารองเงินฝากของ ธนาคารพาณิชยขึ้นถึง 3 ครั้ง สงผลใหอัตราการกันสํารองของธนาคารพาณิชยขนาดใหญขยับขึ้นไปที่ ระดับ 18.5% จาก 15.5% ในชวงตนป และธนาคารพาณิชยขนาดเล็กขยับขึ้นไปที่16.5% จาก13.5% ในชวงตนป และเปนระดับสูงที่สุดเปนประวัติการณในระบบธนาคารพาณิชยของจีน ที่สําคัญในเดือนต.ค. ทางการจีนยังมีการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยกูยืมระยะ 1 ป ซึ่งเปนระดับอางอิงสูระดับ 5.56 % จาก 5.31% ซึ่ ง ถือ เปน การปรับ ขึ้น อั ต ราดอกเบี้ยนโยบายเป นครั้ง แรกในรอบ 2 ป การดํา เนิน การดังกล า วสะทอ น ความกังวลเกี่ยวกับแรงกดดันเงินเฟอที่เรงตัวขึ้นมากในปจจุบัน ขณะเดียวกับประกาศเพิ่มอัตราดอกเบี้ย เงินฝากออมทรัพยขึ้นไปที่ 2.5% จาก 2.25% ซึ่งอาจสงผลดีในแงของการชดเชยความมั่งคั่งใหกับผูฝาก เงิน แตอาจยังไมแรงพอที่จะสกัดการพุงขึ้นของเงินเฟอ รูปที่ 1 : ทางการจีนปรับเพิ่มเพดานเงินสํารองธนาคารพาณิชยอยางตอเนื่อง รูปที่ 2 : ธนาคารกลางจีนมีการปรับเพิ่มอัตราดอกเบี้ยนโยบาย % China reserve requirement % Asia policy rate 20 14 19 12 18 10 17 8 16 6 15 4 14 2 13 12 0 Dec-08 Mar-09 Jun-09 Sep-09 Dec-09 Mar-10 Jun-10 Sep-10 Dec-10 Jun-06 Dec-06 Jun-07 Dec-07 Jun-08 Dec-08 Jun-09 Dec-09 Jun-10 Dec-10 China India Indonesia Major Bank Smaller Bank Malaysia Taiwan Thailand Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, Kbank 22 2
  • 3. สภาพคลองสูง เงินเฟอพุง...สรางความกังวลแกผูกําหนดนโยบาย ในชวงที่ผานมา เศรษฐกิจจีนไดรับผลกระทบจากการถดถอยของเศรษฐกิจโลกเชนเดียวกับ ประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคเอเชีย โดยเศรษฐกิจมีการชะลอตัวลงอยางชัดเจน เห็นไดจากผลิตภัณฑมวลรวม ในประเทศหรือ GDP ที่ขยายตัวราว 8% ในชวงครึ่งหลังของป 2008 เทียบกับที่เคยขยายตัวเหนือระดับ 10% ในชวง 10 ที่ผานมา กอนที่เศรษฐกิจจะเริ่มฟนตัวขึ้นเปนลําดับในชวงครึ่งหลังของป 2009 ตามการ ฟนตัวทางของเศรษฐกิจโลกและแรงหนุนจากมาตรการกระตุนเศรษฐกิจของภาครัฐที่ชวยใหเศรษฐกิจ ของจีนฟนตัวขึ้นอยางรวดเร็ว โดยเศรษฐกิจสามารถกลับมาขยายตัวในเหนือระดับ 10% อีกครั้งนับจาก ชวงไตรมาสสุดทายของป 2009 เปนตนมา การฟนตัวอยางรวดเร็วของเศรษฐกิจจีน นอกจากเปนการสะทอนถึงพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ของประเทศที่คอนขางแข็งแกรง โดยเฉพาะในแงของการเปนประเทศผูถือครองเงินทุนสํารองระหวาง ประเทศเปนอันดับหนึ่งของโลกแลว การที่จีนสามารถแซงหนาญี่ปุนขึ้นไปยืนเปนเศรษฐกิจที่มีขนาดใหญ เปนอันดับสองของโลก ยังทําใหเศรษฐกิจจีนมีความโดดเดน โดยเฉพาะหากเทียบกับประเทศแกนหลัก อื่นๆ ทั้งสหรัฐฯ ที่การฟนตัวทางเศรษฐกิจยังมีความลาชา เศรษฐกิจยุโรปที่ยังวนเวียนอยูกับการแกปญหา หนี้สินของประเทศสมาชิก รวมไปถึงเศรษฐกิจญี่ปุนที่อยูในภาวะซึมเซาตอเนื่องในชวงกวา 10 ปที่ผานมา จุดแข็ งดัง กลาวเปน ปจจัยสํา คัญที่ดึงดูดใหเม็ดเงินจํานวนมากมุงหนาเขาสูตลาดการเงินของจีน จาก มุมมองในเชิงบวกตอเศรษฐกิจในประเทศและการคาดการณวา ทางการจีนจะปลอยใหเงินหยวนปรับแข็ง คาหรือมีการเคลื่อนไหวตามปจจัยพื้นฐานของประเทศมากขึ้น รูปที่ 3 : เศรษฐกิจจีนยังคงขยายตัวในระดับสูง รูปที่ 4 : ปริมาณเงินและการปลอยสินเชื่อในระบบธนาคารพาณิชย China GDP (%) 35 2100 16 14 1800 30 12 1500 10 25 1200 8 20 900 6 600 4 15 2 300 0 10 0 Mar-01 Sep-01 Mar-02 Sep-02 Mar-03 Sep-03 Mar-04 Sep-04 Mar-05 Sep-05 Mar-06 Sep-06 Mar-07 Sep-07 Mar-08 Sep-08 Mar-09 Sep-09 Mar-10 Sep-10 Nov-05 May-06 Nov-06 May-07 Nov-07 May-08 Nov-08 May-09 Nov-09 May-10 Nov-10 M2 (left axis : % ) New Loan (right axis : bn CNY) Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, Kbank สภาพคลองในระบบการเงินของจีนที่เพิ่มสูงขึ้น ซึ่งนอกจากเงินทุนจากตางประเทศจํานวนมาก ที่ไหลเขามาลงทุนในตลาดการเงินของจีนแลว ตัวเลขปลอยสินเชื่อในระบบธนาคารพาณิชยของจีนยัง ขยายตัวในระดับสูงและเปนอีกเหตุผลหนึ่งที่สรางความกังวลใหกับผูกําหนดนโยบายของประเทศ โดย ตัวเลขการปลอยสินเชื่อของธนาคารพาณิชยจีนที่เพิ่มสูงขึ้น ทําใหมีการคาดการณวา ตัวเลขการปลอย สินเชื่อของธนาคารพาณิชยในปนี้จะเกินเปาหมายที่ทางการกําหนดไว เห็นไดจากตัวเลขการปลอยสินเชื่อ ใหมในชวง 10 เดือนแรกของปนี้อยูที่ราว 7 ลานลานหยวน ซึ่งใกลเคียงระดับเปาหมายที่ทางการกําหนด ไวที่ 7.5 ลานลานหยวน แมทางการจะสงสัญญาณใหธนาคารพาณิชยขนาดใหญมีความเขมงวดในการ 33 3
  • 4. ปลอยสินเชื่ออยางมีคุณภาพมากขึ้น แตดูเหมือนจะยังไมเห็นผลนัก เนื่องจากตัวเลขการปลอยกูในเดือน ลาสุดยังคงเพิ่มขึ้นอีกราว 5.64 แสนลานหยวน อยางไรก็ดี สิ่งที่เปนประเด็นเรงดวนและสรางความกังวลใจแกผูกําหนดนโยบายในปจจุบันไดแก ราคาสินคาในประเทศที่ปรับตัวสูงขึ้นอยางตอเนื่อง สวนหนึ่งเปนผลจากการที่ทางการจีนพยายามกดให เงิ นหยวนอยูต่ํากวา ระดั บที่ เหมาะสมหรือออนค า เกิน จริง ทําใหจีน ตองนํา เขา สินค าในราคาที่แพงขึ้น แนนอนวาตนทุนสินคาที่เพิ่มขึ้นยอมสงผลใหดัชนีราคาทางฝงผูผลิต (Producer Price Index : PPI)ของ จีนปรับตัวสูงขึ้นและกําลังสงผานผลกระทบดังกลาวไปสูเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศในแงของราคา สิ น ค า และบริ ก ารในระบบเศรษฐกิ จ ที่ ป รั บ ตั ว ในทิ ศ ทางเดี ย วกั บ ล า สุ ด ดั ช นี ร าคาผู บ ริ โ ภคของจี น (Consumer Price Index: CPI) พุงขึ้นไปที่ 5.1% ในเดือนพ.ย. (จากระดับ 1.7% ในชวงตนป) และเปน ระดับสูงสุดในรอบ 28 เดือน เชนเดียวกับอัตราเงินเฟอพื้นฐาน (Core CPI) ที่ปรับตัวในทิศทางขาขึ้น เชนกัน รูปที่ 5 : อัตราเงินเฟอพุงสูงสุดในรอบ 28 เดือน รูปที่ 6 : อัตราดอกเบี้ยเงินฝากแทจริงอยูในระดับติดลบ %yoy % 12 10 9 8 6 6 4 3 2 0 0 -3 -2 -6 -4 -9 -6 May-05 Nov-05 May-06 Nov-06 May-07 Nov-07 May-08 Nov-08 May-09 Nov-09 May-10 Nov-10 2000 2001 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 Headline CPI Core CPI PPI Real saving rate Household saving rate 1 yr CPI Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, Kbank อัตราเงินเฟอที่เรงตัวขึ้นดังกลาว นอกจากจะสงผลกระทบโดยตรงตอผูบริโภคในแงของคาใชจาย ที่เพิ่มสูงขึ้นแลว ยังสงผลกระทบตอความมั่งคั่งของผูออม เนื่องจากอัตราเงินเฟอที่ปรับตัวขึ้นเร็วกวาอัตรา ดอกเบี้ยที่ไดรับจากการฝากเงินในธนาคาร โดยรูปที่ 6 จะเห็นไดวา อัตราดอกเบี้ยแทจริงที่ผูออมไดรับใน ปจจุบันอยูในระดับติดลบ ซึ่งเปนปจจัยกระตุนใหผูมีเงินออมมีการโยกเงินไปลงทุนที่ใหผลตอบแทนที่ดีกวา อาทิ การลงทุนในตลาดหุน หรือตลาดที่อยูอาศัย ซึ่งหากสถานการณดังกลาวดําเนินตอไปจะทําใหการ ออมในประเทศมีความบิดเบือนและเปนอีกปจจัยที่สรางความเสี่ยงที่เศรษฐกิจจะเกิดภาวะฟองสบูใน ตลาดสินทรัพย ตลาดลวงหนายังมองถึงโอกาสที่อัตราดอกเบี้ยจะปรับตัวสูงขึ้น ภาพรวมเศรษฐกิจจีนที่คอนขางแข็งแกรง โดยมีปจจัยบวกทั้งจากเม็ดเงินลงทุนจํานวนมาก จากตางประเทศ การสงออกที่ขยายตัวในระดับสูง รวมถึงอุปสงคภายในประเทศที่ฟนตัวขึ้นอยางตอเนื่อง โดยรูปที่ 9 ซึ่งเปนตัวเลขการคาปลีกในประเทศซึ่งสะทอนการใชจายของประชาชนในประเทศ พบวายอด คาปลีกของจีนมีการฟนตัวขึ้นอยางตอเนื่องจากที่ชะลอตัวลงในชวงป 2009 ที่ผานมา โดยในชวง 11 เดือน 44 4
  • 5. แรกของปนี้ยอดคาปลีกของประเทศขยายในระดับสูงราว 18.4% เทียบกับที่ขยายตัวที่ระดับ 15.4% ในป 2009 ขณะที่การลงทุนในสินทรัพยถาวรในเขตเมือง (จากรูปที่ 10) แมจะเริ่มแผวลงแตยังคงขยายตัวใน ระดับสูงราว 25.4% ในชวง 11 เดือนแรกของปนี้ โดยไดรับแรงหนุนจากการเรงปลอยสินเชื่อของธนาคาร พาณิชยเพื่อสนองนโยบายกระตุนเศรษฐกิจของภาครัฐในชวงที่ผานมา รูปที่ 7: ยอดคาปลีกปรับตัวดีขึ้น รูปที่ 8 : การลงทุนในสินทรัพยถาวรในเขตเมือง %yoy China Retail Sales %yoy China Fixed Asseted Investment %yoy 25 60 50 20 40 15 30 10 20 5 10 0 0 2000 2001 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 2000 2001 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, Kbank ขณะเดียวกัน ความกังวลเกี่ยวกับปญหาเงินเฟอที่คาดวาจะปรับตัวสูงขึ้นอยางตอเนื่อง ทั้งจาก ปญหาทางดานอุปทานสินคาในประเทศ และราคาสินคาโภคภัณฑในตลาดโลกที่ปรับตัวสูงขึ้น ซึ่งความ กังวลดังกลาวสะทอนจากรายงานของสํานักงานวางแผนเศรษฐกิจจีนที่รายงานวาอัตราเงินเฟอของจีน ในปนี้อยูที่ระดับ 3.3% (คาเฉลี่ย 11 เดือนอยูที่ 3.21%) ซึ่งสูงกวาเปาหมายที่กําหนดไวในชวงตนปที่ 3.0% และยังมองวาสถานการณดังกลาวจะดําเนินตอไป โดยมีการกําหนดเปาหมายอัตราเงินเฟอกําหนดไวที่ 4.0% ในป 2011 ความกังวลเกี่ยวกับเงินเฟอทั้งในแงของคาใชจายของผูบริโภคที่ปรับตัวสูงขึ้น ซึ่งอาจสรางความ ไมพอใจแกประชาชนในประเทศ รวมทั้งผลในเชิงลบตอระดับการออมในประเทศ เปนเหตุผลที่นักวิเคราะห มองถึงความจําเปนที่ทางการจีนอาจตองมีการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยอีกครั้งเพื่อเพิ่มคุณภาพในการปลอย สินเชื่อ ซึ่งไมเพียงการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยทางฝงเงินกูเพื่อควบคุมความรอนแรงทางเศรษฐกิจเทานั้น แตคาดวาอัตราดอกเบี้ยเงินฝากจะมีการปรับตัวขึ้นเชนกัน เนื่องจากผูบริโภคคงไมตองการเห็นเงินออม ของตนเสื่อมคาลงหลังถูกกัดกรอนจากตัวเลขอัตราเงินเฟอที่พุงสูงขึ้นอยางรวดเร็วในปจจุบัน โดยตลาดลวงหนามีการคาดการณถึงทิศทางอัตราดอกเบี้ยของจีนในทิศทางขาขึ้น โดยมองวา อัตราดอกเบี้ยเงินกูยืมระยะ 1 ปจะมีการปรับตัวขึ้นจากระดับ 5.56% ในปจจุบัน สูระดับ 6.25%ในชวง ปลายป 2011 เช น เดี ย วกั บ อั ต ราดอกเบี้ ย เงิ น ฝากระยะ1 ป ที่ ข ยั บ ขึ้ น สู ร ะดั บ 3.25% ในช ว งปลายป จากระดับปจจุบันที่ระดับ 2.50% ขณะเดียวกันตลาดยังมองวาเพื่อชวยใหมาตรการชะลอความรอนแรง ทางเศรษฐกิจและสกัดการเรงตัวขึ้นของเงินเฟอเห็นผล ทางการจีนอาจยอมปลอยใหเงินหยวนปรับแข็ง คามากขึ้น โดยคาดวาเงินหยวนจะปรับแข็งคาขึ้นสูระดับ 6.30 หรือแข็งคาขึ้นราว 5.2% จากระดับ 6.65 ในปจจุบัน 55 5
  • 6. รูปที่ 9 : ตลาดคาดการณอัตราดอกเบี้ยของจีนในทิศทางขาขึ้น รูปที่ 10 : ตลาดลวงหนามองวาเงินหยวนมีแนวโนมแข็งคาขึ้น % China Interest Rate 9.0 7 8.5 6 5 8.0 4 7.5 3 7.0 2 6.5 1 0 6.0 Spot Q1/11 Q2/11 Q3/11 Q4/11 2000 2001 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 3 mth Shibor 1 yr Deposit rate 1 yr Lending rate USD/CNY NDF 12 mth Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, Kbank การปรับเปลี่ยนทิศทางการดําเนินนโยบายของจีนถือเปนการเริ่มตนกระบวนการปรับสมดุล ทางเศรษฐกิจเพื่อใหเศรษฐกิจมีการเติบโตอยางมีคุณภาพมากขึ้น อยางไรก็ดีหากพิจารณาแผนการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติระยะ 5 ปของจีน (ซึ่งจะมีการประกาศออกมาอยางเปนทางการในวาระการ ประชุมแหงชาติที่จะมีขึ้นในเดือนมีนาคมป 2554) โดยคาดวาแผนฉบับที่ 12 จะมุงเนนไปที่การลดการ พึ่งพาการผลิตเพื่อการสงออกและหันมากระตุนการบริโภคในประเทศใหสูงขึ้นจากปจจุบันมีสัดสวนเพียง 36% ของผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศเทานั้น ขณะเดียวกันทางการยังมีการสงเสริมธุรกิจภาคบริการ และการขับเคลื่อนการลงทุนภายในประเทศ ดังนั้นเรามองวาการดําเนินนโยบายการเงินของธนาคารกลาง จีน (PBOC) ในชวงตอไปจําเปนตองมีการดําเนินการดวยความระมัดระวังมากขึ้น เพื่อปองกันไมใหการ คุ ม เข ม ทางการเงิ น ส ง ผลกระทบต อ การใช จ า ยและการลงทุ น ของภาคเอกชน โดยเฉพาะในภาวะที่ เศรษฐกิจจําเปนตองหันไปพึ่งพาอุปสงคภายในประเทศมากขึ้น 66 6
  • 7. ตารางที่ 1 : เครื่องชี้เศรษฐกิจสําคัญของไทย 2010 Apr-10 May-10 Jun-10 Jul-10 Aug-10 Sep-10 Oct-10 The Real Sector (%yoy , unless specified otherwise) Manufacturing Production Index, seasonally adjusted (level) 196.5 187.5 191.9 188.7 182.5 189.1 187.7 Manufacturing Production Index, without seasonal adjustment (level) 180.0 185.0 194.2 190.1 183.7 201.5 191.6 Manufacturing Production Index, without seasonal adjustment 23.4 15.9 14.2 13.1 8.4 8.1 6.2 Industrial Capacity Utilization (%) 58.3 64.3 65.4 64.8 63.6 64.4 64.1 Private Consumption Indicators Retail Sales (at 2002 prices) 12.0 7.7 11.6 12.4 8.2 8.6 n.a. Passenger Car Sales (units) 72.2 68.1 86.2 74.3 59.4 45.8 43.2 Motorcycle Sales (units) 19.9 26.5 43.2 34.2 20.0 9.3 2.0 Imports of Consumer Goods (at 2000 prices) 23.0 45.2 37.4 13.5 27.4 9.2 11.3 Private Investment Indicators Commercial Car Sales (units) 24.8 42.5 44.6 37.0 46.4 35.6 28.9 Imports of Capital Goods (at 2000 prices) 25.1 37.0 42.9 27.9 32.0 21.7 11.6 Cement Sales (tons) 10.4 19.4 6.4 3.5 -4.5 3.7 -7.4 Government Cash Balance (billions of baht) 28.6 -15.4 122.6 -56.3 -0.1 67.4 -76.0 Consumer Price Index 3.0 3.5 3.3 3.4 3.3 3.0 2.8 Food 3.7 4.6 6.1 6.9 7.5 6.6 5.5 Non-Food 2.5 2.8 1.5 1.4 1.0 0.9 1.3 Core Inflation (excluding raw food and energy) 0.5 1.2 1.1 1.2 1.2 1.1 1.1 External Accounts (Millions of US$, unless specified otherwise) Exports 13,832 16,436 17,878 15,475 16,292 17,955 17,046.0 ( %) (34.7) (42.5) (47.1) (21.2) (23.6) (21.8) (16.6) Imports 14,022 14,137 15,342 16,266 15,440 14,712 14,604.0 ( %) (44.0) (53.5) (38.3) (36.5) (41.8) (15.7) (13.0) Trade Balance -190 2,299 2,536 -791 852 3,243 2,442.0 Current Account Balance -289 1,172 814 -1,001 280 2,767 2,909.0 Net Capital Flow 3,002 -2,410 808 3,123 3,935 732 3,877 Monetary authorities -251 62 173 261 149 457 765 Government 459 -170 102 434 903 620 434 Bank 1,245 -1,703 2,554 527 1,860 460 4,155 Others 1,549 -599 -2,020 1,902 1,024 -804 -1,478 Balance of Payments 3,749 -989 2,166 1,412 3,589 4,270 5,822 Official Reserves (billions of US$) 147.6 143.5 146.8 151.5 155.2 163.2 171.1 Monetary Statistics (End of period) (Billions of baht) Monetary Base 1,099.7 1,088.8 1,072.0 1,066.9 1,045.6 1,118.1 1,072.2 ( %) (10.7) (14.3) (9.3) (11.3) (8.0) (13.7) (9.6) Narrow Money (M1) 1,182.5 1,261.9 1,180.2 1,173.0 1,181.4 1,175.5 1,202.3 ( %) 11.5 14.4 15.1 15.8 11.4 11.7 11.4 Broad Money (M2) 10,831.8 11,001.5 10,846.4 10,887.1 10,968.1 11,116.1 11,321.4 ( %) 5.4 6.7 6.9 8.7 8.4 9.8 11.1 Interest Rates (% p.a.) Repurchase Rate, 1 day (closing rate daily average) 1.25 1.25 1.25 1.40 1.56 1.75 1.75 Overnight Interbank Rate (mode daily average) 1.15 1.16 1.13 1.27 1.43 1.62 1.62 Fixed Deposit Rate (1 year) 0.65-0.75 0.65-0.75 0.65-0.75 1.00-1.25 1.00-1.25 1.10-1.43 1.10-1.50 Prime Rate (MLR) 5.85-6.25 5.85-6.25 5.85-6.25 6.00-6.38 6.00-6.38 6.00-6.38 6.00-6.38 Exchange Rate (Baht : US$) 32.29 32.39 32.47 32.33 31.74 30.83 29.97 Source: Bank of Thailand 77 7
  • 8. Disclaimer For private circulation only. The foregoing is for informational purposes only and not to be considered as an offer to buy or sell, or a solicitation of an offer to buy or sell any security. Although the information herein was obtained from sources we believe to be reliable, we do not guarantee its accuracy nor do we assume responsibility for any error or mistake contained herein. Further information on the securities referred to herein may be obtained upon request. 88 8