SlideShare a Scribd company logo
คู่มือการใช้งานกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
(Software Detailed Design Process Guidelines)
การนิยามและการปรับปรุงกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ ให้เป็นไปตามมาตรฐาน ISO
12207 และได้ระดับความสามารถที่ 3 ตามเกณฑ์มาตรฐาน ISO 15504 ในโครงการพัฒนาระบบธุรกรรมทาง
อินเทอร์เน็ตผ่านโมบายแอปพลิเคชัน
เวอร์ชัน 1.0.1
วันที่ 13 พฤษภาคม 2559
นาเสนอ
ผศ.นครทิพย์พร้อมพูล
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา กระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์และปรับปรุง
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
การนิยามและการปรับปรุงกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
ให้เป็นไปตามมาตรฐาน ISO 12207 และได้ระดับความสามารถที่ 3 ตามเกณฑ์มาตรฐาน ISO 15504 ในโครงการ
พัฒนาระบบธุรกรรมทางอินเทอร์เน็ตผ่านโมบายแอปพลิเคชัน
เอกสารข้อเสนอโครงการ
จัดทาโดย
5870972621 นางสาวขวัญดี เพชรกานต์
5870943421 นายปฏิวัติ วิเศษศุกูล
5870946321 นายปรีชา นาคเงิน
5870973221 นางสาวสุดหทัย หมั่นค้า
5870972621 นายสิทธิพงษ์เหล่าโก้ก
5870976121 นางสาวสุพัตรา อินศรี
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา กระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์และปรับปรุง
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558
บทนา
คู่มือการใช้งานกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ I
บทที่ 1 สารบัญ
บทที่ 1 บทนา.......................................................................................................................................................................1
1.1 ที่มาและความสาคัญ................................................................................................................................................1
1.2 วัตถุประสงค์............................................................................................................................................................1
1.3 ขอบเขตของเอกสาร................................................................................................................................................1
1.4 คาย่อและนิยามคาศัพท์ที่ใช้ในเอกสาร....................................................................................................................2
1.5 เอกสารที่เกี่ยวข้อง...................................................................................................................................................2
1.6 ภาพรวมเอกสาร.......................................................................................................................................................3
บทที่ 2 กระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์..........................................................................................................5
2.1 ขอบเขตของนิยามกระบวนการ...............................................................................................................................5
2.2 คาอธิบายการให้รายละเอียดนิยามกระบวนการ......................................................................................................5
2.3 ภาพรวมการปรับปรุงกระบวนการซอฟต์แวร์ (SPI)...............................................................................................7
2.4 ข้อควรปฏิบัติในกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์...............................................................................8
2.4.1 การวางแผนการออกแบบ (Design Planning).................................................................................................8
2.4.2 ข้อมูลในการออกแบบ (Design Inputs).........................................................................................................8
2.4.3 ผลลัพธ์ของการออกแบบ (Design Outputs)...................................................................................................8
2.4.4 การทบทวนการออกแบบ (Design Review)...................................................................................................9
2.4.5 การทวนสอบการออกแบบ (Design Verification).........................................................................................9
2.4.6 การรับรองการออกแบบ (Design Validation)................................................................................................9
2.4.7 การควบคุมการเปลี่ยนแปลงการออกแบบ และการพัฒนา (Control of Design Changes).............................9
บทที่ 3 ขั้นตอนการดาเนินโครงการ..................................................................................................................................10
3.1 ภาพรวม.................................................................................................................................................................10
3.2 ขั้นตอนที่ 1: การสื่อสารในองค์กร (Organizational Alignment)..........................................................................10
3.3 ขั้นตอนที่ 2: การจัดตั้งหน่วยงานและกาหนดโครงสร้างทีมงาน..........................................................................11
3.3.1 การจัดการองค์กร..........................................................................................................................................11
3.3.2 การบริหารทรัพยากรมนุษย์..........................................................................................................................11
3.4 ขั้นตอนที่ 3: การเตรียมความพร้อมบุคลากรในโครงการ.....................................................................................11
3.4.1 การฝึกอบรม (Training)................................................................................................................................12
3.5 ขั้นตอนที่ 4: การจัดการโครงแบบข้อมูลโครงการ (Configuration Management)...............................................12
3.6 ขั้นตอนที่ 5: การควบคุมคุณภาพ (Quality Control).............................................................................................13
3.6.1 การควบคุมและติดตาม (Monitoring and Control).......................................................................................14
3.6.2 การให้การช่วยเหลือและสนับสนุน (Supporting and Problem Resolution)...............................................14
3.7 ขั้นตอนที่ 7: การประเมินกระบวนการ (Process Assesment)...............................................................................14
3.8 ขั้นตอนที่ 8: การนาไปใช้เป็นมาตรฐานองค์กร....................................................................................................14
3.9 ขั้นตอนที่ 9: การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (Process Improvement).........................................................................14
บทนา
คู่มือการใช้งานกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ II
3.10 ปัจจัยสู่ความสาเร็จ.................................................................................................................................................15
3.10.1 จัดตั้งหน่วยงาน SEPG..................................................................................................................................15
3.10.2 บุคลากร (People)..........................................................................................................................................15
3.10.3 การให้ความร่วมมือจากผู้บริหาร..................................................................................................................15
3.10.4 เครื่องมือ (Tools & Equipment)....................................................................................................................16
3.10.5 กระบวนการ (Process)..................................................................................................................................16
3.10.6 การวัดและวิเคราะห์ (Measurement and Analysis)......................................................................................16
3.10.7 ที่ปรึกษาจากภายนอก....................................................................................................................................16
3.11 การนากระบวนการไปใช้งานจริง..........................................................................................................................17
บทที่ 4 การวางแผนการปรับปรุงกระบวนการ..................................................................................................................18
4.1 บทนา.....................................................................................................................................................................18
4.2 วัตถุประสงค์..........................................................................................................................................................18
4.3 ผลลัพธ์...................................................................................................................................................................18
4.4 ขั้นตอนการวางแผน SPI........................................................................................................................................18
บทที่ 5 การจัดเตรียมโครงสร้างพื้นฐานขององค์กร..........................................................................................................20
5.1 บทนา.....................................................................................................................................................................20
5.2 วัตถุประสงค์..........................................................................................................................................................20
5.3 บทบาทหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง.......................................................................................................................................20
5.4 การจัดเตรียมโครงสร้างพื้นฐาน............................................................................................................................21
5.4.1 Executive Leader Group (ELG)...................................................................................................................21
5.4.2 ที่ปรึกษาจากภายนอก....................................................................................................................................21
5.4.3 Software Engineering Process Group (SEPG).............................................................................................22
5.4.4 Process Measurement Office (PMO)...........................................................................................................22
5.4.5 Configuration Management Office (CMO).................................................................................................22
5.4.6 Organization Training Office (OTO)...........................................................................................................22
5.5 Product and Process Quality Assurance (PPQA)...............................................................................................23
5.6 โครงสร้างทีมงานสาหรับโครงการ (Specific Project) เพื่อการดาเนินงาน SPI....................................................24
บทที่ 6 การปรับกระบวนการให้เหมาะสมกับลักษณะเฉพาะของโครงการ (Tailor)........................................................25
6.1 บทนา.....................................................................................................................................................................25
6.2 วัตถุประสงค์..........................................................................................................................................................25
6.3 ความสอดคล้อง (Conformance)............................................................................................................................26
6.3.1 ความสอดคล้องอย่างสมบูรณ์ (Full Conformance)......................................................................................26
6.3.2 ความสอดคล้องปรับแต่ง (Tailored Conformance)......................................................................................26
6.4 การพัฒนากระบวนการให้เหมาะสมกับโครงการเฉพาะ (Project’s Defined Process).........................................27
6.5 ขั้นตอนการดาเนินงาน (Tailoring Process Activities)..........................................................................................27
บทนา
คู่มือการใช้งานกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ III
6.6 คาแนะนาในการปรับแต่งกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์..............................................................29
6.6.1 การเชื่อมโยงระหว่างโครงการกับกระบวนการมาตรฐาน (Organiztion Process Standard Mapping) ........29
6.6.2 แนวทางการจัดทาเอกสารการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์....................................................................29
6.6.3 เกณฑ์การเลือก SDLC และ Process ของโครงการ.......................................................................................29
6.6.4 การกาหนดเอกสารของโครงการ..................................................................................................................29
6.6.5 เงื่อนไข (Criteria) ในการยกเว้น Work Product และ Process......................................................................30
6.6.6 การเตรียมข้อมูลเพื่อสนับสนุนการดาเนินงานโครงการ...............................................................................30
บทที่ 7 การจัดการสินทรัพย์กระบวนการและข้อมูลโครงการ...........................................................................................31
7.1 บทนา.....................................................................................................................................................................31
7.2 วัตถุประสงค์..........................................................................................................................................................31
7.3 แนวทางการจัดการสินทรัพย์กระบวนการ............................................................................................................31
7.3.1 ทะเบียนสินทรัพย์กระบวนการขององค์กร...................................................................................................31
7.3.2 ความเป็นเจ้าของสินทรัพย์............................................................................................................................31
7.3.3 การจัดหมวดหมู่ข้อมูลและสินทรัพย์............................................................................................................31
7.3.4 การตั้งชื่อสินทรัพย์........................................................................................................................................32
7.3.5 สถานะของสินทรัพย์.....................................................................................................................................32
7.3.6 การประกาศให้ใช้สินทรัพย์..........................................................................................................................32
7.3.7 การควบคุมการเข้าถึง (Access Control).......................................................................................................33
7.3.8 นโยบายการสารองข้อมูล..............................................................................................................................33
7.3.9 การกาหนดรายละเอียดเพื่ออธิบายสินทรัพย์กระบวนการ............................................................................33
บทที่ 8 แนวทางการจัดการโครงแบบข้อมูล (Configuration Management)..................................................................35
8.1 บทนา.....................................................................................................................................................................35
8.2 วัตถุประสงค์..........................................................................................................................................................35
8.3 ขอบเขต..................................................................................................................................................................35
8.4 ผลลัพธ์การดาเนินงาน...........................................................................................................................................36
8.5 บทบาทหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง.......................................................................................................................................36
8.6 แนวทางในการดาเนินงาน.....................................................................................................................................36
8.7 ข้อกาหนดการใช้งาน.............................................................................................................................................37
8.7.1 การตั้งชื่อไฟล์เอกสาร (Naming Management)............................................................................................37
8.7.2 การจัดการเวอร์ชัน (Version Management)..................................................................................................37
8.7.3 การจัดเก็บข้อมูลต่างๆ บนที่เก็บข้อมูลของโครงการ (Project Repository)..................................................38
8.7.4 การจัดทาเป็นบรรทัดฐาน (Baseline)...........................................................................................................38
8.8 การบริหารความเปลี่ยนแปลง (Change Management).........................................................................................38
8.9 สิ่งที่ต้องควบคุมการเปลี่ยบแปลงสาหรับกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์......................................39
บทที่ 9 การประเมินกระบวนการ (Process Assessment).................................................................................................40
บทนา
คู่มือการใช้งานกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ IV
9.1 บทนา.....................................................................................................................................................................40
9.2 วัตถุประสงค์..........................................................................................................................................................40
9.3 โครงสร้างบุคลากร................................................................................................................................................41
9.4 เกณฑ์ในการตรวจประเมินและกิจกรรมการประเมิน...........................................................................................41
9.5 มาตรฐาน ISO/IEC 15504-5:2012........................................................................................................................42
9.6 ขั้นตอนการการประเมิน........................................................................................................................................44
9.7 การนาผลการประเมินไปใช้..................................................................................................................................44
บทที่ 10 การวัดและวิเคราะห์ (Measurement and Analysis)............................................................................................46
10.1 บทนา.....................................................................................................................................................................46
10.2 วัตถุประสงค์..........................................................................................................................................................46
10.3 บทบาทหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง.......................................................................................................................................46
10.4 กระบวนการวัด......................................................................................................................................................46
10.4.1 แบบจาลองกระบวนการวัด (Measurement Process Model)........................................................................46
10.4.2 ประโยชน์ของการวัดและวิเคราะห์...............................................................................................................48
10.5 การระบุและการวัดคุณภาพของการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ ...................................................................48
10.6 ตัวอย่างการแม่แบบในการนิยามการวัด................................................................................................................49
บทที่ 11 การปรับปรุงกระบวนการอย่างต่อเนื่อง (Continuous Process Improvement)..................................................50
11.1 บทนา.....................................................................................................................................................................50
11.2 วัตถุประสงค์..........................................................................................................................................................50
11.3 บทบาทหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง.......................................................................................................................................51
11.4 แนวคิดในปรับปรุงกระบวนการ...........................................................................................................................51
11.5 การปรับปรุงกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ตามแบบจาลอง IDEAL Model........................................................52
11.6 เงื่อนไขความสาเร็จในการปรับปรุงกระบวนการ..................................................................................................54
11.7 กิจกรรมในการปรับปรุงกระบวนการซอฟต์แวร์..................................................................................................54
11.7.1 ระยะเริ่มต้น (Initiating Phase)......................................................................................................................54
11.7.2 ระยะการวินิจฉัย (Diagnosing Phase)...........................................................................................................54
11.7.3 ระยะการวางแผน (Establishing Phase)........................................................................................................54
11.7.4 ระยะการดาเนินงาน (Acting Phase).............................................................................................................55
11.7.5 ระยะการเรียนรู้ (Leveraging Phase).............................................................................................................55
บทที่ 12 การจัดทาให้เป็นมาตรฐานองค์กร.........................................................................................................................56
12.1 บทนา.....................................................................................................................................................................56
12.2 วัตถุประสงค์..........................................................................................................................................................56
12.3 มาตรฐานกระบวนการซอฟต์แวร์ขององค์กร.......................................................................................................56
12.4 คาแนะนาในการพัฒนากระบวนการมาตรฐานขององค์กร...................................................................................56
12.4.1 คานิยามที่ชัดเจนของกระบวนการ................................................................................................................57
บทนา
คู่มือการใช้งานกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ V
12.4.2 คุณลักษณะในการใช้ซ้าได้ของมาตรฐานกระบวนการ................................................................................57
12.4.3 การสงวนรักษาคุณสมบัติในมาตรฐานในระหว่างการปรับแต่ง...................................................................58
12.4.4 ทาให้ง่ายต่อการทาความเข้าใจ......................................................................................................................58
12.4.5 ใช้ภาษาทั่วไปในองค์กร................................................................................................................................58
12.4.6 ใช้รูปภาพช่วยประกอบความเข้าใจ...............................................................................................................58
12.5 กิจกรรมในการประกาศใช้มาตรฐานองค์กร.........................................................................................................58
ภาคผนวก ก หลักการออกแบบซอฟต์แวร์ด้วยแนวคิดเชิงวัตถุ........................................................................................ก
ก.1 บทนา......................................................................................................................................................................ก
ก.2 วัตถุประสงค์...........................................................................................................................................................ก
ก.3 ผลลัพธ์การดาเนินงาน............................................................................................................................................ก
ก.4 แนวคิดของการออกแบบตามหลักการของการออกแบบเชิงวัตถุ..........................................................................ก
ก.5 ขั้นตอนของการออกแบบตามหลักการของการออกแบบเชิงวัตถุ.........................................................................ข
ก.5.1.1ระบุส่วนที่ควรเป็นวัตถุ..................................................................................................................................ข
ก.5.1.2สร้างแบบจาลองของกับวัตถุ..........................................................................................................................ข
ก.5.1.3จาแนกประเภทของวัตถุตามลักษณะการทางาน............................................................................................ค
ก.5.1.4ออกแบบอัลกอริทึม.......................................................................................................................................ค
ก.5.1.5ออกแบบความสัมพันธ์ของวัตถุ....................................................................................................................ค
ก.6 ขั้นตอนของการปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพตามหลักการของการออกแบบเชิงวัตถุ........................................จ
ภาคผนวก ข กรรมวิธีสาหรับการปรับแต่งกระบวนการ...................................................................................................ฉ
ข.1 โมดูลกระบวนการ..................................................................................................................................................ฉ
ข.2 การจับคู่และการแปลง ( Mapping/Translation )....................................................................................................ช
ข.3 การเพิ่มเอนทิตีกระบวนการ (Process Entity Addition).........................................................................................ช
ข.4 การลบเอนทิตีกระบวนการ (Process Entity Deletion)..........................................................................................ช
ข.5 การแบ่งแยกเอนทิตีกระบวนการ (Process Entity Splitting)..................................................................................ซ
ข.6 การรวมเอนทิตีกระบวนการ (Process Entity Merging).........................................................................................ฌ
ข.7 การทวนสอบและเทียบกับมาตรฐาน......................................................................................................................ฌ
ข.8 การตรวจสอบความถูกต้องของไวยากรณ์ (Syntactic Correctness Checking)..................................................... ญ
ข.9 การตรวจสอบความสอดคล้องตามประเภท.......................................................................................................... ญ
ข.10 การประเมินความสอดคล้องตามมาตรฐาน............................................................................................................ฎ
ภาคผนวก ค การนิยามความเสี่ยง.....................................................................................................................................ฏ
ค.1 นิยามปัจจัยเสี่ยง (Risk Factor)...............................................................................................................................ฏ
ค.2 นิยามผลกระทบ (Impact).......................................................................................................................................ฏ
ภาคผนวก ง การนิยามมาตรวัด........................................................................................................................................ฐ
ภาคผนวก จ ข้อกาหนดของผลิตภัณฑ์และชิ้นงาน..........................................................................................................ณ
บทนา
คู่มือการใช้งานกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ VI
ภาคผนวก ฉ นโยบาย เป้าหมายและทิศทางขององค์กร....................................................................................................ต
ภาคผนวก ช คาแนะนาด้านความสามารถที่จาเป็นของทีมงาน........................................................................................ถ
บทนา
คู่มือการใช้งานกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ VII
บทที่ 2 สารบัญรูป
ภาพที่ 3-1 ภาพรวม การเตรียมความพร้อมกระบวนการ........................................................................................................10
ภาพที่ 3-2 ปัจจัยสู่ความสาเร็จของการใช้งานกระบวนการมาตรฐาน ....................................................................................15
ภาพที่ 3-3 ขั้นตอนการใช้กระบวนการปรับปรุงในโครงการ................................................................................................17
ภาพที่ 5-1โครงสร้างองค์กรสาหรับกระบวนการปรับปรุง.....................................................................................................21
ภาพที่ 5-2 Product and Process Quality Assurance................................................................................................................23
ภาพที่ 5-3 Specific Deverlopment Project..............................................................................................................................24
ภาพที่ 6-1 Project Tailoring....................................................................................................................................................27
ภาพที่ 6-2 กิจกรรมในกระบวนการ Tailoring.......................................................................................................................28
ภาพที่ 8-1 ขั้นตอนการจัดการโครงแบบข้อมูล.......................................................................................................................36
ภาพที่ 9-1 บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการประเมินกระบวนการ...................................................................................................41
ภาพที่ 9-2 แบบจาลองขั้นตอนการสร้างแบบประเมินกระบวนการและการวัดผล.................................................................41
ภาพที่ 9-3 โครงสร้างการประเมิน ISO/IEC 15504................................................................................................................43
ภาพที่ 9-4 กรอบการประเมินมาตรฐาน ISO/IEC 15504........................................................................................................43
ภาพที่ 9-5 ขั้นตอนในการประเมินกระบวนการ.....................................................................................................................44
ภาพที่ 9-6 การนาผลการประเมินไปใช้...................................................................................................................................44
ภาพที่ 9-7 การใช้ISO/IEC 15504 ในการปรับปรุงกระบวนการ...........................................................................................45
ภาพที่ 10-1 แบบจาลองการวัด................................................................................................................................................47
ภาพที่ 11-1 แนวทางการปรับปรุงกระบวนการ......................................................................................................................51
ภาพที่ 11-2 แบบจาลอง IDEAL*............................................................................................................................................53
ภาพที่ 12-1 ภาพรวมการพัฒนากระบวนการ..........................................................................................................................57
ภาพที่ 12-2 กิจกรรมในการประกาศใช้มาตรฐาน..................................................................................................................58
บทนา
คู่มือการใช้งานกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ VIII
บทที่ 3 สารบัญตาราง
ตารางที่ 1 คาย่อและนิยามคาศัพท์ที่ใช้ในเอกสาร.....................................................................................................................2
ตารางที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง....................................................................................................................................................2
ตารางที่ 3 องค์ประกอบที่สาคัญของเอกสาร.............................................................................................................................3
ตารางที่ 4 คาอธิบายการให้รายละเอียดกิจกรรม.......................................................................................................................5
ตารางที่ 5 รายการของผลผลิตในกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ที่ต้องได้รับการควบคุม...............................12
ตารางที่ 6 เกณฑ์คุณภาพ.........................................................................................................................................................13
ตารางที่ 7 บทบาทหน้าที่ที่เกี่ยวข้องในการบริหารจัดการโครงแบบข้อมูล............................................................................20
ตารางที่ 8 บทบาทหน้าที่รับผิดชอบที่เกี่ยวข้องสาหรับโครงการ...........................................................................................24
ตารางที่ 9 หมวดหมู่ของสินทรัพย์..........................................................................................................................................31
ตารางที่ 10 ตัวอย่างการให้รายละเอียดการใช้งานสินทรัพย์...................................................................................................33
ตารางที่ 11 ตัวอย่างการให้รายละเอียดสินทรัพย์....................................................................................................................34
ตารางที่ 12 บทบาทหน้าที่ที่เกี่ยวข้องในการบริหารจัดการโครงแบบข้อมูล..........................................................................36
ตารางที่ 13 รายการของผลผลิตในกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ที่ต้องได้รับการควบคุม.............................39
ตารางที่ 14 บทบาทหน้าที่ในการวัดและการวิเคราะห์............................................................................................................46
ตารางที่ 15 สิ่งที่แสดงคุณภาพที่สาคัญโดยทั่วไปของแบบจาลองของซอฟต์แวร์ตามหลักการเชิงวัตถุ.................................48
ตารางที่ 16 มาตรวัดสาหรับการประเมินคุณภาพของเอกสารแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์....................................................49
ตารางที่ 17 บทบาทหน้าที่ที่เกี่ยวข้องในการปรับปรุงกระบวนการอย่างต่อเนื่อง.................................................................51
ตารางที่ 18 การนิยามมาตรวัดค่าประสิทธิภาพการทางานในแต่ละกระบวนการ....................................................................ฐ
ตารางที่ 19 ข้อกาหนดของผลิตภัณฑ์และชิ้นงานในแต่ละกระบวนการ................................................................................ณ
ตารางที่ 20 ข้อกาหนดของผลิตภัณฑ์และชิ้นงานในแต่ละกระบวนการ.................................................................................ต
ตารางที่ 18 รายละเอียดบทบาทและความสามารถที่จาเป็นในการดาเนินโครงการ ................................................................ถ
บทนา
คู่มือการใช้งานกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ IX
บทที่ 4 ประวัติการแก้ไขเอกสาร
Version วันที่ การแก้ไข
0.0.1 23/03 เริ่มต้นร่างหัวข้อ
0.0.2 16/04 รวมเอกสารจากสมาชิกทุกคน
0.0.3 18/04 เพิ่มเนื้อหาในบทนา เป็นภาพรวมคู่มือ
0.0.4 19/04 แก้ไขเนื้อหา การวัดและวิเคราะห์
0.0.5 19/04 แก้ไขเนื้อหาการประเมินกระบวนการ
0.0.6 19/04 แก้ไขเนื้อหา ปัจจัยสู่ความสาเร็จ
0.0.7 19/04 ย้าย หลักการออกแบบซอฟต์แวร์ด้วยแนวคิดเชิงวัตถุ ไปไว้ภาคผนวก
0.0.8 20/04 ปรับแก้ไขตรวจทานเอกสาร
1.0.0 21/04 เอกสารฉบับสมบูรณ์
1.0.1 5/05 แก้ไข บทที่ 6 เพิ่มเนื้อหาความสอดคล้องกับมาตรฐาน
แก้ไขภาคผนวก ข เพิ่มรูปตัวอย่าง การปรับแต่งโมดูลกระบวนการ
เพิ่มรายการบทความที่นามาใช้ทั้งในบทที่ 6 และ ภาคผนวก ข
1.1.0 11/05 ตรวจสอบคาผิดและรูปแบบครั้งที่ 1
การอนุมัติ
วันที่ประกาศใช้ <วันที่ / เดือน / พ.ศ.>
เข้าถึงได้จาก <ชื่อระบบงาน / กลุ่มงาน / กลุ่มข้อมูล / รุ่นเอกสาร>
ผู้บันทึกข้อมูล <ชื่อผู้นาแบบฟอร์มเข้าสู่ระบบ>
แจ้งปรับปรุง <วันที่ / เดือน / พ.ศ.>: <ช่องทางการปรับปรุง>
ผู้ตรวจทาน ผู้อนุมัติ
…………………………………………. ………………………………………….
(<ชื่อผู้รับตรวจทาน>) (<ชื่อผู้อานาจอนุมัติ>)
<วันที่ / เดือน / พ.ศ.> <วันที่ / เดือน / พ.ศ.>
บทนา
คานา
การปรับปรุงกระบวนการซอฟต์แวร์ (SPI) เป็นกิจการที่ท้าทายสาหรับองค์กร ทีมงานหวังว่า
แนวทางที่กาหนดไว้ในเอกสารฉบับนี้จะช่วยให้องค์กร รวมถึงหน่วยงาน และโครงการต่าง ๆ ได้รับ
ประโยชน์จากเอกสารนิยามกระบวนการและคู่มือฉบับนี้ เพื่อให้การพัฒนาซอฟต์แวร์มีคุณภาพมาตรฐาน
และสร้างความพึงพอใจแก่ลูกค้า
ทีมงานผู้จัดทา
บทนา
บทที่ 1 บทนา
1.1 ที่มาและความสาคัญ
คู่มือสาหรับการแนะนาแนวทางในการนาเอากระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นไปใช้งาน
(Software Detailed Design Process Guidelines) ฉบับนี้ จัดทาขึ้นภายใต้โครงการ การนิยามและปรับปรุงกระบวนการ
ออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ในความสามารถระดับที่ 3 ตามเกณฑ์การประเมินจากมาตรฐาน ISO/IEC 15504 เพื่อให้
องค์กรรวมถึงหน่วยงาน และโครงการต่าง ๆ ได้รับประโยชน์จากเอกสารนิยามกระบวนการและมีบรรทัดฐานที่ดีในการนา
กระบวนการไปปรับใช้ให้เหมาะสมแต่ละโครงการ
ซึ่งเอกสารฉบับนี้จะจัดเตรียมข้อมูลหรือเครื่องมือที่สนับสนุนกระบวนการทางาน เช่น นโยบาย มาตรฐาน
แม่แบบ แบบบันทึกข้อมูลตัวอย่างการใช้งาน เครื่องมืออัตโนมัติ แนวทางในการกาหนดโครงสร้างพื้นฐาน แนวทางในการ
ประเมินและวัดผลกระบวนการ ตลอดจนการจัดเก็บและการจัดการข้อมูลต่าง ๆ เพื่อให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องสามารถเข้าถึง
ข้อมูลได้อย่างเป็นระบบ รวมถึงสร้างกระบวนการในการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
1.2 วัตถุประสงค์
1) เอกสารฉบับนี้จัดทาขึ้นเพื่อนาเสนอขั้นตอนวิธีการปรับใช้กระบวนการมาตรฐานตั้งแต่การเตรียมความพร้อม
ไปจนถึงแนวทางเพื่อนาคานิยามกระบวนการไปจัดทาเป็นมาตรฐานระดับองค์กร
2) เพื่อให้องค์กร หน่วยงาน และโครงการต่าง ๆ ได้รับประโยชน์จากเอกสารนิยามกระบวนการนี้ให้เกิดบรรทัด
ฐานที่ดีในการนากระบวนการไปปรับใช้ให้เหมาะสมแต่ละโครงการ
1.3 ขอบเขตของเอกสาร
เอกสารฉบับนี้ครอบคลุมถึงแนวทางในการปรับปรุงกระบวนการ ดังต่อไปนี้
1) ภาพรวมของการปรับปรุงกระบวนการ
2) ปัจจัยสู่ความสาเร็จ
3) นโยบายเบื้องต้นสาหรับกระบวนการปรับปรุง
4) นิยามกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
5) การเตรียมความพร้อมองค์กร และบุคลากรก่อนเริ่มโครงการ
6) การวางแผนการปรับปรุง
7) การจัดเตรียมโครงสร้างพื้นฐาน
8) การปรับกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับลักษณะเฉพาะของโครงการและองค์กร
9) การจัดการสินทรัพย์กระบวนการขององค์กรและข้อมูลโครงการ
10) การวัดระดับความสามารถของกระบวนการ
11) การวัดและวิเคราะห์ เพื่อควบคุมคุณภาพทั้งผลิตภัณฑ์และกระบวนการ
12) แนวทางการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
13) การนาไปใช้เป็นมาตรฐานขององค์กร
บทนา
คู่มือการใช้งานกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ 2
นอกจากนี้เอกสารฉบับนี้ครอบคลุมถึงเนื้อหาเพิ่มเติม ดังต่อไปนี้
1) หลักการการออกแบบซอฟต์แวร์เชิงวัตถุ
2) นิยามการวัดกระบวนการ
3) กรรมวิธีการปรับแต่งกระบวนการ และการทวนสอบกระบวนการหลังการปรับแต่ง
1.4 คาย่อและนิยามคาศัพท์ที่ใช้ในเอกสาร
ตารางที่ 1 คาย่อและนิยามคาศัพท์ที่ใช้ในเอกสาร
คาศัพท์/ตัวย่อ ความหมาย
OSSP Organization's Standard Software Process คือกระบวนการมาตรฐานที่นิยามขึ้นสาหรับองค์กร
ซึ่งผู้ใช้กระบวนการนั้นๆ จาเป็นต้องทราบและดาเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้อง
OPAL Organization's Process Asset Library คือที่เก็บเอกสารหรือ Work Product ต่างๆ ของ
กระบวนการในระดับองค์กร
Work Product สิ่งที่เกิดขึ้นในการทากระบวนการ เช่น แผนภาพ ซอร์สโค้ด
PGL คู่มือกระบวนการ เป็นเอกสารอธิบายกระบวนการทางานขององค์กร
TGL Template Guideline เป็นเอกสารต้นแบบเปล่าสาหรับให้ผู้ใช้งานนาไปใช้
Sub Process กระบวนการย่อยภายใต้กระบวนการ
Procedure เอกสารแสดงแนวทางการทางาน หรือการปฏิบัติงานหลัก
Plan เอกสารแสดงการปฏิบัติงานในรายละเอียดเฉพาะของแต่ละโครงการ โดยพิจารณาทั้งเรื่องของ
เป้าหมาย, การจัดการทรัพยากร และการวัดผลเป็นระยะๆ (Milestone) ของโครงการนั้นๆ
Records รายการการบันทึกของการทางานในกิจกรรมต่างๆ
Documents เอกสารอื่น นอกเหนือจาก กระบวนงาน แผน และรายการบันทึกที่ทาขึ้นหรือต้องมีในการทางาน
เช่น เอกสารสรุปผลการทางาน, เอกสารนาเสนอข้อมูล และข้อกาหนด
Audits and Reviews หลักฐานหรือเอกสาร แสดงการตรวจสอบและการวิเคราะห์การทางานในกิจกรรมต่างๆ
1.5 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ตารางที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รหัส ชื่อเอกสาร คาอธิบายและความสาคัญ
SDD- OSP กระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
(กระบวนการมาตฐานองค์กร)
เอกสารอธิบายกระบวนการทางานของ
องค์กร
TGL Template Guideline เอกสารอธิบายวิธีการใช้งานเอกสารแม่แบบ
(Template)
บทนา
คู่มือการใช้งานกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ 3
1.6 ภาพรวมเอกสาร
เอกสารฉบับนี้ประกอบด้วยเนื้อหาที่สาคัญดังต่อไปนี้
ตารางที่ 3 องค์ประกอบที่สาคัญของเอกสาร
บทที่ หัวข้อ หน้า
บทที่ 2 กระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
อธิบายข้อมูลเบื้องต้นถึงการนิยามกระบวนการการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
ข้อควรปฏิบัติในการปฏิบัติงานในกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
5
บทที่ 3 ขั้นตอนการดาเนินโครงการ
แนวทางในการดาเนินงานตั้งแต่การเตรียมความพร้อม และภาพรวมในการทา SPI
รวมถึงปัจจัยสู่ความสาเร็จในการปรับปรุงกระบวนการ
10
บทที่ 4 การวางแผนการปรับปรุงกระบวนการ
การวางแผนในระดับปฏิบัติการก่อนที่จะมีการเริ่มใช้กระบวนการปรับปรุง
18
บทที่ 5 การจัดเตรียมโครงสร้างพื้นฐานขององค์กร
เพื่อให้แนวทางในการจัดตั้งทีมงานและโครงสร้างองค์กรเพื่อดาเนินงานในส่วนของ SPI
20
บทที่ 6 การปรับกระบวนการให้เหมาะสมกับลักษณะเฉพาะของโครงการ (Tailor)
การปรับกระบวนการให้เหมาะสมกับลักษณะเฉพาะของโครงการในส่วนของ
กระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
25
บทที่ 7 การจัดการสินทรัพย์กระบวนการและข้อมูลโครงการ
การบริหารจัดการสินทรัพย์กระบวนการขององค์กร รวมถึงข้อมูลที่เกิดขึ้นใน
กระบวนการทางานเพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องสามารถเข้าถึงและง่ายต่อการประเมิน
กระบวนการ
31
0 Error! Not a valid result for table.
การจัดการสินทรัพย์กระบวนการขององค์กรโดยการใช้เครื่องมือในการบริหาร
จัดการโครงแบบข้อมูลเพื่อให้การจัดการมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
35
บทที่ 9 การประเมินกระบวนการ (Process Assessment)
เพื่ออธิบายถึงแนวคิดในการประเมินกระบวนการ วัตถุประสงค์ในการประเมิน
40
บทที่ 10 การวัดและวิเคราะห์ (Measurement and Analysis)
เพื่ออธิบายถึงความสาคัญของการวัดและวัตถุประสงค์ของการวัดรวมถึงการนาผล
จากการวัดไปใช้ในการปรับปรุงคุณภาพของกระบวนการ
46
บทที่ 11 การปรับปรุงกระบวนการอย่างต่อเนื่อง (Continuous Process Improvement)
แนวทางในระยะยาวขององค์กร โดยในบทนี้จะเสนอแนวคิดเบื้องต้นใน
กระบวนการปรับปรุงกระบวนการอย่างต่อเนื่อง
50
บทที่ 12 การจัดทาให้เป็นมาตรฐานองค์กร
เพื่ออธิบายถึงแนวคิดในการจัดทากระบวนการที่นิยามขึ้นนี้ไปใช้เป็นมาตรฐานของ
องค์กรและนาไปใช้กับโครงการอื่น ๆ ทั้งหมด
56
บทนา
คู่มือการใช้งานกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ 4
บทที่ หัวข้อ หน้า
ภาคผนวก ก หลักการออกแบบซอฟต์แวร์ด้วยแนวคิดเชิงวัตถุ
นาเสนอแนวทางปฏิบัติในการออกแบบเชิงวัตถุเพื่อให้นักออกแบบหรือทีมงาน
โครงการมีความเข้าใจไปในทิศทางเดียวกัน
ก
ภาคผนวก ข กรรมวิธีสาหรับการปรับแต่งกระบวนการ
แนวทางปฎิบัติในการปรับแต่งกระบวนการ และสามารถรักษาลักษณะเฉพาะของ
กระบวนการมาตรฐานให้มากที่สุด
ฉ
ภาคผนวก จ ข้อกาหนดของผลิตภัณฑ์และชิ้นงาน
เป็นข้อกาหนดและข้อมูลที่ควรจะมีในชิ้นงานต่าง ๆ เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐาน
เดียวกัน
ณ
ภาคผนวก ฉ นโยบาย เป้าหมายและทิศทางขององค์กร
แสดงนโยบายและเป้าหมายขององค์กรในการปรับปรุงกระบวนการ
ต
ภาคผนวก ช คาแนะนาด้านความสามารถที่จาเป็นของทีมงาน
เป็นคาแนะนาสาหรับความสามารถที่สาคัญของทีมงาน
ถ
กระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
บทที่ 2 กระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
2.1 ขอบเขตของนิยามกระบวนการ
เอกสารนิยามกระบวนการการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ (SDD- OSP) เป็นเอกสารกระบวนการมาตรฐาน
สาหรับองค์กร โดยเอกสารนิยามกระบวนการฉบับนี้เป็นการนิยามกระบวนการที่เฉพาะเจาะจงสาหรับโครงการ
ที่ใช้ระเบียบวิธีแบบสกรัม (Scrum Methodology)
วัตถุประสงค์ของการนิยามกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์นั้นเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐาน ISO/IEC
12207และได้ระดับความสามารถที่ 3 ตามเกณฑ์มาตรฐาน ISO/IEC 15504โดยมีเป้าหมายที่จะนาไปใช้ในโครงการพัฒนา
ระบบธุรกรรมทางอินเทอร์เน็ตผ่านโมบายแอปพลิเคชัน เป็นโครงการแรก
2.2 คาอธิบายการให้รายละเอียดนิยามกระบวนการ
การนิยามกระบวนการการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ จะเสนอเป็นภาพรวมของกระบวนการที่นาเสนอเป็น
แผนภาพกิจกรรม (Activity Diagram) เพื่อแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมกับผู้รับผิดชอบและผู้ที่เกี่ยวข้อง
ในกิจกรรม นอกจากนี้แผนภาพกิจกรรมยังแสดงให้เห็นถึงรายการของกิจกรรมที่ต้องมีและทรัพยากรที่ต้องใช้
ทุก ๆ กิจกรรมบนแผนภาพจะมีการให้รายละเอียดของการนิยามกระบวนการในแต่ละขั้นตอน เพื่อให้ได้คาอธิบายการ
นิยามกระบวนการการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ และรายการกิจกรรมที่ต้องนาเข้า และนาออกของกิจกรรม
โดยนาเสนอในรูปแบบของตาราง โดยในแต่ละตารางจะประกอบด้วยรายการหัวข้อ ดังนี้
ตารางที่ 4 คาอธิบายการให้รายละเอียดกิจกรรม
รายการข้อมูล คาอธิบาย
หมายเลขอ้างอิง รหัสสาหรับอ้างอิงกระบวนการ ไม่ควรซ้ากัน
ชื่อกิจกรรม ระบุชื่อของกิจกรรมซึ่งไม่ควรที่จะซ้ากับกระบวนการอื่น ๆ
วัตถุประสงค์ คาอธิบายเกี่ยวกับวัตถุประสงค์
ผลลัพธ์ ผลลัพธ์ที่ได้จากการดาเนินกิจกรรมนี้
บทบาทและความรับผิดชอบ ระบุบทบาท และหน้าที่ความรับผิดชอบที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมนี้
ข้อมูลนาเข้า รายการข้อมูลนาเข้าเพื่อเริ่มต้นกิจกรรมพร้อมระบุกิจกรรมหรือ
กระบวนการต้นทางที่ผลิตข้อมูลนี้
ข้อมูลส่งออก รายการของข้อมูลที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมนี้ พร้อมระบุกิจกรรม หรือ
กระบวนการปลายทางที่จะนาข้อมูลส่งออกนี้ไปใช้
เงื่อนไขก่อนเริ่มต้น (Entry Criteria) เงื่อนไข งาน หรือทรัพยากรที่ต้องจัดเตรียม หรือดาเนินการก่อนเริ่มต้น
กิจกรรมนี้ได้
เงื่อนไขการจบสิ้น (Exit Criteria) เงื่อนไข งาน หรือทรัพยากรที่ต้องจัดเตรียม หรือดาเนินการก่อนที่จะสิ้นสุด
กิจกรรมนี้ได้
กระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือการใช้งานกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ 6
รายการข้อมูล คาอธิบาย
กระบวนการทางาน (Procedure) อธิบายกระบวนการทางาน และผู้รับผิดชอบ รายการของกิจกรรมที่เกิดขึ้น
อาจจะมีข้อย่อยอยู่ภายในได้
รายการที่จาเป็นต้องใช้ ชื่อรายการข้อมูลที่ต้องใช้เช่น แม่แบบต่างๆที่ต้องใช้
คุณภาพที่คาดหวัง (Quality Expectation) รายการความคาดหวังของผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากกระบวนการนี้
การวัดผลกิจกรรม (Process Measure) วิธีการวัดผล เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มีคุณภาพตามที่คาดหวัง
ทางเลือกการปรับแต่ง ข้อกาหนดที่สาคัญที่ช่วยในการปรับแต่ง อาทิเช่น การกาหนดให้กิจกรรม
เป็นกิจกรรมบังคับสาหรับทุกๆโครงการ
กระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือการใช้งานกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ 7
2.3 ภาพรวมการปรับปรุงกระบวนการซอฟต์แวร์ (SPI)
ภาพที่ 2-1 ภาพรวมการปรับปรุงกระบวนการซอฟต์แวร์
กระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือการใช้งานกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ 8
2.4 ข้อควรปฏิบัติในกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
เพื่อคุณภาพที่ดีของกระบวนการออกแบบซอฟต์แวร์ ผู้นากระบวนการที่นิยามขึ้นไปใช้จะต้องคานึงถึงสิ่งต่อไปนี้
2.4.1 การวางแผนการออกแบบ (Design Planning)
องค์กรจะต้องวางแผนและควบคุมการออกแบบของผลิตภัณฑ์ ระหว่างการวางแผนการออกแบบจะต้องกาหนดถึง
1) ขั้นตอนต่าง ๆ ของการออกแบบ และการพัฒนา
2) การทบทวน การทวนสอบ และการรับรองที่เหมาะสมกับการออกแบบซอฟต์แวร์1
3) หน้าที่ความรับผิดชอบและอานาจต่างๆ ในการออกแบบ
องค์กรต้องจัดการ การประสานงานระหว่างกลุ่มต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบและพัฒนา เพื่อให้มั่นใจว่า
การสื่อสารมีประสิทธิภาพ และการกาหนดความรับผิดชอบมีความชัดเจน ผลลัพท์การออกแบบต้องปรับปรุงให้ทันสมัย
ตามความเหมาะสม ที่การออกแบบและพัฒนาต่อไปในอนาคต
องค์กรจะต้องบริหารการประสานงานร่วมระหว่างกลุ่มต่างๆ ที่มีส่วนร่วมในการออกแบบและพัฒนา เพื่อให้
มั่นใจว่าติดต่อสื่อสารเป็นไปอย่างมีประสิทธิผล และมีความชัดเจนในการมอบหมายความรับผิดชอบ ผลการวางแผน
จะต้องถูกปรับปรุงให้ทันสมัยตามความเหมาะสมในกระบวนการออกแบบและการพัฒนาคืบหน้าต่อไป
2.4.2 ข้อมูลในการออกแบบ (Design Inputs)
ข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับข้อกาหนดต่าง ๆ ของผลิตภัณฑ์จะต้องถูกกาหนดและบันทึกรักษาไว้ ข้อมูลเหล่านี้จะต้อง
ประกอบด้วย
1) ข้อกาหนดต่างๆ เกี่ยวกับการทางานและสมรรถนะ
2) ระเบียบข้อบังคับต่างๆ ทางกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
3) ข้อมูลที่ได้มาจากการออกแบบที่คล้ายกันในครั้งก่อน (ถ้ามี)
4) ข้อกาหนดอื่น ๆ ที่สาคัญสาหรับการออกแบบ
ข้อมูลเหล่านี้จะต้องถูกทบทวนถึงความครบถ้วนถูกต้อง ข้อกาหนดต่าง ๆจะต้องสมบูรณ์ไม่คลุมเครือและไม่ขัดแย้ง
2.4.3 ผลลัพธ์ของการออกแบบ (Design Outputs)
ผลลัพท์ต่าง ๆ ของการออกแบบจะต้องถูกจัดไว้ในรูปแบบที่เหมาะสมกับการทวนสอบกับข้อมูลการออกแบบได้
และจะต้องได้รับการอนุมัติก่อนนาไปเผยแพร่
1
การทบทวน การทวนสอบ และการรับรองการออกแบบและพัฒนามีวัตถุประสงค์ต่างกันอย่างชัดเจนสามารถ
ดาเนินการและบันทึกแยกกัน หรือมีการรวมกันตามที่เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์หรือองค์กร
กระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือการใช้งานกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ 9
ผลลัพธ์ของการออกแบบจะต้อง
1) ตรงกันกับข้อกาหนดต่าง ๆ ของการออกแบบและการพัฒนา
2) ให้ข้อมูลที่เหมาะสมในการดาเนินการพัฒนาและการทดสอบ
3) ประกอบด้วย หรืออ้างอิงถึงเกณฑ์ในการยอมรับผลิตภัณฑ์
4) ระบุถึงคุณลักษณะต่าง ๆ ของผลิตภัณฑ์ที่จาเป็นและความเหมาะสม
2.4.4 การทบทวนการออกแบบ (Design Review)
การทบทวนการออกแบบอย่างเป็นระบบจะต้องถูกดาเนินการตามแผนการที่วางเอาไว้อย่างเหมาะสมต่างๆ โดย
วัตถุประสงค์ของการทบทวนการออกแบบ คือ
1) เพื่อประเมินความสามารถของผลการออกแบบที่จะบรรลุถึงข้อกาหนดต่าง ๆ
2) เพื่อที่จะระบุถึงปัญหาต่าง ๆ และเสนอให้มีการดาเนินการที่จาเป็น
ผู้ที่เข้าร่วมในการทบทวนจะต้องประกอบด้วยตัวแทนของฝ่ายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับขั้นตอนการออกแบบนั้น ๆ
บันทึกผลการทบทวน และการดาเนินการที่จาเป็นนั้นจะต้องถูกรักษาไว้
2.4.5 การทวนสอบการออกแบบ (Design Verification)
จะต้องทาการทวนสอบตามแผนที่วางเอาไว้เพื่อให้มั่นใจว่าผลลัพธ์ต่าง ๆ ของการออกแบบได้บรรลุข้อกาหนด
ต่าง ๆด้านข้อมูลการออกแบบและการพัฒนา บันทึกผลการทวนสอบและการดาเนินการที่จาเป็นต่าง ๆนั้นจะต้องถูกรักษาไว้
2.4.6 การรับรองการออกแบบ (Design Validation)
จะต้องทาการรับรองการออกแบบตามที่วางแผนเอาไว้ เพื่อให้มั่นใจว่าผลิตภัณฑ์ที่ออกมานั้นสามารถบรรลุ
ข้อกาหนดต่าง ๆ ในการใช้งานตามที่กาหนดเอาไว้และถ้าสามารถทาได้ในทางปฏิบัติ การรับรองจะต้องเสร็จก่อนที่
ผลิตภัณฑ์จะถูกจัดส่งหรือนาผลิตภัณฑ์ไปใช้งาน บันทึกต่าง ๆ ของผลการรับรองและการดาเนินการต่าง ๆ ที่จาเป็นนั้น
จะต้องถูกคงรักษาไว้
2.4.7 การควบคุมการเปลี่ยนแปลงการออกแบบ และการพัฒนา (Control of Design Changes)
การเปลี่ยนแปลงการออกแบบจะต้องเก็บรักษาบันทึกเอาไว้โดยการเปลี่ยนแปลงจะต้องถูกทบทวน ทวนสอบ
และรับรองตามความเหมาะสมและได้รับอนุมัติก่อนนาผลิตภัณฑ์ไปใช้งานส่วนการทบทวนการเปลี่ยนแปลงการออกแบบ
และการพัฒนาจะต้องรวมถึงการประเมินผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงที่มีต่อส่วนประกอบและผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่ได้จัดส่ง
ไปแล้ว บันทึกต่าง ๆ ของผลการทบทวนการเปลี่ยนแปลงและดาเนินการที่จาเป็นจะต้องถูกคงรักษาไว้
ขั้นตอนการดาเนินโครงการ
คู่มือการใช้งานกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ 10
บทที่ 3 ขั้นตอนการดาเนินโครงการ
3.1 ภาพรวม
การจะนากระบวนการที่นิยามขึ้นไปใช้งานนั้นองค์กรจาเป็นต้องเตรียมความพร้อมหลายประการ เช่น
การจัดเตรียมโครงสร้างพื้นฐาน การจัดเตรียมเครื่องมือและสิ่งอานวยความสะดวกรวมถึง การจัดตั้งทีมงานสนับสนุนต่าง ๆ
โดยสามารถสรุปสิ่งต่าง ๆ ที่องค์กรต้องจัดเตรียมดังหัวข้อย่อย ต่อไปนี้
ภาพที่ 3-1 ภาพรวม การเตรียมความพร้อมกระบวนการ
หมายเหตุ ในแต่ละหัวข้อสามารถศึกษาแนวทางปฏิบัติเพิ่มเติมได้ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเอกสารฉบับนี้
3.2 ขั้นตอนที่ 1: การสื่อสารในองค์กร (Organizational Alignment)
เพื่อให้บุคคลากรได้ทราบถึงเป้าหมาย และจุดประสงค์ในการปรับปรุง และการเปลี่ยนแปลงการทางาน
การดาเนินการ
1) มีการเผยแพร่ แจ้งเวียน ติดประกาศ ให้ทุกหน่วยงานหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง ทุกคนรับทราบ
2) การสร้างความมีส่วนร่วมของทุกคนในองค์กร ทั้งระดับ ผู้บริหารระดับสูง ระดับกลาง และชั้นต้น และ
ผู้ปฏิบัติงานทั่วไป
การปรับปรุง
การนาไปใช้
เป็นมาตรฐาน
องค์กร
การตรวจ
ประเมิน
การใช้งาน
กระบวนการ
เตรียมความ
พร้อม
บุคลากร
จัดตั้ง
หน่วยงานและ
โครงสร้าง
ทีมงาน
สื่อสารใน
องค์กร
การช่วยเหลือ
และแก้ไขปัญหา
แนวทางการ
จัดการโครงแบบ
ข้อมูล
การควบคุมและ
ติดตาม
ขั้นตอนการดาเนินโครงการ
คู่มือการใช้งานกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ 11
3.3 ขั้นตอนที่ 2: การจัดตั้งหน่วยงานและกาหนดโครงสร้างทีมงาน
เพื่อให้กระบวนการปรับปรุงสามารถดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากทีมพัฒนาในแต่ละโครงการเฉพาะแล้ว
องค์กรจะต้องมีการจัดตั้งหน่วยงานอิสระจากโครงการ เพิ่มขึ้นเพื่อคอยตรวจสอบติดตาม และให้การสนับสนุนโครงการ
(รายละเอียดตาม บทที่ 2 ในเอกสารฉบับนี้)
3.3.1 การจัดการองค์กร
1) วิเคราะห์ โครงสร้างปัจจุบันของข้อมูลในระบบการตัดสินของผู้บริหารระดับสูง
2) วิเคราะห์ โครงสร้างปัจจุบันของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
3) การวิเคราะห์ขอบเขตหน้าที่ ของผู้รับผิดชอบข้อมูล
4) ออกแบบปรับปรุงโครงสร้างของหน่วยงานที่ให้ข้อมูล เพื่อให้รองรับกับกระบวนการ SPI
5) กาหนดบทบาทหน้าที่ ขอบเขตภาระงาน และความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ
6) แจ้งผลการกาหนดบทบาทหน้าที่ ขอบเขตของข้อมูล ให้กับทุกหน่วยงานผู้ให้ข้อมูลทราบ
7) แจ้งเวียนบทบาทหน้าที่ ขอบเขตของข้อมูล หน้าที่ของหน่วยผู้ให้ข้อมูล ให้กับทุกคนในองค์กรทราบ และ
แจ้งเวียนเป็นลายลักษณ์อักษร
3.3.2 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
1) วิเคราะห์ความสามารถ (Competency) จัดทาคุณสมบัติตามตาแหน่งงาน คือการกาหนดขอบเขตความ
รับผิดชอบ การทางานสาคัญ ความรู้ ทักษะ และทัศนคติ ของบุคลากรในตาแหน่งงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
2) การสรรหาบุคลากรจากภายในและภายนอกที่คุณสมบัติ ความรู้ ทักษะ และทัศนคติ ตรงตามความต้องการของ
ตาแหน่งงาน และตามจานวนซึ่งขึ้นกับปริมาณงาน
3) แต่งตั้งมอบหมายความรับผิดชอบ
3.4 ขั้นตอนที่ 3: การเตรียมความพร้อมบุคลากรในโครงการ
เนื่องจากกระบวนการมาตรฐานนั้นมีข้อกาหนดด้านคุณภาพจานวนมากอ้างอิงอยู่ และมีผลให้ทีมงานโครงการ
ต้องปรับตัวและอาจจะถึงต้องปรับเปลี่ยนกระบวนการทางานเดิมที่เคยดาเนินการ ดังนั้นก่อนที่จะมีการใช้งานกระบวนการ
นี้การเตรียมความพร้อมด้านบุคลากรจึงเป็นเรื่องที่สาคัญอย่างมากซึ่งนอกจากจะเตรียมความพร้อมด้านความสามารถแล้ว
การเตรียมความพร้อมด้านทัศนคคิ เพื่อลดแรงต้านจากการปรับเปลี่ยนก็เป็นเรื่องที่สาคัญไม่แพ้กันในเบื้องต้นขอแนะนาให้
องค์กรมีการเตรียมความพร้อมด้านบุคลากร ดังนี้
1) ทาความเข้าใจถึงกระบวนการมาตรฐานองค์กรข้อดีและประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นจากการใช้กระบวนการมาตรฐาน
2) อบรมแนวทางในการปฏิบัติ และการตรวจสอบด้านคุณภาพ ข้อกาหนดด้านคุณภาพของแบบซอฟต์แวร์การ
ประเมินผลทั้งผลิตภัณฑ์และกระบวนการ
3) อบรมการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ เพื่อทาความเข้าใจถึงแนวคิดในการออกแบบเชิงวัตถุ
ทั้งนี้เพื่อให้ทีมงานออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ไปในทิศทางเดียวกัน
ขั้นตอนการดาเนินโครงการ
คู่มือการใช้งานกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ 12
3.4.1 การฝึกอบรม (Training)
1) ทาการวิเคราะห์ความต้องการในการฝึกอบรมของแต่ละตาแหน่งงานต่างๆที่เกี่ยวข้องโดยพิจารณา ความต้อง
ความรู้ ทักษะ และ ทัศนคติ ที่เพิ่มขึ้นเมื่อจัดทา SPI
2) จัดทาแผนการฝึกอบรมที่เหมาะสม ในการพัฒนา ความรู้ ทักษะ และทัศนคติ ให้สามารถใช้งานกระบวนการ
ออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ได้
3) จัดฝึกอบรมและประเมินผล ความรู้ ทักษะ และทัศนคติ ก่อนและหลังการฝึกอบรม
4) หลังจากจบภารกิจ มีการทารายงานการดาเนินงาน ประชุมผู้เกี่ยวข้องเพื่อตรวจสอบและนาไปปรับปรุงแนวทาง
ในการทาภารกิจ และระบบคุณภาพ ในครั้งต่อๆไป
3.5 ขั้นตอนที่ 4: การจัดการโครงแบบข้อมูลโครงการ (Configuration Management)
การจัดการโครงแบบข้อมูลโครงการ (Project ConfigurationManagement) เป็ นการจัดเก็บผลลัพธ์ของ
กระบวนการในคลังข้อมูลของโครงการ(Project Repository)เพื่อให้เป็นบรรทัดฐาน(Baseline) และเอกสารที่เกี่ยวข้องและ
มีการจัดการและความคุมการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ตามนโยบายที่ได้กาหนดไว้
สาหรับในกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์นั้นมีรายการที่ต้องถูกระบุใน ConfigurationManagement
Item ดังตารางต่อไปนี้
ตารางที่ 5 รายการของผลผลิตในกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ที่ต้องได้รับการควบคุม
รหัส รายการข้อมูล
TCR Traceability Record ที่ปรับปรุง
(ถ้าจาป็น)
VLD Validation Results
TC&TP กรณีทดสอบและขั้นตอนการทดสอบ
SSD แบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์

More Related Content

What's hot

พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
Microsoft Power Platform: Power BI, PowerApps & Flow
Microsoft Power Platform:  Power BI, PowerApps & FlowMicrosoft Power Platform:  Power BI, PowerApps & Flow
Microsoft Power Platform: Power BI, PowerApps & Flow
Tracy Van der Schyff
 
تصميم مواقع الويب
تصميم مواقع الويبتصميم مواقع الويب
تصميم مواقع الويب
mostfaremo
 
The business today - PowerApps, Power BI y Microsoft Flow
The business today - PowerApps, Power BI y Microsoft FlowThe business today - PowerApps, Power BI y Microsoft Flow
The business today - PowerApps, Power BI y Microsoft Flow
Juan Fabian
 
BPMN and Bizagi
BPMN and BizagiBPMN and Bizagi
BPMN and Bizagi
mahsa rezaei
 
7 ways to optimize your drip marketing efforts
7 ways to optimize your drip marketing efforts7 ways to optimize your drip marketing efforts
7 ways to optimize your drip marketing efforts
Zoho Campaigns
 
Was ist ein Wissensnetz?
Was ist ein Wissensnetz?Was ist ein Wissensnetz?
Was ist ein Wissensnetz?
didijo
 
Introduction to Business Process Model and Notation (BPMN) - OSSCamp 2014
 Introduction to Business Process Model and Notation (BPMN) - OSSCamp 2014 Introduction to Business Process Model and Notation (BPMN) - OSSCamp 2014
Introduction to Business Process Model and Notation (BPMN) - OSSCamp 2014
OSSCube
 
What is OutSystems?
What is OutSystems?What is OutSystems?
المستودعات الرقمية
المستودعات الرقميةالمستودعات الرقمية
المستودعات الرقمية
tassadit ALLOUNE
 
BPMN Introduction and BPD in Visio
BPMN Introduction and BPD in VisioBPMN Introduction and BPD in Visio
BPMN Introduction and BPD in Visio
vpmouttou
 
RPA - Apresentação Conceitual com uiPath
RPA - Apresentação Conceitual com uiPathRPA - Apresentação Conceitual com uiPath
RPA - Apresentação Conceitual com uiPath
Eduardo Britto
 
Fundamentals of business process management and BPMN
Fundamentals of business process management and BPMNFundamentals of business process management and BPMN
Fundamentals of business process management and BPMN
Gregor Polančič
 
AXELOS - MoV® - Management of Value - Foundation
AXELOS - MoV® - Management of Value - FoundationAXELOS - MoV® - Management of Value - Foundation
AXELOS - MoV® - Management of Value - Foundation
Mirosław Dąbrowski C-level IT manager, CEO, Agile, ICF Coach, Speaker
 
الدليل العلمي لنظام الدي سبيس
الدليل العلمي لنظام الدي سبيسالدليل العلمي لنظام الدي سبيس
الدليل العلمي لنظام الدي سبيس
Aml Sindi
 
UiPath Community Event - UiPath Action Center and UiPath Apps - human in the ...
UiPath Community Event - UiPath Action Center and UiPath Apps - human in the ...UiPath Community Event - UiPath Action Center and UiPath Apps - human in the ...
UiPath Community Event - UiPath Action Center and UiPath Apps - human in the ...
TomaszGaczynski
 
Microsoft power apps
Microsoft power appsMicrosoft power apps
Microsoft power apps
Confiz Limited - Dynamics AX
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Wachiraya Thasnapanth
 
تخطيط قاعده بيانات مدرسه
تخطيط قاعده بيانات مدرسهتخطيط قاعده بيانات مدرسه
تخطيط قاعده بيانات مدرسه
Omar Computer Teacher
 
What is rpa
What is rpaWhat is rpa
What is rpa
Hamdy El-asawy
 

What's hot (20)

พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
 
Microsoft Power Platform: Power BI, PowerApps & Flow
Microsoft Power Platform:  Power BI, PowerApps & FlowMicrosoft Power Platform:  Power BI, PowerApps & Flow
Microsoft Power Platform: Power BI, PowerApps & Flow
 
تصميم مواقع الويب
تصميم مواقع الويبتصميم مواقع الويب
تصميم مواقع الويب
 
The business today - PowerApps, Power BI y Microsoft Flow
The business today - PowerApps, Power BI y Microsoft FlowThe business today - PowerApps, Power BI y Microsoft Flow
The business today - PowerApps, Power BI y Microsoft Flow
 
BPMN and Bizagi
BPMN and BizagiBPMN and Bizagi
BPMN and Bizagi
 
7 ways to optimize your drip marketing efforts
7 ways to optimize your drip marketing efforts7 ways to optimize your drip marketing efforts
7 ways to optimize your drip marketing efforts
 
Was ist ein Wissensnetz?
Was ist ein Wissensnetz?Was ist ein Wissensnetz?
Was ist ein Wissensnetz?
 
Introduction to Business Process Model and Notation (BPMN) - OSSCamp 2014
 Introduction to Business Process Model and Notation (BPMN) - OSSCamp 2014 Introduction to Business Process Model and Notation (BPMN) - OSSCamp 2014
Introduction to Business Process Model and Notation (BPMN) - OSSCamp 2014
 
What is OutSystems?
What is OutSystems?What is OutSystems?
What is OutSystems?
 
المستودعات الرقمية
المستودعات الرقميةالمستودعات الرقمية
المستودعات الرقمية
 
BPMN Introduction and BPD in Visio
BPMN Introduction and BPD in VisioBPMN Introduction and BPD in Visio
BPMN Introduction and BPD in Visio
 
RPA - Apresentação Conceitual com uiPath
RPA - Apresentação Conceitual com uiPathRPA - Apresentação Conceitual com uiPath
RPA - Apresentação Conceitual com uiPath
 
Fundamentals of business process management and BPMN
Fundamentals of business process management and BPMNFundamentals of business process management and BPMN
Fundamentals of business process management and BPMN
 
AXELOS - MoV® - Management of Value - Foundation
AXELOS - MoV® - Management of Value - FoundationAXELOS - MoV® - Management of Value - Foundation
AXELOS - MoV® - Management of Value - Foundation
 
الدليل العلمي لنظام الدي سبيس
الدليل العلمي لنظام الدي سبيسالدليل العلمي لنظام الدي سبيس
الدليل العلمي لنظام الدي سبيس
 
UiPath Community Event - UiPath Action Center and UiPath Apps - human in the ...
UiPath Community Event - UiPath Action Center and UiPath Apps - human in the ...UiPath Community Event - UiPath Action Center and UiPath Apps - human in the ...
UiPath Community Event - UiPath Action Center and UiPath Apps - human in the ...
 
Microsoft power apps
Microsoft power appsMicrosoft power apps
Microsoft power apps
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
تخطيط قاعده بيانات مدرسه
تخطيط قاعده بيانات مدرسهتخطيط قاعده بيانات مدرسه
تخطيط قاعده بيانات مدرسه
 
What is rpa
What is rpaWhat is rpa
What is rpa
 

Similar to คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์

ICT Competency For KKU Students
ICT Competency For KKU StudentsICT Competency For KKU Students
ICT Competency For KKU Students
Denpong Soodphakdee
 
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
DP-Developer
DP-DeveloperDP-Developer
DP-Developer
diseVru
 
02 intro to psp
02 intro to psp02 intro to psp
02 intro to psp
Suradet Jitprapaikulsarn
 
Nectec Cmmi
Nectec CmmiNectec Cmmi
Nectec Cmmi
Invest Ment
 
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาคีตะบลู รักคำภีร์
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
taisasi
 
ซอฟต์แวร์ทางการศึกษา
ซอฟต์แวร์ทางการศึกษาซอฟต์แวร์ทางการศึกษา
ซอฟต์แวร์ทางการศึกษาjintana_pai
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
Nattapon
 

Similar to คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ (20)

Activity4
Activity4Activity4
Activity4
 
Activity4_naka
Activity4_nakaActivity4_naka
Activity4_naka
 
..
....
..
 
Activity4
Activity4Activity4
Activity4
 
Activity4
Activity4Activity4
Activity4
 
บทนำ วิศวกรรมซอฟต์แวร์
บทนำ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ บทนำ วิศวกรรมซอฟต์แวร์
บทนำ วิศวกรรมซอฟต์แวร์
 
ICT Competency For KKU Students
ICT Competency For KKU StudentsICT Competency For KKU Students
ICT Competency For KKU Students
 
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรมใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
 
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
 
Sw evo 2_model
Sw evo 2_modelSw evo 2_model
Sw evo 2_model
 
Lesson 4 (misson)
Lesson 4 (misson)Lesson 4 (misson)
Lesson 4 (misson)
 
Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2
 
Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2
 
DP-Developer
DP-DeveloperDP-Developer
DP-Developer
 
02 intro to psp
02 intro to psp02 intro to psp
02 intro to psp
 
Nectec Cmmi
Nectec CmmiNectec Cmmi
Nectec Cmmi
 
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ซอฟต์แวร์ทางการศึกษา
ซอฟต์แวร์ทางการศึกษาซอฟต์แวร์ทางการศึกษา
ซอฟต์แวร์ทางการศึกษา
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
 

More from Sitdhibong Laokok

แม่แบบและแบบบันทึกสำหรับกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
แม่แบบและแบบบันทึกสำหรับกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์แม่แบบและแบบบันทึกสำหรับกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
แม่แบบและแบบบันทึกสำหรับกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
Sitdhibong Laokok
 
Software Metrics: Paper Presentation
Software Metrics: Paper PresentationSoftware Metrics: Paper Presentation
Software Metrics: Paper Presentation
Sitdhibong Laokok
 
ข้อเสนอโครงการ.ระบบจัดการส่งดอกไม้ของฮานะ
ข้อเสนอโครงการ.ระบบจัดการส่งดอกไม้ของฮานะข้อเสนอโครงการ.ระบบจัดการส่งดอกไม้ของฮานะ
ข้อเสนอโครงการ.ระบบจัดการส่งดอกไม้ของฮานะ
Sitdhibong Laokok
 
SNA: Information Sharing Behavior
SNA: Information Sharing BehaviorSNA: Information Sharing Behavior
SNA: Information Sharing Behavior
Sitdhibong Laokok
 
Seminar Slide: Investigating dependencies in software requirements for change...
Seminar Slide: Investigating dependencies in software requirements for change...Seminar Slide: Investigating dependencies in software requirements for change...
Seminar Slide: Investigating dependencies in software requirements for change...
Sitdhibong Laokok
 
Git installation
Git installationGit installation
Git installation
Sitdhibong Laokok
 
New M-Culture + Elementary WordPress
New M-Culture + Elementary WordPressNew M-Culture + Elementary WordPress
New M-Culture + Elementary WordPress
Sitdhibong Laokok
 
WordPress Theme Development Short Manual
WordPress Theme Development Short ManualWordPress Theme Development Short Manual
WordPress Theme Development Short Manual
Sitdhibong Laokok
 
Introduction to WordPress Theme Development
Introduction to WordPress Theme DevelopmentIntroduction to WordPress Theme Development
Introduction to WordPress Theme Development
Sitdhibong Laokok
 
JAXB: Create, Validate XML Message and Edit XML Schema
JAXB: Create, Validate XML Message and Edit XML SchemaJAXB: Create, Validate XML Message and Edit XML Schema
JAXB: Create, Validate XML Message and Edit XML Schema
Sitdhibong Laokok
 
Software Architecture: Test Case Writing
Software Architecture: Test Case WritingSoftware Architecture: Test Case Writing
Software Architecture: Test Case Writing
Sitdhibong Laokok
 
Introduce to SVN
Introduce to SVNIntroduce to SVN
Introduce to SVN
Sitdhibong Laokok
 
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550Sitdhibong Laokok
 

More from Sitdhibong Laokok (13)

แม่แบบและแบบบันทึกสำหรับกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
แม่แบบและแบบบันทึกสำหรับกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์แม่แบบและแบบบันทึกสำหรับกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
แม่แบบและแบบบันทึกสำหรับกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
 
Software Metrics: Paper Presentation
Software Metrics: Paper PresentationSoftware Metrics: Paper Presentation
Software Metrics: Paper Presentation
 
ข้อเสนอโครงการ.ระบบจัดการส่งดอกไม้ของฮานะ
ข้อเสนอโครงการ.ระบบจัดการส่งดอกไม้ของฮานะข้อเสนอโครงการ.ระบบจัดการส่งดอกไม้ของฮานะ
ข้อเสนอโครงการ.ระบบจัดการส่งดอกไม้ของฮานะ
 
SNA: Information Sharing Behavior
SNA: Information Sharing BehaviorSNA: Information Sharing Behavior
SNA: Information Sharing Behavior
 
Seminar Slide: Investigating dependencies in software requirements for change...
Seminar Slide: Investigating dependencies in software requirements for change...Seminar Slide: Investigating dependencies in software requirements for change...
Seminar Slide: Investigating dependencies in software requirements for change...
 
Git installation
Git installationGit installation
Git installation
 
New M-Culture + Elementary WordPress
New M-Culture + Elementary WordPressNew M-Culture + Elementary WordPress
New M-Culture + Elementary WordPress
 
WordPress Theme Development Short Manual
WordPress Theme Development Short ManualWordPress Theme Development Short Manual
WordPress Theme Development Short Manual
 
Introduction to WordPress Theme Development
Introduction to WordPress Theme DevelopmentIntroduction to WordPress Theme Development
Introduction to WordPress Theme Development
 
JAXB: Create, Validate XML Message and Edit XML Schema
JAXB: Create, Validate XML Message and Edit XML SchemaJAXB: Create, Validate XML Message and Edit XML Schema
JAXB: Create, Validate XML Message and Edit XML Schema
 
Software Architecture: Test Case Writing
Software Architecture: Test Case WritingSoftware Architecture: Test Case Writing
Software Architecture: Test Case Writing
 
Introduce to SVN
Introduce to SVNIntroduce to SVN
Introduce to SVN
 
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
 

คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์

  • 1. คู่มือการใช้งานกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ (Software Detailed Design Process Guidelines) การนิยามและการปรับปรุงกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ ให้เป็นไปตามมาตรฐาน ISO 12207 และได้ระดับความสามารถที่ 3 ตามเกณฑ์มาตรฐาน ISO 15504 ในโครงการพัฒนาระบบธุรกรรมทาง อินเทอร์เน็ตผ่านโมบายแอปพลิเคชัน เวอร์ชัน 1.0.1 วันที่ 13 พฤษภาคม 2559 นาเสนอ ผศ.นครทิพย์พร้อมพูล รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา กระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์และปรับปรุง หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
  • 2. การนิยามและการปรับปรุงกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ ให้เป็นไปตามมาตรฐาน ISO 12207 และได้ระดับความสามารถที่ 3 ตามเกณฑ์มาตรฐาน ISO 15504 ในโครงการ พัฒนาระบบธุรกรรมทางอินเทอร์เน็ตผ่านโมบายแอปพลิเคชัน เอกสารข้อเสนอโครงการ จัดทาโดย 5870972621 นางสาวขวัญดี เพชรกานต์ 5870943421 นายปฏิวัติ วิเศษศุกูล 5870946321 นายปรีชา นาคเงิน 5870973221 นางสาวสุดหทัย หมั่นค้า 5870972621 นายสิทธิพงษ์เหล่าโก้ก 5870976121 นางสาวสุพัตรา อินศรี รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา กระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์และปรับปรุง หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558
  • 3. บทนา คู่มือการใช้งานกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ I บทที่ 1 สารบัญ บทที่ 1 บทนา.......................................................................................................................................................................1 1.1 ที่มาและความสาคัญ................................................................................................................................................1 1.2 วัตถุประสงค์............................................................................................................................................................1 1.3 ขอบเขตของเอกสาร................................................................................................................................................1 1.4 คาย่อและนิยามคาศัพท์ที่ใช้ในเอกสาร....................................................................................................................2 1.5 เอกสารที่เกี่ยวข้อง...................................................................................................................................................2 1.6 ภาพรวมเอกสาร.......................................................................................................................................................3 บทที่ 2 กระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์..........................................................................................................5 2.1 ขอบเขตของนิยามกระบวนการ...............................................................................................................................5 2.2 คาอธิบายการให้รายละเอียดนิยามกระบวนการ......................................................................................................5 2.3 ภาพรวมการปรับปรุงกระบวนการซอฟต์แวร์ (SPI)...............................................................................................7 2.4 ข้อควรปฏิบัติในกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์...............................................................................8 2.4.1 การวางแผนการออกแบบ (Design Planning).................................................................................................8 2.4.2 ข้อมูลในการออกแบบ (Design Inputs).........................................................................................................8 2.4.3 ผลลัพธ์ของการออกแบบ (Design Outputs)...................................................................................................8 2.4.4 การทบทวนการออกแบบ (Design Review)...................................................................................................9 2.4.5 การทวนสอบการออกแบบ (Design Verification).........................................................................................9 2.4.6 การรับรองการออกแบบ (Design Validation)................................................................................................9 2.4.7 การควบคุมการเปลี่ยนแปลงการออกแบบ และการพัฒนา (Control of Design Changes).............................9 บทที่ 3 ขั้นตอนการดาเนินโครงการ..................................................................................................................................10 3.1 ภาพรวม.................................................................................................................................................................10 3.2 ขั้นตอนที่ 1: การสื่อสารในองค์กร (Organizational Alignment)..........................................................................10 3.3 ขั้นตอนที่ 2: การจัดตั้งหน่วยงานและกาหนดโครงสร้างทีมงาน..........................................................................11 3.3.1 การจัดการองค์กร..........................................................................................................................................11 3.3.2 การบริหารทรัพยากรมนุษย์..........................................................................................................................11 3.4 ขั้นตอนที่ 3: การเตรียมความพร้อมบุคลากรในโครงการ.....................................................................................11 3.4.1 การฝึกอบรม (Training)................................................................................................................................12 3.5 ขั้นตอนที่ 4: การจัดการโครงแบบข้อมูลโครงการ (Configuration Management)...............................................12 3.6 ขั้นตอนที่ 5: การควบคุมคุณภาพ (Quality Control).............................................................................................13 3.6.1 การควบคุมและติดตาม (Monitoring and Control).......................................................................................14 3.6.2 การให้การช่วยเหลือและสนับสนุน (Supporting and Problem Resolution)...............................................14 3.7 ขั้นตอนที่ 7: การประเมินกระบวนการ (Process Assesment)...............................................................................14 3.8 ขั้นตอนที่ 8: การนาไปใช้เป็นมาตรฐานองค์กร....................................................................................................14 3.9 ขั้นตอนที่ 9: การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (Process Improvement).........................................................................14
  • 4. บทนา คู่มือการใช้งานกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ II 3.10 ปัจจัยสู่ความสาเร็จ.................................................................................................................................................15 3.10.1 จัดตั้งหน่วยงาน SEPG..................................................................................................................................15 3.10.2 บุคลากร (People)..........................................................................................................................................15 3.10.3 การให้ความร่วมมือจากผู้บริหาร..................................................................................................................15 3.10.4 เครื่องมือ (Tools & Equipment)....................................................................................................................16 3.10.5 กระบวนการ (Process)..................................................................................................................................16 3.10.6 การวัดและวิเคราะห์ (Measurement and Analysis)......................................................................................16 3.10.7 ที่ปรึกษาจากภายนอก....................................................................................................................................16 3.11 การนากระบวนการไปใช้งานจริง..........................................................................................................................17 บทที่ 4 การวางแผนการปรับปรุงกระบวนการ..................................................................................................................18 4.1 บทนา.....................................................................................................................................................................18 4.2 วัตถุประสงค์..........................................................................................................................................................18 4.3 ผลลัพธ์...................................................................................................................................................................18 4.4 ขั้นตอนการวางแผน SPI........................................................................................................................................18 บทที่ 5 การจัดเตรียมโครงสร้างพื้นฐานขององค์กร..........................................................................................................20 5.1 บทนา.....................................................................................................................................................................20 5.2 วัตถุประสงค์..........................................................................................................................................................20 5.3 บทบาทหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง.......................................................................................................................................20 5.4 การจัดเตรียมโครงสร้างพื้นฐาน............................................................................................................................21 5.4.1 Executive Leader Group (ELG)...................................................................................................................21 5.4.2 ที่ปรึกษาจากภายนอก....................................................................................................................................21 5.4.3 Software Engineering Process Group (SEPG).............................................................................................22 5.4.4 Process Measurement Office (PMO)...........................................................................................................22 5.4.5 Configuration Management Office (CMO).................................................................................................22 5.4.6 Organization Training Office (OTO)...........................................................................................................22 5.5 Product and Process Quality Assurance (PPQA)...............................................................................................23 5.6 โครงสร้างทีมงานสาหรับโครงการ (Specific Project) เพื่อการดาเนินงาน SPI....................................................24 บทที่ 6 การปรับกระบวนการให้เหมาะสมกับลักษณะเฉพาะของโครงการ (Tailor)........................................................25 6.1 บทนา.....................................................................................................................................................................25 6.2 วัตถุประสงค์..........................................................................................................................................................25 6.3 ความสอดคล้อง (Conformance)............................................................................................................................26 6.3.1 ความสอดคล้องอย่างสมบูรณ์ (Full Conformance)......................................................................................26 6.3.2 ความสอดคล้องปรับแต่ง (Tailored Conformance)......................................................................................26 6.4 การพัฒนากระบวนการให้เหมาะสมกับโครงการเฉพาะ (Project’s Defined Process).........................................27 6.5 ขั้นตอนการดาเนินงาน (Tailoring Process Activities)..........................................................................................27
  • 5. บทนา คู่มือการใช้งานกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ III 6.6 คาแนะนาในการปรับแต่งกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์..............................................................29 6.6.1 การเชื่อมโยงระหว่างโครงการกับกระบวนการมาตรฐาน (Organiztion Process Standard Mapping) ........29 6.6.2 แนวทางการจัดทาเอกสารการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์....................................................................29 6.6.3 เกณฑ์การเลือก SDLC และ Process ของโครงการ.......................................................................................29 6.6.4 การกาหนดเอกสารของโครงการ..................................................................................................................29 6.6.5 เงื่อนไข (Criteria) ในการยกเว้น Work Product และ Process......................................................................30 6.6.6 การเตรียมข้อมูลเพื่อสนับสนุนการดาเนินงานโครงการ...............................................................................30 บทที่ 7 การจัดการสินทรัพย์กระบวนการและข้อมูลโครงการ...........................................................................................31 7.1 บทนา.....................................................................................................................................................................31 7.2 วัตถุประสงค์..........................................................................................................................................................31 7.3 แนวทางการจัดการสินทรัพย์กระบวนการ............................................................................................................31 7.3.1 ทะเบียนสินทรัพย์กระบวนการขององค์กร...................................................................................................31 7.3.2 ความเป็นเจ้าของสินทรัพย์............................................................................................................................31 7.3.3 การจัดหมวดหมู่ข้อมูลและสินทรัพย์............................................................................................................31 7.3.4 การตั้งชื่อสินทรัพย์........................................................................................................................................32 7.3.5 สถานะของสินทรัพย์.....................................................................................................................................32 7.3.6 การประกาศให้ใช้สินทรัพย์..........................................................................................................................32 7.3.7 การควบคุมการเข้าถึง (Access Control).......................................................................................................33 7.3.8 นโยบายการสารองข้อมูล..............................................................................................................................33 7.3.9 การกาหนดรายละเอียดเพื่ออธิบายสินทรัพย์กระบวนการ............................................................................33 บทที่ 8 แนวทางการจัดการโครงแบบข้อมูล (Configuration Management)..................................................................35 8.1 บทนา.....................................................................................................................................................................35 8.2 วัตถุประสงค์..........................................................................................................................................................35 8.3 ขอบเขต..................................................................................................................................................................35 8.4 ผลลัพธ์การดาเนินงาน...........................................................................................................................................36 8.5 บทบาทหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง.......................................................................................................................................36 8.6 แนวทางในการดาเนินงาน.....................................................................................................................................36 8.7 ข้อกาหนดการใช้งาน.............................................................................................................................................37 8.7.1 การตั้งชื่อไฟล์เอกสาร (Naming Management)............................................................................................37 8.7.2 การจัดการเวอร์ชัน (Version Management)..................................................................................................37 8.7.3 การจัดเก็บข้อมูลต่างๆ บนที่เก็บข้อมูลของโครงการ (Project Repository)..................................................38 8.7.4 การจัดทาเป็นบรรทัดฐาน (Baseline)...........................................................................................................38 8.8 การบริหารความเปลี่ยนแปลง (Change Management).........................................................................................38 8.9 สิ่งที่ต้องควบคุมการเปลี่ยบแปลงสาหรับกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์......................................39 บทที่ 9 การประเมินกระบวนการ (Process Assessment).................................................................................................40
  • 6. บทนา คู่มือการใช้งานกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ IV 9.1 บทนา.....................................................................................................................................................................40 9.2 วัตถุประสงค์..........................................................................................................................................................40 9.3 โครงสร้างบุคลากร................................................................................................................................................41 9.4 เกณฑ์ในการตรวจประเมินและกิจกรรมการประเมิน...........................................................................................41 9.5 มาตรฐาน ISO/IEC 15504-5:2012........................................................................................................................42 9.6 ขั้นตอนการการประเมิน........................................................................................................................................44 9.7 การนาผลการประเมินไปใช้..................................................................................................................................44 บทที่ 10 การวัดและวิเคราะห์ (Measurement and Analysis)............................................................................................46 10.1 บทนา.....................................................................................................................................................................46 10.2 วัตถุประสงค์..........................................................................................................................................................46 10.3 บทบาทหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง.......................................................................................................................................46 10.4 กระบวนการวัด......................................................................................................................................................46 10.4.1 แบบจาลองกระบวนการวัด (Measurement Process Model)........................................................................46 10.4.2 ประโยชน์ของการวัดและวิเคราะห์...............................................................................................................48 10.5 การระบุและการวัดคุณภาพของการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ ...................................................................48 10.6 ตัวอย่างการแม่แบบในการนิยามการวัด................................................................................................................49 บทที่ 11 การปรับปรุงกระบวนการอย่างต่อเนื่อง (Continuous Process Improvement)..................................................50 11.1 บทนา.....................................................................................................................................................................50 11.2 วัตถุประสงค์..........................................................................................................................................................50 11.3 บทบาทหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง.......................................................................................................................................51 11.4 แนวคิดในปรับปรุงกระบวนการ...........................................................................................................................51 11.5 การปรับปรุงกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ตามแบบจาลอง IDEAL Model........................................................52 11.6 เงื่อนไขความสาเร็จในการปรับปรุงกระบวนการ..................................................................................................54 11.7 กิจกรรมในการปรับปรุงกระบวนการซอฟต์แวร์..................................................................................................54 11.7.1 ระยะเริ่มต้น (Initiating Phase)......................................................................................................................54 11.7.2 ระยะการวินิจฉัย (Diagnosing Phase)...........................................................................................................54 11.7.3 ระยะการวางแผน (Establishing Phase)........................................................................................................54 11.7.4 ระยะการดาเนินงาน (Acting Phase).............................................................................................................55 11.7.5 ระยะการเรียนรู้ (Leveraging Phase).............................................................................................................55 บทที่ 12 การจัดทาให้เป็นมาตรฐานองค์กร.........................................................................................................................56 12.1 บทนา.....................................................................................................................................................................56 12.2 วัตถุประสงค์..........................................................................................................................................................56 12.3 มาตรฐานกระบวนการซอฟต์แวร์ขององค์กร.......................................................................................................56 12.4 คาแนะนาในการพัฒนากระบวนการมาตรฐานขององค์กร...................................................................................56 12.4.1 คานิยามที่ชัดเจนของกระบวนการ................................................................................................................57
  • 7. บทนา คู่มือการใช้งานกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ V 12.4.2 คุณลักษณะในการใช้ซ้าได้ของมาตรฐานกระบวนการ................................................................................57 12.4.3 การสงวนรักษาคุณสมบัติในมาตรฐานในระหว่างการปรับแต่ง...................................................................58 12.4.4 ทาให้ง่ายต่อการทาความเข้าใจ......................................................................................................................58 12.4.5 ใช้ภาษาทั่วไปในองค์กร................................................................................................................................58 12.4.6 ใช้รูปภาพช่วยประกอบความเข้าใจ...............................................................................................................58 12.5 กิจกรรมในการประกาศใช้มาตรฐานองค์กร.........................................................................................................58 ภาคผนวก ก หลักการออกแบบซอฟต์แวร์ด้วยแนวคิดเชิงวัตถุ........................................................................................ก ก.1 บทนา......................................................................................................................................................................ก ก.2 วัตถุประสงค์...........................................................................................................................................................ก ก.3 ผลลัพธ์การดาเนินงาน............................................................................................................................................ก ก.4 แนวคิดของการออกแบบตามหลักการของการออกแบบเชิงวัตถุ..........................................................................ก ก.5 ขั้นตอนของการออกแบบตามหลักการของการออกแบบเชิงวัตถุ.........................................................................ข ก.5.1.1ระบุส่วนที่ควรเป็นวัตถุ..................................................................................................................................ข ก.5.1.2สร้างแบบจาลองของกับวัตถุ..........................................................................................................................ข ก.5.1.3จาแนกประเภทของวัตถุตามลักษณะการทางาน............................................................................................ค ก.5.1.4ออกแบบอัลกอริทึม.......................................................................................................................................ค ก.5.1.5ออกแบบความสัมพันธ์ของวัตถุ....................................................................................................................ค ก.6 ขั้นตอนของการปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพตามหลักการของการออกแบบเชิงวัตถุ........................................จ ภาคผนวก ข กรรมวิธีสาหรับการปรับแต่งกระบวนการ...................................................................................................ฉ ข.1 โมดูลกระบวนการ..................................................................................................................................................ฉ ข.2 การจับคู่และการแปลง ( Mapping/Translation )....................................................................................................ช ข.3 การเพิ่มเอนทิตีกระบวนการ (Process Entity Addition).........................................................................................ช ข.4 การลบเอนทิตีกระบวนการ (Process Entity Deletion)..........................................................................................ช ข.5 การแบ่งแยกเอนทิตีกระบวนการ (Process Entity Splitting)..................................................................................ซ ข.6 การรวมเอนทิตีกระบวนการ (Process Entity Merging).........................................................................................ฌ ข.7 การทวนสอบและเทียบกับมาตรฐาน......................................................................................................................ฌ ข.8 การตรวจสอบความถูกต้องของไวยากรณ์ (Syntactic Correctness Checking)..................................................... ญ ข.9 การตรวจสอบความสอดคล้องตามประเภท.......................................................................................................... ญ ข.10 การประเมินความสอดคล้องตามมาตรฐาน............................................................................................................ฎ ภาคผนวก ค การนิยามความเสี่ยง.....................................................................................................................................ฏ ค.1 นิยามปัจจัยเสี่ยง (Risk Factor)...............................................................................................................................ฏ ค.2 นิยามผลกระทบ (Impact).......................................................................................................................................ฏ ภาคผนวก ง การนิยามมาตรวัด........................................................................................................................................ฐ ภาคผนวก จ ข้อกาหนดของผลิตภัณฑ์และชิ้นงาน..........................................................................................................ณ
  • 8. บทนา คู่มือการใช้งานกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ VI ภาคผนวก ฉ นโยบาย เป้าหมายและทิศทางขององค์กร....................................................................................................ต ภาคผนวก ช คาแนะนาด้านความสามารถที่จาเป็นของทีมงาน........................................................................................ถ
  • 9. บทนา คู่มือการใช้งานกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ VII บทที่ 2 สารบัญรูป ภาพที่ 3-1 ภาพรวม การเตรียมความพร้อมกระบวนการ........................................................................................................10 ภาพที่ 3-2 ปัจจัยสู่ความสาเร็จของการใช้งานกระบวนการมาตรฐาน ....................................................................................15 ภาพที่ 3-3 ขั้นตอนการใช้กระบวนการปรับปรุงในโครงการ................................................................................................17 ภาพที่ 5-1โครงสร้างองค์กรสาหรับกระบวนการปรับปรุง.....................................................................................................21 ภาพที่ 5-2 Product and Process Quality Assurance................................................................................................................23 ภาพที่ 5-3 Specific Deverlopment Project..............................................................................................................................24 ภาพที่ 6-1 Project Tailoring....................................................................................................................................................27 ภาพที่ 6-2 กิจกรรมในกระบวนการ Tailoring.......................................................................................................................28 ภาพที่ 8-1 ขั้นตอนการจัดการโครงแบบข้อมูล.......................................................................................................................36 ภาพที่ 9-1 บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการประเมินกระบวนการ...................................................................................................41 ภาพที่ 9-2 แบบจาลองขั้นตอนการสร้างแบบประเมินกระบวนการและการวัดผล.................................................................41 ภาพที่ 9-3 โครงสร้างการประเมิน ISO/IEC 15504................................................................................................................43 ภาพที่ 9-4 กรอบการประเมินมาตรฐาน ISO/IEC 15504........................................................................................................43 ภาพที่ 9-5 ขั้นตอนในการประเมินกระบวนการ.....................................................................................................................44 ภาพที่ 9-6 การนาผลการประเมินไปใช้...................................................................................................................................44 ภาพที่ 9-7 การใช้ISO/IEC 15504 ในการปรับปรุงกระบวนการ...........................................................................................45 ภาพที่ 10-1 แบบจาลองการวัด................................................................................................................................................47 ภาพที่ 11-1 แนวทางการปรับปรุงกระบวนการ......................................................................................................................51 ภาพที่ 11-2 แบบจาลอง IDEAL*............................................................................................................................................53 ภาพที่ 12-1 ภาพรวมการพัฒนากระบวนการ..........................................................................................................................57 ภาพที่ 12-2 กิจกรรมในการประกาศใช้มาตรฐาน..................................................................................................................58
  • 10. บทนา คู่มือการใช้งานกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ VIII บทที่ 3 สารบัญตาราง ตารางที่ 1 คาย่อและนิยามคาศัพท์ที่ใช้ในเอกสาร.....................................................................................................................2 ตารางที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง....................................................................................................................................................2 ตารางที่ 3 องค์ประกอบที่สาคัญของเอกสาร.............................................................................................................................3 ตารางที่ 4 คาอธิบายการให้รายละเอียดกิจกรรม.......................................................................................................................5 ตารางที่ 5 รายการของผลผลิตในกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ที่ต้องได้รับการควบคุม...............................12 ตารางที่ 6 เกณฑ์คุณภาพ.........................................................................................................................................................13 ตารางที่ 7 บทบาทหน้าที่ที่เกี่ยวข้องในการบริหารจัดการโครงแบบข้อมูล............................................................................20 ตารางที่ 8 บทบาทหน้าที่รับผิดชอบที่เกี่ยวข้องสาหรับโครงการ...........................................................................................24 ตารางที่ 9 หมวดหมู่ของสินทรัพย์..........................................................................................................................................31 ตารางที่ 10 ตัวอย่างการให้รายละเอียดการใช้งานสินทรัพย์...................................................................................................33 ตารางที่ 11 ตัวอย่างการให้รายละเอียดสินทรัพย์....................................................................................................................34 ตารางที่ 12 บทบาทหน้าที่ที่เกี่ยวข้องในการบริหารจัดการโครงแบบข้อมูล..........................................................................36 ตารางที่ 13 รายการของผลผลิตในกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ที่ต้องได้รับการควบคุม.............................39 ตารางที่ 14 บทบาทหน้าที่ในการวัดและการวิเคราะห์............................................................................................................46 ตารางที่ 15 สิ่งที่แสดงคุณภาพที่สาคัญโดยทั่วไปของแบบจาลองของซอฟต์แวร์ตามหลักการเชิงวัตถุ.................................48 ตารางที่ 16 มาตรวัดสาหรับการประเมินคุณภาพของเอกสารแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์....................................................49 ตารางที่ 17 บทบาทหน้าที่ที่เกี่ยวข้องในการปรับปรุงกระบวนการอย่างต่อเนื่อง.................................................................51 ตารางที่ 18 การนิยามมาตรวัดค่าประสิทธิภาพการทางานในแต่ละกระบวนการ....................................................................ฐ ตารางที่ 19 ข้อกาหนดของผลิตภัณฑ์และชิ้นงานในแต่ละกระบวนการ................................................................................ณ ตารางที่ 20 ข้อกาหนดของผลิตภัณฑ์และชิ้นงานในแต่ละกระบวนการ.................................................................................ต ตารางที่ 18 รายละเอียดบทบาทและความสามารถที่จาเป็นในการดาเนินโครงการ ................................................................ถ
  • 11. บทนา คู่มือการใช้งานกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ IX บทที่ 4 ประวัติการแก้ไขเอกสาร Version วันที่ การแก้ไข 0.0.1 23/03 เริ่มต้นร่างหัวข้อ 0.0.2 16/04 รวมเอกสารจากสมาชิกทุกคน 0.0.3 18/04 เพิ่มเนื้อหาในบทนา เป็นภาพรวมคู่มือ 0.0.4 19/04 แก้ไขเนื้อหา การวัดและวิเคราะห์ 0.0.5 19/04 แก้ไขเนื้อหาการประเมินกระบวนการ 0.0.6 19/04 แก้ไขเนื้อหา ปัจจัยสู่ความสาเร็จ 0.0.7 19/04 ย้าย หลักการออกแบบซอฟต์แวร์ด้วยแนวคิดเชิงวัตถุ ไปไว้ภาคผนวก 0.0.8 20/04 ปรับแก้ไขตรวจทานเอกสาร 1.0.0 21/04 เอกสารฉบับสมบูรณ์ 1.0.1 5/05 แก้ไข บทที่ 6 เพิ่มเนื้อหาความสอดคล้องกับมาตรฐาน แก้ไขภาคผนวก ข เพิ่มรูปตัวอย่าง การปรับแต่งโมดูลกระบวนการ เพิ่มรายการบทความที่นามาใช้ทั้งในบทที่ 6 และ ภาคผนวก ข 1.1.0 11/05 ตรวจสอบคาผิดและรูปแบบครั้งที่ 1 การอนุมัติ วันที่ประกาศใช้ <วันที่ / เดือน / พ.ศ.> เข้าถึงได้จาก <ชื่อระบบงาน / กลุ่มงาน / กลุ่มข้อมูล / รุ่นเอกสาร> ผู้บันทึกข้อมูล <ชื่อผู้นาแบบฟอร์มเข้าสู่ระบบ> แจ้งปรับปรุง <วันที่ / เดือน / พ.ศ.>: <ช่องทางการปรับปรุง> ผู้ตรวจทาน ผู้อนุมัติ …………………………………………. …………………………………………. (<ชื่อผู้รับตรวจทาน>) (<ชื่อผู้อานาจอนุมัติ>) <วันที่ / เดือน / พ.ศ.> <วันที่ / เดือน / พ.ศ.>
  • 12. บทนา คานา การปรับปรุงกระบวนการซอฟต์แวร์ (SPI) เป็นกิจการที่ท้าทายสาหรับองค์กร ทีมงานหวังว่า แนวทางที่กาหนดไว้ในเอกสารฉบับนี้จะช่วยให้องค์กร รวมถึงหน่วยงาน และโครงการต่าง ๆ ได้รับ ประโยชน์จากเอกสารนิยามกระบวนการและคู่มือฉบับนี้ เพื่อให้การพัฒนาซอฟต์แวร์มีคุณภาพมาตรฐาน และสร้างความพึงพอใจแก่ลูกค้า ทีมงานผู้จัดทา
  • 13. บทนา บทที่ 1 บทนา 1.1 ที่มาและความสาคัญ คู่มือสาหรับการแนะนาแนวทางในการนาเอากระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นไปใช้งาน (Software Detailed Design Process Guidelines) ฉบับนี้ จัดทาขึ้นภายใต้โครงการ การนิยามและปรับปรุงกระบวนการ ออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ในความสามารถระดับที่ 3 ตามเกณฑ์การประเมินจากมาตรฐาน ISO/IEC 15504 เพื่อให้ องค์กรรวมถึงหน่วยงาน และโครงการต่าง ๆ ได้รับประโยชน์จากเอกสารนิยามกระบวนการและมีบรรทัดฐานที่ดีในการนา กระบวนการไปปรับใช้ให้เหมาะสมแต่ละโครงการ ซึ่งเอกสารฉบับนี้จะจัดเตรียมข้อมูลหรือเครื่องมือที่สนับสนุนกระบวนการทางาน เช่น นโยบาย มาตรฐาน แม่แบบ แบบบันทึกข้อมูลตัวอย่างการใช้งาน เครื่องมืออัตโนมัติ แนวทางในการกาหนดโครงสร้างพื้นฐาน แนวทางในการ ประเมินและวัดผลกระบวนการ ตลอดจนการจัดเก็บและการจัดการข้อมูลต่าง ๆ เพื่อให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องสามารถเข้าถึง ข้อมูลได้อย่างเป็นระบบ รวมถึงสร้างกระบวนการในการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง 1.2 วัตถุประสงค์ 1) เอกสารฉบับนี้จัดทาขึ้นเพื่อนาเสนอขั้นตอนวิธีการปรับใช้กระบวนการมาตรฐานตั้งแต่การเตรียมความพร้อม ไปจนถึงแนวทางเพื่อนาคานิยามกระบวนการไปจัดทาเป็นมาตรฐานระดับองค์กร 2) เพื่อให้องค์กร หน่วยงาน และโครงการต่าง ๆ ได้รับประโยชน์จากเอกสารนิยามกระบวนการนี้ให้เกิดบรรทัด ฐานที่ดีในการนากระบวนการไปปรับใช้ให้เหมาะสมแต่ละโครงการ 1.3 ขอบเขตของเอกสาร เอกสารฉบับนี้ครอบคลุมถึงแนวทางในการปรับปรุงกระบวนการ ดังต่อไปนี้ 1) ภาพรวมของการปรับปรุงกระบวนการ 2) ปัจจัยสู่ความสาเร็จ 3) นโยบายเบื้องต้นสาหรับกระบวนการปรับปรุง 4) นิยามกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ 5) การเตรียมความพร้อมองค์กร และบุคลากรก่อนเริ่มโครงการ 6) การวางแผนการปรับปรุง 7) การจัดเตรียมโครงสร้างพื้นฐาน 8) การปรับกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับลักษณะเฉพาะของโครงการและองค์กร 9) การจัดการสินทรัพย์กระบวนการขององค์กรและข้อมูลโครงการ 10) การวัดระดับความสามารถของกระบวนการ 11) การวัดและวิเคราะห์ เพื่อควบคุมคุณภาพทั้งผลิตภัณฑ์และกระบวนการ 12) แนวทางการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง 13) การนาไปใช้เป็นมาตรฐานขององค์กร
  • 14. บทนา คู่มือการใช้งานกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ 2 นอกจากนี้เอกสารฉบับนี้ครอบคลุมถึงเนื้อหาเพิ่มเติม ดังต่อไปนี้ 1) หลักการการออกแบบซอฟต์แวร์เชิงวัตถุ 2) นิยามการวัดกระบวนการ 3) กรรมวิธีการปรับแต่งกระบวนการ และการทวนสอบกระบวนการหลังการปรับแต่ง 1.4 คาย่อและนิยามคาศัพท์ที่ใช้ในเอกสาร ตารางที่ 1 คาย่อและนิยามคาศัพท์ที่ใช้ในเอกสาร คาศัพท์/ตัวย่อ ความหมาย OSSP Organization's Standard Software Process คือกระบวนการมาตรฐานที่นิยามขึ้นสาหรับองค์กร ซึ่งผู้ใช้กระบวนการนั้นๆ จาเป็นต้องทราบและดาเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้อง OPAL Organization's Process Asset Library คือที่เก็บเอกสารหรือ Work Product ต่างๆ ของ กระบวนการในระดับองค์กร Work Product สิ่งที่เกิดขึ้นในการทากระบวนการ เช่น แผนภาพ ซอร์สโค้ด PGL คู่มือกระบวนการ เป็นเอกสารอธิบายกระบวนการทางานขององค์กร TGL Template Guideline เป็นเอกสารต้นแบบเปล่าสาหรับให้ผู้ใช้งานนาไปใช้ Sub Process กระบวนการย่อยภายใต้กระบวนการ Procedure เอกสารแสดงแนวทางการทางาน หรือการปฏิบัติงานหลัก Plan เอกสารแสดงการปฏิบัติงานในรายละเอียดเฉพาะของแต่ละโครงการ โดยพิจารณาทั้งเรื่องของ เป้าหมาย, การจัดการทรัพยากร และการวัดผลเป็นระยะๆ (Milestone) ของโครงการนั้นๆ Records รายการการบันทึกของการทางานในกิจกรรมต่างๆ Documents เอกสารอื่น นอกเหนือจาก กระบวนงาน แผน และรายการบันทึกที่ทาขึ้นหรือต้องมีในการทางาน เช่น เอกสารสรุปผลการทางาน, เอกสารนาเสนอข้อมูล และข้อกาหนด Audits and Reviews หลักฐานหรือเอกสาร แสดงการตรวจสอบและการวิเคราะห์การทางานในกิจกรรมต่างๆ 1.5 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ตารางที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง รหัส ชื่อเอกสาร คาอธิบายและความสาคัญ SDD- OSP กระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ (กระบวนการมาตฐานองค์กร) เอกสารอธิบายกระบวนการทางานของ องค์กร TGL Template Guideline เอกสารอธิบายวิธีการใช้งานเอกสารแม่แบบ (Template)
  • 15. บทนา คู่มือการใช้งานกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ 3 1.6 ภาพรวมเอกสาร เอกสารฉบับนี้ประกอบด้วยเนื้อหาที่สาคัญดังต่อไปนี้ ตารางที่ 3 องค์ประกอบที่สาคัญของเอกสาร บทที่ หัวข้อ หน้า บทที่ 2 กระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ อธิบายข้อมูลเบื้องต้นถึงการนิยามกระบวนการการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ ข้อควรปฏิบัติในการปฏิบัติงานในกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ 5 บทที่ 3 ขั้นตอนการดาเนินโครงการ แนวทางในการดาเนินงานตั้งแต่การเตรียมความพร้อม และภาพรวมในการทา SPI รวมถึงปัจจัยสู่ความสาเร็จในการปรับปรุงกระบวนการ 10 บทที่ 4 การวางแผนการปรับปรุงกระบวนการ การวางแผนในระดับปฏิบัติการก่อนที่จะมีการเริ่มใช้กระบวนการปรับปรุง 18 บทที่ 5 การจัดเตรียมโครงสร้างพื้นฐานขององค์กร เพื่อให้แนวทางในการจัดตั้งทีมงานและโครงสร้างองค์กรเพื่อดาเนินงานในส่วนของ SPI 20 บทที่ 6 การปรับกระบวนการให้เหมาะสมกับลักษณะเฉพาะของโครงการ (Tailor) การปรับกระบวนการให้เหมาะสมกับลักษณะเฉพาะของโครงการในส่วนของ กระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ 25 บทที่ 7 การจัดการสินทรัพย์กระบวนการและข้อมูลโครงการ การบริหารจัดการสินทรัพย์กระบวนการขององค์กร รวมถึงข้อมูลที่เกิดขึ้นใน กระบวนการทางานเพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องสามารถเข้าถึงและง่ายต่อการประเมิน กระบวนการ 31 0 Error! Not a valid result for table. การจัดการสินทรัพย์กระบวนการขององค์กรโดยการใช้เครื่องมือในการบริหาร จัดการโครงแบบข้อมูลเพื่อให้การจัดการมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 35 บทที่ 9 การประเมินกระบวนการ (Process Assessment) เพื่ออธิบายถึงแนวคิดในการประเมินกระบวนการ วัตถุประสงค์ในการประเมิน 40 บทที่ 10 การวัดและวิเคราะห์ (Measurement and Analysis) เพื่ออธิบายถึงความสาคัญของการวัดและวัตถุประสงค์ของการวัดรวมถึงการนาผล จากการวัดไปใช้ในการปรับปรุงคุณภาพของกระบวนการ 46 บทที่ 11 การปรับปรุงกระบวนการอย่างต่อเนื่อง (Continuous Process Improvement) แนวทางในระยะยาวขององค์กร โดยในบทนี้จะเสนอแนวคิดเบื้องต้นใน กระบวนการปรับปรุงกระบวนการอย่างต่อเนื่อง 50 บทที่ 12 การจัดทาให้เป็นมาตรฐานองค์กร เพื่ออธิบายถึงแนวคิดในการจัดทากระบวนการที่นิยามขึ้นนี้ไปใช้เป็นมาตรฐานของ องค์กรและนาไปใช้กับโครงการอื่น ๆ ทั้งหมด 56
  • 16. บทนา คู่มือการใช้งานกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ 4 บทที่ หัวข้อ หน้า ภาคผนวก ก หลักการออกแบบซอฟต์แวร์ด้วยแนวคิดเชิงวัตถุ นาเสนอแนวทางปฏิบัติในการออกแบบเชิงวัตถุเพื่อให้นักออกแบบหรือทีมงาน โครงการมีความเข้าใจไปในทิศทางเดียวกัน ก ภาคผนวก ข กรรมวิธีสาหรับการปรับแต่งกระบวนการ แนวทางปฎิบัติในการปรับแต่งกระบวนการ และสามารถรักษาลักษณะเฉพาะของ กระบวนการมาตรฐานให้มากที่สุด ฉ ภาคผนวก จ ข้อกาหนดของผลิตภัณฑ์และชิ้นงาน เป็นข้อกาหนดและข้อมูลที่ควรจะมีในชิ้นงานต่าง ๆ เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐาน เดียวกัน ณ ภาคผนวก ฉ นโยบาย เป้าหมายและทิศทางขององค์กร แสดงนโยบายและเป้าหมายขององค์กรในการปรับปรุงกระบวนการ ต ภาคผนวก ช คาแนะนาด้านความสามารถที่จาเป็นของทีมงาน เป็นคาแนะนาสาหรับความสามารถที่สาคัญของทีมงาน ถ
  • 17. กระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ บทที่ 2 กระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ 2.1 ขอบเขตของนิยามกระบวนการ เอกสารนิยามกระบวนการการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ (SDD- OSP) เป็นเอกสารกระบวนการมาตรฐาน สาหรับองค์กร โดยเอกสารนิยามกระบวนการฉบับนี้เป็นการนิยามกระบวนการที่เฉพาะเจาะจงสาหรับโครงการ ที่ใช้ระเบียบวิธีแบบสกรัม (Scrum Methodology) วัตถุประสงค์ของการนิยามกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์นั้นเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐาน ISO/IEC 12207และได้ระดับความสามารถที่ 3 ตามเกณฑ์มาตรฐาน ISO/IEC 15504โดยมีเป้าหมายที่จะนาไปใช้ในโครงการพัฒนา ระบบธุรกรรมทางอินเทอร์เน็ตผ่านโมบายแอปพลิเคชัน เป็นโครงการแรก 2.2 คาอธิบายการให้รายละเอียดนิยามกระบวนการ การนิยามกระบวนการการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ จะเสนอเป็นภาพรวมของกระบวนการที่นาเสนอเป็น แผนภาพกิจกรรม (Activity Diagram) เพื่อแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมกับผู้รับผิดชอบและผู้ที่เกี่ยวข้อง ในกิจกรรม นอกจากนี้แผนภาพกิจกรรมยังแสดงให้เห็นถึงรายการของกิจกรรมที่ต้องมีและทรัพยากรที่ต้องใช้ ทุก ๆ กิจกรรมบนแผนภาพจะมีการให้รายละเอียดของการนิยามกระบวนการในแต่ละขั้นตอน เพื่อให้ได้คาอธิบายการ นิยามกระบวนการการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ และรายการกิจกรรมที่ต้องนาเข้า และนาออกของกิจกรรม โดยนาเสนอในรูปแบบของตาราง โดยในแต่ละตารางจะประกอบด้วยรายการหัวข้อ ดังนี้ ตารางที่ 4 คาอธิบายการให้รายละเอียดกิจกรรม รายการข้อมูล คาอธิบาย หมายเลขอ้างอิง รหัสสาหรับอ้างอิงกระบวนการ ไม่ควรซ้ากัน ชื่อกิจกรรม ระบุชื่อของกิจกรรมซึ่งไม่ควรที่จะซ้ากับกระบวนการอื่น ๆ วัตถุประสงค์ คาอธิบายเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ ผลลัพธ์ ผลลัพธ์ที่ได้จากการดาเนินกิจกรรมนี้ บทบาทและความรับผิดชอบ ระบุบทบาท และหน้าที่ความรับผิดชอบที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมนี้ ข้อมูลนาเข้า รายการข้อมูลนาเข้าเพื่อเริ่มต้นกิจกรรมพร้อมระบุกิจกรรมหรือ กระบวนการต้นทางที่ผลิตข้อมูลนี้ ข้อมูลส่งออก รายการของข้อมูลที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมนี้ พร้อมระบุกิจกรรม หรือ กระบวนการปลายทางที่จะนาข้อมูลส่งออกนี้ไปใช้ เงื่อนไขก่อนเริ่มต้น (Entry Criteria) เงื่อนไข งาน หรือทรัพยากรที่ต้องจัดเตรียม หรือดาเนินการก่อนเริ่มต้น กิจกรรมนี้ได้ เงื่อนไขการจบสิ้น (Exit Criteria) เงื่อนไข งาน หรือทรัพยากรที่ต้องจัดเตรียม หรือดาเนินการก่อนที่จะสิ้นสุด กิจกรรมนี้ได้
  • 18. กระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ คู่มือการใช้งานกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ 6 รายการข้อมูล คาอธิบาย กระบวนการทางาน (Procedure) อธิบายกระบวนการทางาน และผู้รับผิดชอบ รายการของกิจกรรมที่เกิดขึ้น อาจจะมีข้อย่อยอยู่ภายในได้ รายการที่จาเป็นต้องใช้ ชื่อรายการข้อมูลที่ต้องใช้เช่น แม่แบบต่างๆที่ต้องใช้ คุณภาพที่คาดหวัง (Quality Expectation) รายการความคาดหวังของผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากกระบวนการนี้ การวัดผลกิจกรรม (Process Measure) วิธีการวัดผล เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มีคุณภาพตามที่คาดหวัง ทางเลือกการปรับแต่ง ข้อกาหนดที่สาคัญที่ช่วยในการปรับแต่ง อาทิเช่น การกาหนดให้กิจกรรม เป็นกิจกรรมบังคับสาหรับทุกๆโครงการ
  • 20. กระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ คู่มือการใช้งานกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ 8 2.4 ข้อควรปฏิบัติในกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ เพื่อคุณภาพที่ดีของกระบวนการออกแบบซอฟต์แวร์ ผู้นากระบวนการที่นิยามขึ้นไปใช้จะต้องคานึงถึงสิ่งต่อไปนี้ 2.4.1 การวางแผนการออกแบบ (Design Planning) องค์กรจะต้องวางแผนและควบคุมการออกแบบของผลิตภัณฑ์ ระหว่างการวางแผนการออกแบบจะต้องกาหนดถึง 1) ขั้นตอนต่าง ๆ ของการออกแบบ และการพัฒนา 2) การทบทวน การทวนสอบ และการรับรองที่เหมาะสมกับการออกแบบซอฟต์แวร์1 3) หน้าที่ความรับผิดชอบและอานาจต่างๆ ในการออกแบบ องค์กรต้องจัดการ การประสานงานระหว่างกลุ่มต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบและพัฒนา เพื่อให้มั่นใจว่า การสื่อสารมีประสิทธิภาพ และการกาหนดความรับผิดชอบมีความชัดเจน ผลลัพท์การออกแบบต้องปรับปรุงให้ทันสมัย ตามความเหมาะสม ที่การออกแบบและพัฒนาต่อไปในอนาคต องค์กรจะต้องบริหารการประสานงานร่วมระหว่างกลุ่มต่างๆ ที่มีส่วนร่วมในการออกแบบและพัฒนา เพื่อให้ มั่นใจว่าติดต่อสื่อสารเป็นไปอย่างมีประสิทธิผล และมีความชัดเจนในการมอบหมายความรับผิดชอบ ผลการวางแผน จะต้องถูกปรับปรุงให้ทันสมัยตามความเหมาะสมในกระบวนการออกแบบและการพัฒนาคืบหน้าต่อไป 2.4.2 ข้อมูลในการออกแบบ (Design Inputs) ข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับข้อกาหนดต่าง ๆ ของผลิตภัณฑ์จะต้องถูกกาหนดและบันทึกรักษาไว้ ข้อมูลเหล่านี้จะต้อง ประกอบด้วย 1) ข้อกาหนดต่างๆ เกี่ยวกับการทางานและสมรรถนะ 2) ระเบียบข้อบังคับต่างๆ ทางกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 3) ข้อมูลที่ได้มาจากการออกแบบที่คล้ายกันในครั้งก่อน (ถ้ามี) 4) ข้อกาหนดอื่น ๆ ที่สาคัญสาหรับการออกแบบ ข้อมูลเหล่านี้จะต้องถูกทบทวนถึงความครบถ้วนถูกต้อง ข้อกาหนดต่าง ๆจะต้องสมบูรณ์ไม่คลุมเครือและไม่ขัดแย้ง 2.4.3 ผลลัพธ์ของการออกแบบ (Design Outputs) ผลลัพท์ต่าง ๆ ของการออกแบบจะต้องถูกจัดไว้ในรูปแบบที่เหมาะสมกับการทวนสอบกับข้อมูลการออกแบบได้ และจะต้องได้รับการอนุมัติก่อนนาไปเผยแพร่ 1 การทบทวน การทวนสอบ และการรับรองการออกแบบและพัฒนามีวัตถุประสงค์ต่างกันอย่างชัดเจนสามารถ ดาเนินการและบันทึกแยกกัน หรือมีการรวมกันตามที่เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์หรือองค์กร
  • 21. กระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ คู่มือการใช้งานกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ 9 ผลลัพธ์ของการออกแบบจะต้อง 1) ตรงกันกับข้อกาหนดต่าง ๆ ของการออกแบบและการพัฒนา 2) ให้ข้อมูลที่เหมาะสมในการดาเนินการพัฒนาและการทดสอบ 3) ประกอบด้วย หรืออ้างอิงถึงเกณฑ์ในการยอมรับผลิตภัณฑ์ 4) ระบุถึงคุณลักษณะต่าง ๆ ของผลิตภัณฑ์ที่จาเป็นและความเหมาะสม 2.4.4 การทบทวนการออกแบบ (Design Review) การทบทวนการออกแบบอย่างเป็นระบบจะต้องถูกดาเนินการตามแผนการที่วางเอาไว้อย่างเหมาะสมต่างๆ โดย วัตถุประสงค์ของการทบทวนการออกแบบ คือ 1) เพื่อประเมินความสามารถของผลการออกแบบที่จะบรรลุถึงข้อกาหนดต่าง ๆ 2) เพื่อที่จะระบุถึงปัญหาต่าง ๆ และเสนอให้มีการดาเนินการที่จาเป็น ผู้ที่เข้าร่วมในการทบทวนจะต้องประกอบด้วยตัวแทนของฝ่ายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับขั้นตอนการออกแบบนั้น ๆ บันทึกผลการทบทวน และการดาเนินการที่จาเป็นนั้นจะต้องถูกรักษาไว้ 2.4.5 การทวนสอบการออกแบบ (Design Verification) จะต้องทาการทวนสอบตามแผนที่วางเอาไว้เพื่อให้มั่นใจว่าผลลัพธ์ต่าง ๆ ของการออกแบบได้บรรลุข้อกาหนด ต่าง ๆด้านข้อมูลการออกแบบและการพัฒนา บันทึกผลการทวนสอบและการดาเนินการที่จาเป็นต่าง ๆนั้นจะต้องถูกรักษาไว้ 2.4.6 การรับรองการออกแบบ (Design Validation) จะต้องทาการรับรองการออกแบบตามที่วางแผนเอาไว้ เพื่อให้มั่นใจว่าผลิตภัณฑ์ที่ออกมานั้นสามารถบรรลุ ข้อกาหนดต่าง ๆ ในการใช้งานตามที่กาหนดเอาไว้และถ้าสามารถทาได้ในทางปฏิบัติ การรับรองจะต้องเสร็จก่อนที่ ผลิตภัณฑ์จะถูกจัดส่งหรือนาผลิตภัณฑ์ไปใช้งาน บันทึกต่าง ๆ ของผลการรับรองและการดาเนินการต่าง ๆ ที่จาเป็นนั้น จะต้องถูกคงรักษาไว้ 2.4.7 การควบคุมการเปลี่ยนแปลงการออกแบบ และการพัฒนา (Control of Design Changes) การเปลี่ยนแปลงการออกแบบจะต้องเก็บรักษาบันทึกเอาไว้โดยการเปลี่ยนแปลงจะต้องถูกทบทวน ทวนสอบ และรับรองตามความเหมาะสมและได้รับอนุมัติก่อนนาผลิตภัณฑ์ไปใช้งานส่วนการทบทวนการเปลี่ยนแปลงการออกแบบ และการพัฒนาจะต้องรวมถึงการประเมินผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงที่มีต่อส่วนประกอบและผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่ได้จัดส่ง ไปแล้ว บันทึกต่าง ๆ ของผลการทบทวนการเปลี่ยนแปลงและดาเนินการที่จาเป็นจะต้องถูกคงรักษาไว้
  • 22. ขั้นตอนการดาเนินโครงการ คู่มือการใช้งานกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ 10 บทที่ 3 ขั้นตอนการดาเนินโครงการ 3.1 ภาพรวม การจะนากระบวนการที่นิยามขึ้นไปใช้งานนั้นองค์กรจาเป็นต้องเตรียมความพร้อมหลายประการ เช่น การจัดเตรียมโครงสร้างพื้นฐาน การจัดเตรียมเครื่องมือและสิ่งอานวยความสะดวกรวมถึง การจัดตั้งทีมงานสนับสนุนต่าง ๆ โดยสามารถสรุปสิ่งต่าง ๆ ที่องค์กรต้องจัดเตรียมดังหัวข้อย่อย ต่อไปนี้ ภาพที่ 3-1 ภาพรวม การเตรียมความพร้อมกระบวนการ หมายเหตุ ในแต่ละหัวข้อสามารถศึกษาแนวทางปฏิบัติเพิ่มเติมได้ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเอกสารฉบับนี้ 3.2 ขั้นตอนที่ 1: การสื่อสารในองค์กร (Organizational Alignment) เพื่อให้บุคคลากรได้ทราบถึงเป้าหมาย และจุดประสงค์ในการปรับปรุง และการเปลี่ยนแปลงการทางาน การดาเนินการ 1) มีการเผยแพร่ แจ้งเวียน ติดประกาศ ให้ทุกหน่วยงานหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง ทุกคนรับทราบ 2) การสร้างความมีส่วนร่วมของทุกคนในองค์กร ทั้งระดับ ผู้บริหารระดับสูง ระดับกลาง และชั้นต้น และ ผู้ปฏิบัติงานทั่วไป การปรับปรุง การนาไปใช้ เป็นมาตรฐาน องค์กร การตรวจ ประเมิน การใช้งาน กระบวนการ เตรียมความ พร้อม บุคลากร จัดตั้ง หน่วยงานและ โครงสร้าง ทีมงาน สื่อสารใน องค์กร การช่วยเหลือ และแก้ไขปัญหา แนวทางการ จัดการโครงแบบ ข้อมูล การควบคุมและ ติดตาม
  • 23. ขั้นตอนการดาเนินโครงการ คู่มือการใช้งานกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ 11 3.3 ขั้นตอนที่ 2: การจัดตั้งหน่วยงานและกาหนดโครงสร้างทีมงาน เพื่อให้กระบวนการปรับปรุงสามารถดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากทีมพัฒนาในแต่ละโครงการเฉพาะแล้ว องค์กรจะต้องมีการจัดตั้งหน่วยงานอิสระจากโครงการ เพิ่มขึ้นเพื่อคอยตรวจสอบติดตาม และให้การสนับสนุนโครงการ (รายละเอียดตาม บทที่ 2 ในเอกสารฉบับนี้) 3.3.1 การจัดการองค์กร 1) วิเคราะห์ โครงสร้างปัจจุบันของข้อมูลในระบบการตัดสินของผู้บริหารระดับสูง 2) วิเคราะห์ โครงสร้างปัจจุบันของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3) การวิเคราะห์ขอบเขตหน้าที่ ของผู้รับผิดชอบข้อมูล 4) ออกแบบปรับปรุงโครงสร้างของหน่วยงานที่ให้ข้อมูล เพื่อให้รองรับกับกระบวนการ SPI 5) กาหนดบทบาทหน้าที่ ขอบเขตภาระงาน และความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ 6) แจ้งผลการกาหนดบทบาทหน้าที่ ขอบเขตของข้อมูล ให้กับทุกหน่วยงานผู้ให้ข้อมูลทราบ 7) แจ้งเวียนบทบาทหน้าที่ ขอบเขตของข้อมูล หน้าที่ของหน่วยผู้ให้ข้อมูล ให้กับทุกคนในองค์กรทราบ และ แจ้งเวียนเป็นลายลักษณ์อักษร 3.3.2 การบริหารทรัพยากรมนุษย์ 1) วิเคราะห์ความสามารถ (Competency) จัดทาคุณสมบัติตามตาแหน่งงาน คือการกาหนดขอบเขตความ รับผิดชอบ การทางานสาคัญ ความรู้ ทักษะ และทัศนคติ ของบุคลากรในตาแหน่งงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 2) การสรรหาบุคลากรจากภายในและภายนอกที่คุณสมบัติ ความรู้ ทักษะ และทัศนคติ ตรงตามความต้องการของ ตาแหน่งงาน และตามจานวนซึ่งขึ้นกับปริมาณงาน 3) แต่งตั้งมอบหมายความรับผิดชอบ 3.4 ขั้นตอนที่ 3: การเตรียมความพร้อมบุคลากรในโครงการ เนื่องจากกระบวนการมาตรฐานนั้นมีข้อกาหนดด้านคุณภาพจานวนมากอ้างอิงอยู่ และมีผลให้ทีมงานโครงการ ต้องปรับตัวและอาจจะถึงต้องปรับเปลี่ยนกระบวนการทางานเดิมที่เคยดาเนินการ ดังนั้นก่อนที่จะมีการใช้งานกระบวนการ นี้การเตรียมความพร้อมด้านบุคลากรจึงเป็นเรื่องที่สาคัญอย่างมากซึ่งนอกจากจะเตรียมความพร้อมด้านความสามารถแล้ว การเตรียมความพร้อมด้านทัศนคคิ เพื่อลดแรงต้านจากการปรับเปลี่ยนก็เป็นเรื่องที่สาคัญไม่แพ้กันในเบื้องต้นขอแนะนาให้ องค์กรมีการเตรียมความพร้อมด้านบุคลากร ดังนี้ 1) ทาความเข้าใจถึงกระบวนการมาตรฐานองค์กรข้อดีและประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นจากการใช้กระบวนการมาตรฐาน 2) อบรมแนวทางในการปฏิบัติ และการตรวจสอบด้านคุณภาพ ข้อกาหนดด้านคุณภาพของแบบซอฟต์แวร์การ ประเมินผลทั้งผลิตภัณฑ์และกระบวนการ 3) อบรมการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ เพื่อทาความเข้าใจถึงแนวคิดในการออกแบบเชิงวัตถุ ทั้งนี้เพื่อให้ทีมงานออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ไปในทิศทางเดียวกัน
  • 24. ขั้นตอนการดาเนินโครงการ คู่มือการใช้งานกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ 12 3.4.1 การฝึกอบรม (Training) 1) ทาการวิเคราะห์ความต้องการในการฝึกอบรมของแต่ละตาแหน่งงานต่างๆที่เกี่ยวข้องโดยพิจารณา ความต้อง ความรู้ ทักษะ และ ทัศนคติ ที่เพิ่มขึ้นเมื่อจัดทา SPI 2) จัดทาแผนการฝึกอบรมที่เหมาะสม ในการพัฒนา ความรู้ ทักษะ และทัศนคติ ให้สามารถใช้งานกระบวนการ ออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ได้ 3) จัดฝึกอบรมและประเมินผล ความรู้ ทักษะ และทัศนคติ ก่อนและหลังการฝึกอบรม 4) หลังจากจบภารกิจ มีการทารายงานการดาเนินงาน ประชุมผู้เกี่ยวข้องเพื่อตรวจสอบและนาไปปรับปรุงแนวทาง ในการทาภารกิจ และระบบคุณภาพ ในครั้งต่อๆไป 3.5 ขั้นตอนที่ 4: การจัดการโครงแบบข้อมูลโครงการ (Configuration Management) การจัดการโครงแบบข้อมูลโครงการ (Project ConfigurationManagement) เป็ นการจัดเก็บผลลัพธ์ของ กระบวนการในคลังข้อมูลของโครงการ(Project Repository)เพื่อให้เป็นบรรทัดฐาน(Baseline) และเอกสารที่เกี่ยวข้องและ มีการจัดการและความคุมการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ตามนโยบายที่ได้กาหนดไว้ สาหรับในกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์นั้นมีรายการที่ต้องถูกระบุใน ConfigurationManagement Item ดังตารางต่อไปนี้ ตารางที่ 5 รายการของผลผลิตในกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์ที่ต้องได้รับการควบคุม รหัส รายการข้อมูล TCR Traceability Record ที่ปรับปรุง (ถ้าจาป็น) VLD Validation Results TC&TP กรณีทดสอบและขั้นตอนการทดสอบ SSD แบบรายละเอียดซอฟต์แวร์