SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
รายงาน
เรื่อง การสื่อสารแบบ Analog
เสนอ
อาจารย์อดิเรก เยาวงค์
จัดทาโดย
1. นางสาวทิพเนตร แม้นจิตร รหัสประจาตัว 57003126019
2. นางสาวชลันดา คล้ายขาดี รหัสประจาตัว 57003126043
3. นายชัยณรงค์ มะหารักษ์ รหัสประจาตัว 57003126051
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา กลุ่มเรียน 5700312601
เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาระบบการสื่อสารข้อมูลและอินเทอร์เน็ต (ECE302)
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559
ก
รายงาน
เรื่อง การสื่อสารแบบ Analog
เสนอ
อาจารย์อดิเรก เยาวงค์
จัดทาโดย
1. นางสาวทิพเนตร แม้นจิตร รหัสประจาตัว 57003126019
2. นางสาวชลันดา คล้ายขาดี รหัสประจาตัว 57003126043
3. นายชัยณรงค์ มะหารักษ์ รหัสประจาตัว 57003126051
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา กลุ่มเรียน 5700312601
เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาระบบการสื่อสารข้อมูลและอินเทอร์เน็ต (ECE302)
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559
ข
คานา
รายงานนี้จัดทาขึ้นเพื่อประกอบการเรียนระบบการสื่อสารข้อมูลและ
อินเทอร์เน็ต (ECE302) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ โดยขอบเขต
เนื้อหาของรายงานฉบับนี้เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการสื่อสารแบบอนาล็อกซึ่งเป็นวิธีการเก็บ
ข้อมูลที่ได้จากการวัดในลักษณะที่มีความต่อเนื่อง จะใช้งานกับระบบอิเล็กทรอนิกส์
รวมถึงระบบเครื่องกล ไฮดรอลิก และระบบอื่น ๆ
คณะผู้จัดทารายงานนี้ขอขอบคุณอาจารย์อดิเรก เยาว์วงค์ ที่ให้คาแนะนา
เกี่ยวกับการสื่อสารในส่วนแอนะล็อก ตลอดจนสนับสนุนเอกสารใช้ประกอบการจัดทา
รายงานฉบับนี้
คณะผู้จัดทา
ค
สารบัญ
หน้า
ปก....................................................................................................................................ก
คานา................................................................................................................................ข
สารบัญ.............................................................................................................................ค
สารบัญภาพ.....................................................................................................................ง
สัญญาณอนาล็อก(Analog Signal)
ลักษณะของสัญญาณอนาล็อก(Analog Signal).......................................................1
พื้นฐานของสัญญาณอนาล็อก(Analog Signal)........................................................2
สัญญาณคลื่นนา (Carrier Wave).............................................................................5
โมเด็ม (Modem)......................................................................................................7
ความแตกต่างของ Analog & Digital......................................................................8
เอกสารอ้างอิง..................................................................................................................9
ง
สารบัญภาพ
หน้า
รูปที่ 1 : รูปแบบสัญญาณอนาล็อก .................................................................................1
รูปที่ 2 : คลื่นซายน์ (Sine Wave)..................................................................................2
รูปที่ 3 : ความถี่ แทนหน่วยวัดเป็นเฮิรตซ์ (Hertz : Hz) ................................................2
รูปที่ 4 : คาบ (Period) .................................................................................................3
รูปที่ 5 : คลื่นสัญญาณทางานครบ 1 รอบ จะเรียกว่า Cycle.........................................3
รูปที่ 6 : เฟส เป็นการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณ............................................................4
รูปที่ 7 : การแปลงข้อมูลอนาล็อกให้เป็นสัญญาณอนาล็อก............................................5
รูปที่ 8 : การแปลงข้อมูลดิจิตอลให้เป็นสัญญาณอนาล็อก..............................................6
รูปที่ 9 : โมเด็ม (Modem)..............................................................................................7
สัญญาณอนาล็อก(Analog Signal)
สัญญาณอนาล็อก (Analog Signal) เป็นสัญญาณแบบต่อเนื่อง มีลักษณะเป็นคลื่นไซน์
(sine wave) โดยที่แต่ละคลื่นจะมีความถี่และความเข้มของสัญญาณที่ต่างกัน เมื่อนาสัญญาณข้อมูล
เหล่านี้ผ่านอุปกรณ์รับสัญญาณและแปลงสัญญาณก็จะได้ข้อมูลที่ต้องการ ตัวอย่างของการส่งข้อมูลที่
มีสัญญาณแบบอนาล็อก คือ การส่งผ่านระบบโทรศัพท์
สัญญาณอนาล็อกเป็นสัญญาณที่มักเกิดขึ้นในธรรมชาติเป็นสัญญาณที่มีความต่อเนื่อง
ไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว สัญญาณแบบนี้ เช่น เสียงพูด เสียงดนตรี เป็นต้น สัญญาณ
อนาล็อกสามารถถูกรบกวนได้ง่ายจากสัญญาณรบกวน (Noise) หากมีสัญญาณรบกวนปะปนมากับ
สัญญาณอนาล็อกแล้ว จะส่งผลให้การส่งข้อมูลช้าลง และทาให้การจาแนกหรือตัดสัญญาณรบกวน
ออกจากข้อมูลต้นฉบับทาได้ยาก
รูปที่ 1 : รูปแบบสัญญาณอนาล็อก
ที่มา : http://chummy-online.blogspot.com/2012/11/analog-signal.html.
เมื่อสัญญาณอนาล็อกถูกส่งบนระยะทางที่ไกลออกไป ระดับสัญญาณจะถูกลดทอนลง
ดังนั้นจึงต้องใช้อุปกรณ์ที่เรียกว่า “แอมพลิไฟเออร์” ซึ่งเป็นอุปกรณ์ในการเพิ่มกาลังหรือความเข้มให้
สัญญาณ ทาให้สามารถส่งสัญญาณในระยะทางที่ไกลออกไป แต่การเพิ่มกาลังของสัญญาณของ
“แอมพลิไฟเออร์” จะส่งผลให้สัญญาณรบกวนขยายเพิ่มขึ้นด้วย
2
พื้นฐานของสัญญาณอนาล็อก
1. แอมพลิจูด (Amplitude)
สัญญาณอนาล็อกที่มีการเคลื่อนที่ในลักษณะเป็นรูปคลื่นขึ้นลงสลับกัน และก้าวไปตาม
เวลาแบบสมบูรณ์นั้น เรียกว่า “คลื่นซายน์ (Sine Wave)”
รูปที่ 2 : คลื่นซายน์ (Sine Wave)
ที่มา : http://www.slideshare.net/siriphanjaa/analog-digital-transmission.
แอมพลิจูดจะเป็นค่าที่วัดจากแรงดันไฟฟ้า ซึ่งอาจเป็นระดับของคลื่นจุดสูงสุด (High
Amplitude) หรือจุดต่าสุด (Low Amplitude) และแทนด้วยหน่วยวัดเป็นโวลด์ (Volt)
2. ความถี่ (Frequency)
ความถี่ หมายถึง อัตราการขึ้นลงของคลื่น ซึ่งเกิดขึ้นจานวนกรอบใน 1 วินาที โดยความถี่
นั้น จะใช้แทนหน่วยวัดเป็นเฮิรตซ์ (Hertz : Hz)
รูปที่ 3 : ความถี่ แทนหน่วยวัดเป็นเฮิรตซ์ (Hertz : Hz)
ที่มา : http://www.slideshare.net/siriphanjaa/analog-digital-transmission.
3
คาบ (Period) เป็นระยะเวลาของสัญญาณที่เปลี่ยนแปลงไปจนครบรอบ โดยจะมีรูปแบบ
ซ้าๆ กันในทุกช่วงเวลา โดยหน่วยวัดของคาบเวลาจะใช้เป็นวินาที และเมื่อคลื่นสัญญาณทางานครบ
1 รอบ จะเรียกว่า Cycle
รูปที่ 4 : คาบ (Period)
ที่มา : http://www.slideshare.net/siriphanjaa/analog-digital-transmission.
รูปที่ 5 : คลื่นสัญญาณทางานครบ 1 รอบ จะเรียกว่า Cycle
ที่มา : http://www.slideshare.net/siriphanjaa/analog-digital-transmission.
4
3. เฟส (Phase)
เฟส เป็นการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณ ซึ่งจะวัดจากตาแหน่งองศาของสัญญาณเมื่อเวลา
ผ่านไป โดยเฟสสามารถเปลี่ยนแปลงตาแหน่ง (Phase Shift) ในลักษณะเลื่อนไปข้างหน้าหรือถ้อย
หลังก็ได้ การเลื่อนไปข้างหน้าจานวนครึ่งหนึ่งของลูกคลื่น จะถือวาเฟสเปลี่ยนแปลงไป 180 องศา
รูปที่ 6 : เฟส เป็นการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณ
ที่มา : http://www.slideshare.net/siriphanjaa/analog-digital-transmission.
5
สัญญาณคลื่นนา (Carrier Wave)
สัญญาณคลื่นนา หมายถึง พลังงานคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ช่วยนาสัญญาณข้อมูลเคลื่อนย้าย
จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่สูง สามารถส่งผ่านสื่อกลางไปใน
ระยะไกลๆได้
การแปลงข้อมูลอนาล็อกให้เป็นสัญญาณอนาล็อก
รูปที่ 7 : การแปลงข้อมูลอนาล็อกให้เป็นสัญญาณอนาล็อก
ที่มา : http://ratrilovely603.blogspot.com/.
- การมอดูเลตชนิดเปลี่ยนความสูงของคลื่นนา (Amplitude Modulation : AM)
- การมอดูเลตชนิดเปลี่ยนความถี่ของคลื่นนา (Frequency Modulation : FM )
- การมอดูเลตชนิดเปลี่ยนเฟสของคลื่นนา (Phase Modulation : PM )
6
การแปลงข้อมูลดิจิตอลให้เป็นสัญญาณอนาล็อก
รูปที่ 8 : การแปลงข้อมูลดิจิตอลให้เป็นสัญญาณอนาล็อก
ที่มา : http://ratrilovely603.blogspot.com/.
- การมอดูเลตเชิงเลขชนิดเปลี่ยนความสูงของคลื่นนา (Amplitude Shift Keying : ASM)
- การมอดูเลตเชิงเลขชนิดเปลี่ยนความถี่ของคลื่นนา (Frequency Shift Keying : FSK)
- การมอดูเลตเชิงเลขชนิดเปลี่ยนเฟสของคลื่นนา (Phase Shift Keying : PSK)
7
โมเด็ม (MODEM)
โมเด็ม เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ในการแปลงข้อมูลดิจิตอล ให้เป็นสัญญาณอนาล็อก เพื่อให้
สามารถส่งผ่านสื่อกลางประเภทอนาล็อกได้
รูปที่ 9 : โมเด็ม (Modem)
ที่มา : http://ratrilovely603.blogspot.com/.
วิธีการส่งข้อมูลของโมเด็ม
- การมอดูเลตเชิงเลขชนิดเปลี่ยนความสูงของคลื่นนา (Amplitude Shift Keying : ASM)
- การมอดูเลตเชิงเลขชนิดเปลี่ยนความถี่ของคลื่นนา (Frequency Shift Keying : FSK)
- การมอดูเลตเชิงเลขชนิดเปลี่ยนเฟสของคลื่นนา (Phase Shift Keying : PSK)
รูปแบบการส่งข้อมูลของโมเด็ม
รูปแบบของข้อมูลที่โมเด็มทาการส่งไปในสื่อกลาง สามารถแบ่งได้ตามประเภทโมเด็ม
คือ โมเด็มแบบอะซิงโครนัส และโมเด็มแบบซิงโครนัส
การอินเตอร์เฟซของโมเด็ม (Modem Interface)
ในการใช้โมเด็มเพื่อทาการส่งหรือรับข้อมูลจะต้องทาการเชื่อมต่อกับพอร์ต (Port) ของ
อุปกรณ์การสื่อสารเช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งมาตรฐานในการเชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์
และโมเด็มนิยมใช้ในปัจจุบัน คือ มาตรฐาน RS-232
8
ความแตกต่างของ Analog & Digital
สัญญาณดิจิตอลมีลักษณะพิเศษที่แตกต่างจากสัญญาณอนาล็อกเป็นอย่างมาก กล่าวคือ
สัญญาณดิจิตอลเป็นสัญญาณที่ไม่ต่อเนื่อง แต่มีลักษณะเป็นชิ้น ๆ หรือเป็นท่อน ๆ ซึ่งเรามีศัพท์เรียก
ลักษณะดังกล่าวว่า ดิสครีต (Discrete) และสัญญาณจะมีค่าได้เฉพาะค่าที่กาหนด ไว้ตายตัวเท่านั้น
เช่น ในระบบดิจิตอลที่ใช้กันทั่วไปนั้นใช้สัญญาณระบบเลขฐานสอง (Binary) ซึ่งมีค่าเพียงสองระดับ
เท่านั้น จากรูป แสดงลักษณะของสัญญาณดิจิตอล ในกรณีนี้สัญญาณสามารถมีค่าที่กาหนดไว้สอง
ระดับคือ 0 กับ 5 โวลต์ ตามรูปนี้สัญญาณมีค่า5 โวลต์ ในช่วงเวลาระหว่า t = 1 ถึง 2 กับในช่วงเวลา
ระหว่าง t = 3 ถึง 4 นอกจากช่วงเวลา ทั้งสองดังกล่าวสัญญาณมีค่า 0 โวลต์
ถ้าส่งสัญญาณนี้ไปตามสายหรือไปกับคลื่นวิทยุ เมื่อไปถึงปลายทางขนาดและรูปร่างของ
คลื่น อาจผิดเพี้ยงไปบ้าง ในทางปฏิบัติเรากาหนดค่าขั้นต่าของสัญญาณระดับสูง (VH min) และค่า
ขั้นสูงของสัญญาณระดับต่า (VL max) ไว้ เพื่อให้สามารถแยกระดับแรงดันไฟฟ้า ทั้งสองจากสัญญาณ
ดิจิตอลที่ ผิดเพี้ยนไปได้โดยวิธีนี้ระบบที่รับสัญญาณดิจิตอลก็ยังสามารถท่างานได้อย่างถูกต้อง แม้ว่า
สัญญาณที่ รับเข้ามาจะมีความผิดเพี้ยนค่อนข้างมาก ซึ่งเป็นจุดเด่นของระบบดิจิตอลที่เหนือกว่า
ระบบอนาล็อก
การเข้าใจความแตกต่างระหว่างสัญญาณอนาล็อกและดิจิตอล ถือว่ามีความสาคัญมากใน
การที่จะเข้าใจการสื่อสารข้อมูล สัญญาณอนาล็อกเป็นสัญญาณที่มีความต่อเนื่อง และมีค่าตลอดช่วง
ของสัญญาณ เช่น เสียงพูด, เสียงดนตรี, วีดีโอ บางครั้งเรียกว่าบอร์ดแบนด์ หรือ สัญญาณมอดูเลท
สัญญาณดิจิตอลเป็นกลุ่มของสัญญาณที่มีค่าไม่ต่อเนื่อง ภายในช่วงสัญญาณมีรูปแบบเป็นสัญญาณ
และเป็นเลขฐานสอง คือ มีค่า 2 ค่า เป็น1 และ 0 สัญญาณดิจิตอลอาจจะเรียกว่า “เบสแบนด์”
9
เอกสารอ้างอิง
ราตรี ทองดี. (2555). สัญญาณอนาล็อกและสัญญาณดิจิตอล[ออนไลน์]. เข้าถึงข้อมูล
วันที่ 6 ตุลาคม 2559. จาก http://ratrilovely603.blogspot.com/.
สัญญาณแอนะล็อก (Analog Signal) [ออนไลน์]. เข้าถึงข้อมูลวันที่ 5 ตุลาคม 2559.
จาก http://chummy-online.blogspot.com/2012/11/analog-
signal.html.
Siriphanjaa. (2557). Analog & digital transmission [ออนไลน์].เข้าถึงข้อมูล
วันที่ 6 ตุลาคม 2559. จาก http://www.slideshare.net/siriphanjaa
/analog-digital-transmission.
การสื่อสารแบบ Analog

More Related Content

What's hot

แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56dnavaroj
 
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่มโครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่มeeii
 
สื่อการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ(65)
สื่อการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ(65)สื่อการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ(65)
สื่อการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ(65)GexkO
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย VidinotiDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ชาตะไคร้
ชาตะไคร้ชาตะไคร้
ชาตะไคร้Theyok Tanya
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องmoohhack
 
บทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตบทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตThanawut Rattanadon
 
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นพจีกานต์ หว่านพืช
 
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)Iam Champooh
 
ตัวละครในกัณฑ์ชูชก
ตัวละครในกัณฑ์ชูชกตัวละครในกัณฑ์ชูชก
ตัวละครในกัณฑ์ชูชกnnbtt
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีBlackrab Chiba
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในamixdouble
 
IS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
IS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราIS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
IS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราIam Champooh
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยSuriyawaranya Asatthasonthi
 

What's hot (20)

แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
 
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่มโครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
 
สื่อการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ(65)
สื่อการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ(65)สื่อการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ(65)
สื่อการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ(65)
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
 
ชาตะไคร้
ชาตะไคร้ชาตะไคร้
ชาตะไคร้
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตบทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิต
 
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
 
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
 
ตัวละครในกัณฑ์ชูชก
ตัวละครในกัณฑ์ชูชกตัวละครในกัณฑ์ชูชก
ตัวละครในกัณฑ์ชูชก
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
IS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
IS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราIS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
IS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
 

Similar to การสื่อสารแบบ Analog

ไมโครเวฟ
ไมโครเวฟไมโครเวฟ
ไมโครเวฟPram Pu-ngoen
 
คลื่น ไมโครเวฟ 2003
คลื่น ไมโครเวฟ 2003คลื่น ไมโครเวฟ 2003
คลื่น ไมโครเวฟ 2003Peerapas Trungtreechut
 
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402Pitchayanis Kittichaovanun
 
การถ่ายโอนข้อมูล
การถ่ายโอนข้อมูลการถ่ายโอนข้อมูล
การถ่ายโอนข้อมูลpatcha130
 
การสื่อสารข้อมูล2
การสื่อสารข้อมูล2การสื่อสารข้อมูล2
การสื่อสารข้อมูล2Kanokwan Kanjana
 
เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
เรื่อง การสื่อสารข้อมูลเรื่อง การสื่อสารข้อมูล
เรื่อง การสื่อสารข้อมูลBanjamasJandeng21
 
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405Jutapak Mahapaskorn
 

Similar to การสื่อสารแบบ Analog (8)

ไมโครเวฟ
ไมโครเวฟไมโครเวฟ
ไมโครเวฟ
 
คลื่น ไมโครเวฟ 2003
คลื่น ไมโครเวฟ 2003คลื่น ไมโครเวฟ 2003
คลื่น ไมโครเวฟ 2003
 
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
 
การถ่ายโอนข้อมูล
การถ่ายโอนข้อมูลการถ่ายโอนข้อมูล
การถ่ายโอนข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล2
การสื่อสารข้อมูล2การสื่อสารข้อมูล2
การสื่อสารข้อมูล2
 
เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
เรื่อง การสื่อสารข้อมูลเรื่อง การสื่อสารข้อมูล
เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
 
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405
 

More from Chainarong Maharak

การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ Schoology
การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ Schoologyการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ Schoology
การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ SchoologyChainarong Maharak
 
โปรแกรม Edraw Mind map
โปรแกรม Edraw Mind mapโปรแกรม Edraw Mind map
โปรแกรม Edraw Mind mapChainarong Maharak
 
การติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กรการติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กรChainarong Maharak
 
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง : ฟ้องแย้ง
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง : ฟ้องแย้งกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง : ฟ้องแย้ง
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง : ฟ้องแย้งChainarong Maharak
 
ผู้จัดการมรดก
ผู้จัดการมรดกผู้จัดการมรดก
ผู้จัดการมรดกChainarong Maharak
 
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปมไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปมChainarong Maharak
 
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปมไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปมChainarong Maharak
 
การสร้างการ์ดอวยพรด้วยโปรแกรม Microsoft Word
การสร้างการ์ดอวยพรด้วยโปรแกรม Microsoft Wordการสร้างการ์ดอวยพรด้วยโปรแกรม Microsoft Word
การสร้างการ์ดอวยพรด้วยโปรแกรม Microsoft WordChainarong Maharak
 
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้Chainarong Maharak
 
โปรแกรม Sketch up
โปรแกรม Sketch upโปรแกรม Sketch up
โปรแกรม Sketch upChainarong Maharak
 
คู่มือการใช้งาน โปรแกรมคำนวณสถิติขั้นพื้นฐาน
คู่มือการใช้งาน โปรแกรมคำนวณสถิติขั้นพื้นฐานคู่มือการใช้งาน โปรแกรมคำนวณสถิติขั้นพื้นฐาน
คู่มือการใช้งาน โปรแกรมคำนวณสถิติขั้นพื้นฐานChainarong Maharak
 
บริการจัดวางตัวบุคคล
บริการจัดวางตัวบุคคลบริการจัดวางตัวบุคคล
บริการจัดวางตัวบุคคลChainarong Maharak
 
คู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอน
คู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอนคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอน
คู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอนChainarong Maharak
 
ระบบฐานข้อมูลการซื้อขายสินค้าของสหกรณ์
ระบบฐานข้อมูลการซื้อขายสินค้าของสหกรณ์ระบบฐานข้อมูลการซื้อขายสินค้าของสหกรณ์
ระบบฐานข้อมูลการซื้อขายสินค้าของสหกรณ์Chainarong Maharak
 
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์Chainarong Maharak
 
การเยี่ยมบ้าน
การเยี่ยมบ้านการเยี่ยมบ้าน
การเยี่ยมบ้านChainarong Maharak
 
หลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวChainarong Maharak
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวChainarong Maharak
 
เขื่อนขุนด่านปราการชล โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
เขื่อนขุนด่านปราการชล โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริเขื่อนขุนด่านปราการชล โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
เขื่อนขุนด่านปราการชล โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริChainarong Maharak
 

More from Chainarong Maharak (20)

ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทย
 
การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ Schoology
การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ Schoologyการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ Schoology
การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ Schoology
 
โปรแกรม Edraw Mind map
โปรแกรม Edraw Mind mapโปรแกรม Edraw Mind map
โปรแกรม Edraw Mind map
 
การติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กรการติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กร
 
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง : ฟ้องแย้ง
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง : ฟ้องแย้งกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง : ฟ้องแย้ง
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง : ฟ้องแย้ง
 
ผู้จัดการมรดก
ผู้จัดการมรดกผู้จัดการมรดก
ผู้จัดการมรดก
 
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปมไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
 
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปมไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
 
การสร้างการ์ดอวยพรด้วยโปรแกรม Microsoft Word
การสร้างการ์ดอวยพรด้วยโปรแกรม Microsoft Wordการสร้างการ์ดอวยพรด้วยโปรแกรม Microsoft Word
การสร้างการ์ดอวยพรด้วยโปรแกรม Microsoft Word
 
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
 
โปรแกรม Sketch up
โปรแกรม Sketch upโปรแกรม Sketch up
โปรแกรม Sketch up
 
คู่มือการใช้งาน โปรแกรมคำนวณสถิติขั้นพื้นฐาน
คู่มือการใช้งาน โปรแกรมคำนวณสถิติขั้นพื้นฐานคู่มือการใช้งาน โปรแกรมคำนวณสถิติขั้นพื้นฐาน
คู่มือการใช้งาน โปรแกรมคำนวณสถิติขั้นพื้นฐาน
 
บริการจัดวางตัวบุคคล
บริการจัดวางตัวบุคคลบริการจัดวางตัวบุคคล
บริการจัดวางตัวบุคคล
 
คู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอน
คู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอนคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอน
คู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอน
 
ระบบฐานข้อมูลการซื้อขายสินค้าของสหกรณ์
ระบบฐานข้อมูลการซื้อขายสินค้าของสหกรณ์ระบบฐานข้อมูลการซื้อขายสินค้าของสหกรณ์
ระบบฐานข้อมูลการซื้อขายสินค้าของสหกรณ์
 
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
 
การเยี่ยมบ้าน
การเยี่ยมบ้านการเยี่ยมบ้าน
การเยี่ยมบ้าน
 
หลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
 
เขื่อนขุนด่านปราการชล โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
เขื่อนขุนด่านปราการชล โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริเขื่อนขุนด่านปราการชล โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
เขื่อนขุนด่านปราการชล โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
 

การสื่อสารแบบ Analog

  • 1. รายงาน เรื่อง การสื่อสารแบบ Analog เสนอ อาจารย์อดิเรก เยาวงค์ จัดทาโดย 1. นางสาวทิพเนตร แม้นจิตร รหัสประจาตัว 57003126019 2. นางสาวชลันดา คล้ายขาดี รหัสประจาตัว 57003126043 3. นายชัยณรงค์ มะหารักษ์ รหัสประจาตัว 57003126051 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา กลุ่มเรียน 5700312601 เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาระบบการสื่อสารข้อมูลและอินเทอร์เน็ต (ECE302) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559
  • 2. ก รายงาน เรื่อง การสื่อสารแบบ Analog เสนอ อาจารย์อดิเรก เยาวงค์ จัดทาโดย 1. นางสาวทิพเนตร แม้นจิตร รหัสประจาตัว 57003126019 2. นางสาวชลันดา คล้ายขาดี รหัสประจาตัว 57003126043 3. นายชัยณรงค์ มะหารักษ์ รหัสประจาตัว 57003126051 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา กลุ่มเรียน 5700312601 เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาระบบการสื่อสารข้อมูลและอินเทอร์เน็ต (ECE302) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559
  • 3. ข คานา รายงานนี้จัดทาขึ้นเพื่อประกอบการเรียนระบบการสื่อสารข้อมูลและ อินเทอร์เน็ต (ECE302) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ โดยขอบเขต เนื้อหาของรายงานฉบับนี้เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการสื่อสารแบบอนาล็อกซึ่งเป็นวิธีการเก็บ ข้อมูลที่ได้จากการวัดในลักษณะที่มีความต่อเนื่อง จะใช้งานกับระบบอิเล็กทรอนิกส์ รวมถึงระบบเครื่องกล ไฮดรอลิก และระบบอื่น ๆ คณะผู้จัดทารายงานนี้ขอขอบคุณอาจารย์อดิเรก เยาว์วงค์ ที่ให้คาแนะนา เกี่ยวกับการสื่อสารในส่วนแอนะล็อก ตลอดจนสนับสนุนเอกสารใช้ประกอบการจัดทา รายงานฉบับนี้ คณะผู้จัดทา
  • 4. ค สารบัญ หน้า ปก....................................................................................................................................ก คานา................................................................................................................................ข สารบัญ.............................................................................................................................ค สารบัญภาพ.....................................................................................................................ง สัญญาณอนาล็อก(Analog Signal) ลักษณะของสัญญาณอนาล็อก(Analog Signal).......................................................1 พื้นฐานของสัญญาณอนาล็อก(Analog Signal)........................................................2 สัญญาณคลื่นนา (Carrier Wave).............................................................................5 โมเด็ม (Modem)......................................................................................................7 ความแตกต่างของ Analog & Digital......................................................................8 เอกสารอ้างอิง..................................................................................................................9
  • 5. ง สารบัญภาพ หน้า รูปที่ 1 : รูปแบบสัญญาณอนาล็อก .................................................................................1 รูปที่ 2 : คลื่นซายน์ (Sine Wave)..................................................................................2 รูปที่ 3 : ความถี่ แทนหน่วยวัดเป็นเฮิรตซ์ (Hertz : Hz) ................................................2 รูปที่ 4 : คาบ (Period) .................................................................................................3 รูปที่ 5 : คลื่นสัญญาณทางานครบ 1 รอบ จะเรียกว่า Cycle.........................................3 รูปที่ 6 : เฟส เป็นการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณ............................................................4 รูปที่ 7 : การแปลงข้อมูลอนาล็อกให้เป็นสัญญาณอนาล็อก............................................5 รูปที่ 8 : การแปลงข้อมูลดิจิตอลให้เป็นสัญญาณอนาล็อก..............................................6 รูปที่ 9 : โมเด็ม (Modem)..............................................................................................7
  • 6. สัญญาณอนาล็อก(Analog Signal) สัญญาณอนาล็อก (Analog Signal) เป็นสัญญาณแบบต่อเนื่อง มีลักษณะเป็นคลื่นไซน์ (sine wave) โดยที่แต่ละคลื่นจะมีความถี่และความเข้มของสัญญาณที่ต่างกัน เมื่อนาสัญญาณข้อมูล เหล่านี้ผ่านอุปกรณ์รับสัญญาณและแปลงสัญญาณก็จะได้ข้อมูลที่ต้องการ ตัวอย่างของการส่งข้อมูลที่ มีสัญญาณแบบอนาล็อก คือ การส่งผ่านระบบโทรศัพท์ สัญญาณอนาล็อกเป็นสัญญาณที่มักเกิดขึ้นในธรรมชาติเป็นสัญญาณที่มีความต่อเนื่อง ไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว สัญญาณแบบนี้ เช่น เสียงพูด เสียงดนตรี เป็นต้น สัญญาณ อนาล็อกสามารถถูกรบกวนได้ง่ายจากสัญญาณรบกวน (Noise) หากมีสัญญาณรบกวนปะปนมากับ สัญญาณอนาล็อกแล้ว จะส่งผลให้การส่งข้อมูลช้าลง และทาให้การจาแนกหรือตัดสัญญาณรบกวน ออกจากข้อมูลต้นฉบับทาได้ยาก รูปที่ 1 : รูปแบบสัญญาณอนาล็อก ที่มา : http://chummy-online.blogspot.com/2012/11/analog-signal.html. เมื่อสัญญาณอนาล็อกถูกส่งบนระยะทางที่ไกลออกไป ระดับสัญญาณจะถูกลดทอนลง ดังนั้นจึงต้องใช้อุปกรณ์ที่เรียกว่า “แอมพลิไฟเออร์” ซึ่งเป็นอุปกรณ์ในการเพิ่มกาลังหรือความเข้มให้ สัญญาณ ทาให้สามารถส่งสัญญาณในระยะทางที่ไกลออกไป แต่การเพิ่มกาลังของสัญญาณของ “แอมพลิไฟเออร์” จะส่งผลให้สัญญาณรบกวนขยายเพิ่มขึ้นด้วย
  • 7. 2 พื้นฐานของสัญญาณอนาล็อก 1. แอมพลิจูด (Amplitude) สัญญาณอนาล็อกที่มีการเคลื่อนที่ในลักษณะเป็นรูปคลื่นขึ้นลงสลับกัน และก้าวไปตาม เวลาแบบสมบูรณ์นั้น เรียกว่า “คลื่นซายน์ (Sine Wave)” รูปที่ 2 : คลื่นซายน์ (Sine Wave) ที่มา : http://www.slideshare.net/siriphanjaa/analog-digital-transmission. แอมพลิจูดจะเป็นค่าที่วัดจากแรงดันไฟฟ้า ซึ่งอาจเป็นระดับของคลื่นจุดสูงสุด (High Amplitude) หรือจุดต่าสุด (Low Amplitude) และแทนด้วยหน่วยวัดเป็นโวลด์ (Volt) 2. ความถี่ (Frequency) ความถี่ หมายถึง อัตราการขึ้นลงของคลื่น ซึ่งเกิดขึ้นจานวนกรอบใน 1 วินาที โดยความถี่ นั้น จะใช้แทนหน่วยวัดเป็นเฮิรตซ์ (Hertz : Hz) รูปที่ 3 : ความถี่ แทนหน่วยวัดเป็นเฮิรตซ์ (Hertz : Hz) ที่มา : http://www.slideshare.net/siriphanjaa/analog-digital-transmission.
  • 8. 3 คาบ (Period) เป็นระยะเวลาของสัญญาณที่เปลี่ยนแปลงไปจนครบรอบ โดยจะมีรูปแบบ ซ้าๆ กันในทุกช่วงเวลา โดยหน่วยวัดของคาบเวลาจะใช้เป็นวินาที และเมื่อคลื่นสัญญาณทางานครบ 1 รอบ จะเรียกว่า Cycle รูปที่ 4 : คาบ (Period) ที่มา : http://www.slideshare.net/siriphanjaa/analog-digital-transmission. รูปที่ 5 : คลื่นสัญญาณทางานครบ 1 รอบ จะเรียกว่า Cycle ที่มา : http://www.slideshare.net/siriphanjaa/analog-digital-transmission.
  • 9. 4 3. เฟส (Phase) เฟส เป็นการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณ ซึ่งจะวัดจากตาแหน่งองศาของสัญญาณเมื่อเวลา ผ่านไป โดยเฟสสามารถเปลี่ยนแปลงตาแหน่ง (Phase Shift) ในลักษณะเลื่อนไปข้างหน้าหรือถ้อย หลังก็ได้ การเลื่อนไปข้างหน้าจานวนครึ่งหนึ่งของลูกคลื่น จะถือวาเฟสเปลี่ยนแปลงไป 180 องศา รูปที่ 6 : เฟส เป็นการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณ ที่มา : http://www.slideshare.net/siriphanjaa/analog-digital-transmission.
  • 10. 5 สัญญาณคลื่นนา (Carrier Wave) สัญญาณคลื่นนา หมายถึง พลังงานคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ช่วยนาสัญญาณข้อมูลเคลื่อนย้าย จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่สูง สามารถส่งผ่านสื่อกลางไปใน ระยะไกลๆได้ การแปลงข้อมูลอนาล็อกให้เป็นสัญญาณอนาล็อก รูปที่ 7 : การแปลงข้อมูลอนาล็อกให้เป็นสัญญาณอนาล็อก ที่มา : http://ratrilovely603.blogspot.com/. - การมอดูเลตชนิดเปลี่ยนความสูงของคลื่นนา (Amplitude Modulation : AM) - การมอดูเลตชนิดเปลี่ยนความถี่ของคลื่นนา (Frequency Modulation : FM ) - การมอดูเลตชนิดเปลี่ยนเฟสของคลื่นนา (Phase Modulation : PM )
  • 11. 6 การแปลงข้อมูลดิจิตอลให้เป็นสัญญาณอนาล็อก รูปที่ 8 : การแปลงข้อมูลดิจิตอลให้เป็นสัญญาณอนาล็อก ที่มา : http://ratrilovely603.blogspot.com/. - การมอดูเลตเชิงเลขชนิดเปลี่ยนความสูงของคลื่นนา (Amplitude Shift Keying : ASM) - การมอดูเลตเชิงเลขชนิดเปลี่ยนความถี่ของคลื่นนา (Frequency Shift Keying : FSK) - การมอดูเลตเชิงเลขชนิดเปลี่ยนเฟสของคลื่นนา (Phase Shift Keying : PSK)
  • 12. 7 โมเด็ม (MODEM) โมเด็ม เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ในการแปลงข้อมูลดิจิตอล ให้เป็นสัญญาณอนาล็อก เพื่อให้ สามารถส่งผ่านสื่อกลางประเภทอนาล็อกได้ รูปที่ 9 : โมเด็ม (Modem) ที่มา : http://ratrilovely603.blogspot.com/. วิธีการส่งข้อมูลของโมเด็ม - การมอดูเลตเชิงเลขชนิดเปลี่ยนความสูงของคลื่นนา (Amplitude Shift Keying : ASM) - การมอดูเลตเชิงเลขชนิดเปลี่ยนความถี่ของคลื่นนา (Frequency Shift Keying : FSK) - การมอดูเลตเชิงเลขชนิดเปลี่ยนเฟสของคลื่นนา (Phase Shift Keying : PSK) รูปแบบการส่งข้อมูลของโมเด็ม รูปแบบของข้อมูลที่โมเด็มทาการส่งไปในสื่อกลาง สามารถแบ่งได้ตามประเภทโมเด็ม คือ โมเด็มแบบอะซิงโครนัส และโมเด็มแบบซิงโครนัส การอินเตอร์เฟซของโมเด็ม (Modem Interface) ในการใช้โมเด็มเพื่อทาการส่งหรือรับข้อมูลจะต้องทาการเชื่อมต่อกับพอร์ต (Port) ของ อุปกรณ์การสื่อสารเช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งมาตรฐานในการเชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ และโมเด็มนิยมใช้ในปัจจุบัน คือ มาตรฐาน RS-232
  • 13. 8 ความแตกต่างของ Analog & Digital สัญญาณดิจิตอลมีลักษณะพิเศษที่แตกต่างจากสัญญาณอนาล็อกเป็นอย่างมาก กล่าวคือ สัญญาณดิจิตอลเป็นสัญญาณที่ไม่ต่อเนื่อง แต่มีลักษณะเป็นชิ้น ๆ หรือเป็นท่อน ๆ ซึ่งเรามีศัพท์เรียก ลักษณะดังกล่าวว่า ดิสครีต (Discrete) และสัญญาณจะมีค่าได้เฉพาะค่าที่กาหนด ไว้ตายตัวเท่านั้น เช่น ในระบบดิจิตอลที่ใช้กันทั่วไปนั้นใช้สัญญาณระบบเลขฐานสอง (Binary) ซึ่งมีค่าเพียงสองระดับ เท่านั้น จากรูป แสดงลักษณะของสัญญาณดิจิตอล ในกรณีนี้สัญญาณสามารถมีค่าที่กาหนดไว้สอง ระดับคือ 0 กับ 5 โวลต์ ตามรูปนี้สัญญาณมีค่า5 โวลต์ ในช่วงเวลาระหว่า t = 1 ถึง 2 กับในช่วงเวลา ระหว่าง t = 3 ถึง 4 นอกจากช่วงเวลา ทั้งสองดังกล่าวสัญญาณมีค่า 0 โวลต์ ถ้าส่งสัญญาณนี้ไปตามสายหรือไปกับคลื่นวิทยุ เมื่อไปถึงปลายทางขนาดและรูปร่างของ คลื่น อาจผิดเพี้ยงไปบ้าง ในทางปฏิบัติเรากาหนดค่าขั้นต่าของสัญญาณระดับสูง (VH min) และค่า ขั้นสูงของสัญญาณระดับต่า (VL max) ไว้ เพื่อให้สามารถแยกระดับแรงดันไฟฟ้า ทั้งสองจากสัญญาณ ดิจิตอลที่ ผิดเพี้ยนไปได้โดยวิธีนี้ระบบที่รับสัญญาณดิจิตอลก็ยังสามารถท่างานได้อย่างถูกต้อง แม้ว่า สัญญาณที่ รับเข้ามาจะมีความผิดเพี้ยนค่อนข้างมาก ซึ่งเป็นจุดเด่นของระบบดิจิตอลที่เหนือกว่า ระบบอนาล็อก การเข้าใจความแตกต่างระหว่างสัญญาณอนาล็อกและดิจิตอล ถือว่ามีความสาคัญมากใน การที่จะเข้าใจการสื่อสารข้อมูล สัญญาณอนาล็อกเป็นสัญญาณที่มีความต่อเนื่อง และมีค่าตลอดช่วง ของสัญญาณ เช่น เสียงพูด, เสียงดนตรี, วีดีโอ บางครั้งเรียกว่าบอร์ดแบนด์ หรือ สัญญาณมอดูเลท สัญญาณดิจิตอลเป็นกลุ่มของสัญญาณที่มีค่าไม่ต่อเนื่อง ภายในช่วงสัญญาณมีรูปแบบเป็นสัญญาณ และเป็นเลขฐานสอง คือ มีค่า 2 ค่า เป็น1 และ 0 สัญญาณดิจิตอลอาจจะเรียกว่า “เบสแบนด์”
  • 14. 9 เอกสารอ้างอิง ราตรี ทองดี. (2555). สัญญาณอนาล็อกและสัญญาณดิจิตอล[ออนไลน์]. เข้าถึงข้อมูล วันที่ 6 ตุลาคม 2559. จาก http://ratrilovely603.blogspot.com/. สัญญาณแอนะล็อก (Analog Signal) [ออนไลน์]. เข้าถึงข้อมูลวันที่ 5 ตุลาคม 2559. จาก http://chummy-online.blogspot.com/2012/11/analog- signal.html. Siriphanjaa. (2557). Analog & digital transmission [ออนไลน์].เข้าถึงข้อมูล วันที่ 6 ตุลาคม 2559. จาก http://www.slideshare.net/siriphanjaa /analog-digital-transmission.