SlideShare a Scribd company logo
คนที่ฉลาดแล้ว สอนไม่มากหรอก
ถ้าคนไม่ฉลาด สอนมากแค่ไหน..
.ก็ไม่ค่อยรู้เรื่อง
แต่มันเกี่ยวกับคนสอนด้วยนะ
โดยมาก...คนเราเวลาไม่สบายใจ จึงสอน
อย่างเราจะสอนลูกเรา เราโกรธแล้วจึงสอน
มันก็ด่ากันเท่านั้นหล่ะ
ไม่ยอมสอนกันดี ๆ หรอก
ก็คนใจไม่ดี ไปสอนกันทาไม
อาตมาว่า อย่าไปสอนในเวลานั้น ให้ใจมันสบายก่อน
มันจะผิดอย่างไรก็เอาไว้ก่อน ให้มันใจดี ๆ ซะก่อน
คาสอนหลวงพ่อชา สุภัทโท
วัดหนองป่าพง อุบลราชธานี
นี่โยมจาไว้นะ อาตมาสังเกตโยมสอนลูกแต่เวลา
โมโหเท่านั้นละ
มันก็เจ็บใจละซิ เอาของไม่ดีให้เขา
เขาจะเอาทาไม
ตัวเราก็เป็นทุกข์ ลูกเราก็เป็นทุกข์
นี่มันเป็นอย่างนี้
คนเรามันชอบดี ๆ ทั้งนั้นละ
แต่ความดีเราไม่พอ ให้ความดีมันไม่เป็นเวลา
ไม่รู้จักบทบาท ไม่รู้จักกาลเวลา
มันก็เป็นไปไม่ได้
อันนี้ก็เหมือนกันฉันนั้น
โยม ไม้อันที่อาตมาถืออยู่นี่นะ
มันสั้น หรือว่า มันยาว?
โยม ไม้อันนี้ธรรมชาติแท้ ๆ
ของมันมีแค่นี้ เท่านี้ ...
มันไม่สั้น และก็ไม่ยาว
โยม ความต้องการที่จะให้ไม้
นี้มันสั้นเข้า หรือยาวออก
นั่นแหละ "ทุกข์"
ทุกสิ่งทุกอย่างถ้าเรายอมตาม
ธรรมชาติที่มันเป็นอยู่
ยอมที่ไหน ทุกข์ก็ไม่เกิดที่นั่น
สมมุติว่าวันนี้ โยมหาเงินได้ ๑๐๐ บาท
ธรรมชาติของมันแค่ ๑๐๐ บาท
จะอยากให้ได้มากกว่านั้น...ก็ไม่ได้
จะอยากให้ได้น้อยกว่านั้น...ก็ไม่ได้
หาได้ ๕๐ บาท ธรรมชาติของเขาก็แค่นั้น
หาไม่ได้เลย ธรรมชาติของมันก็เท่ากับ
หาไม่ได้เลย
ยอมตามธรรมชาติที่มันเป็นทุกอย่าง
ทุกแห่ง ทุกข์ก็ไม่เกิด
ธรรมะอย่างนี้ปฏิบัติที่ไหนก็ได้
เวลาใดก็ได้ ใคร ๆ ก็ปฏิบัติได้
ปฏิบัติเมื่อไหร่ ที่ไหน..
.ทุกข์ก็ไม่เกิดเมื่อนั้นที่นั่น
โยม อีกอย่างหนึ่ง
สมมุติว่าถ้าเราจะปลูกต้นไม้
อันดับแรก เราต้องเตรียมดินให้ดี
ขุดหลุมกว้างเมตร ลึกเมตร
คลุกดินด้วยปุ๋ยคอกอย่างดี
แล้วจึงปลูกต้นไม้ลงไป
เมื่อปลูกแล้ว เราต้องคอยดูแล
โดยหมั่นรดน้า พรวนดิน ดายหญ้า และล้อมรั้วกัน
อันตรายให้
หน้าที่ของเรามีเพียงแค่นี้ ทาให้ครบ
ทาให้ดีที่สุด
ส่วนผลที่ต้นไม้จะให้นั้น
บางชนิด ๑ ปีให้ผล
บางชนิด ๓ ปี ๕ ปี ๑๐ ปี
นั่นเป็นเรื่องของเขา
เป็นเรื่องของต้นไม้เขาเอง
โยม อย่าลืมนะ หน้าที่ของเรานั้น
ทาเหตุให้ดีที่สุดเท่านั้น
ส่วนผลที่จะได้รับเป็นเรื่องของเขา ถ้าเราดาเนินชีวิต
โดยมีการปล่อยวางเช่นนี้แล้ว
ทุกข์ก็ไม่รุมล้อมเรา ธรรมะอย่างนี้...
ใคร ๆ ก็ปฏิบัติได้ ปฏิบัติที่ไหนก็ได้ ปฏิบัติเมื่อไรก็ได้
ผู้ใดมี "สติ"... อยู่ทุกเวลา
ผู้นั้นก็จะได้ฟังธรรมะของพระพุทธเจ้า..
อยู่ตลอดเวลา
เพราะว่า เมื่อตามองเห็นรูป...ก็เป็นธรรมะ
หูได้ยินเสียง...ก็เป็นธรรมะ
จมูกได้กลิ่น...ก็เป็นธรรมะ
ลิ้นได้รส...ก็เป็นธรรมะ
ธรรมารมณ์ที่เกิดขึ้นกับใจ นึกขึ้นได้เมื่อใด...
เป็นธรรมะเมื่อนั้น
ฉะนั้น "ผู้มีสติ"
จึงได้ฟังธรรมะของพระพุทธเจ้าอยู่ตลอดเวลา...
ไม่ว่าจะยืน เดิน นั่ง นอน
มันมีอยู่ทุกเวลาเพราะอะไร ?
เพราะเรามีความรู้อยู่
ในเวลานี้ เราจึงเรียนอยู่กลางธรรมะ
จะเดินไปข้างหน้า...ก็ถูกธรรมะ
จะถอยไปข้างหลัง...ก็ถูกธรรมะ
ท่านจึงให้มี "สติ"ถ้ามีสติแล้ว
มันจะเห็นกาลังใจของตน
เห็นจิตของตน
ความรู้สึกนึกคิดของตัวเองเป็นอย่างไร
ก็ต้องรู้ รู้ถึงที่แล้ว ก็รู้แจ้งแทงตลอด
...เมื่อมันรอบรู้อยู่เช่นนี้
การประพฤติปฏิบัติ
มันก็ถูกต้องดีงามเท่านั้นแหละ
เธอจงระวัง ความคิด ของเธอ
เพราะความคิดของเธอ
จะกลายเป็นความประพฤติของเธอ
เธอจงระวัง ความประพฤติ ของเธอ
เพราะความประพฤติของเธอ
จะกลายเป็นความเคยชินของเธอ
เธอจงระวังความ เคยชิน ของเธอ
เพราะความเคยชินของเธอ
จะกลายเป็นอุปนิสัยของเธอ
เธอจงระวัง อุปนิสัย ของเธอ
เพราะอุปนิสัยของเธอ
จะกาหนดชะตากรรมของเธอชั่วชีวิต
เราเห็นแล้วว่า ถ้วยใบนี้ เอาไว้ที่ไหน...มันก็ต้องแตก
จานนี่ เอาไว้ที่ไหน...ก็ต้องแตก
แต่เราก็ต้องสอนเด็กว่า ล้างให้มันสะอาด เก็บไว้ให้ดี
เราก็ต้องสอนเด็กอย่างนี้ ตามสมมุติอย่างนี้
เพื่อเราจะใช้ถ้วยนี้นาน ๆ
อันนี้เรารู้จักธรรมะ เอาธรรมะมาปฏิบัติ
ถ้าเห็นว่า อันนี้มันจะแตกอยู่แล้ว
เราบอก เออ! ช่างมันเถอะลูก กินแล้วก็ไม่ต้องล้างมันหรอก
จะตกก็ช่างมันเถอะ ไม่ใช่ของเราหรอก
เอาทิ้งไว้ที่ไหนก็ได้ มันจะแตกอยู่แล้ว
อย่างนี้ก็เป็นคนโง่ไป
ถ้าเราเป็น "ผู้รู้สมมุติ" อันนี้
เมื่อมันเจ็บไข้...ก็หาหยูกยาให้มันกิน
เมื่อมันร้อน...ก็อาบน้าให้มัน
เมื่อมันเย็น...ก็หาความอบอุ่นให้มัน
เมื่อมันหิว...ก็หาข้าวให้มันกิน
แต่ให้เรารู้ว่า ให้ข้าวมันกิน...มันก็จะตายอยู่
แต่ในเวลานี้ ยังไม่ถึงคราวจะตาย
เหมือนถ้วยใบนี้...ยังไม่แตก
ก็รักษาถ้วยใบนี้...ให้มัน "เกิดประโยชน์" เสียก่อน
"ตัวปัญญา" กับ "ตัวสมาธิ" นี้ เมื่อเราพูดแยกกันออก คล้าย ๆ กับคนละตัว จริง ๆ มันตัวเดียวกันนั่นเองแหละ
ตัวปัญญา มันเป็นเครื่องเคลื่อนไหวของสมาธิเท่านั้น คือ มันออกจากจิตนี้แหละ แต่มันแยกกันออกไป มันเป็นคนละลักษณะ
เหมือนมะม่วงใบนี้ ลูกมะม่วงใบนี้มันเล็ก ๆ แล้วมันก็โตขึ้นมาอีก แล้วก็มันสุก แล้วมันจะเน่า มะม่วงใบนี้ ก็คือ มะม่วงใบเดียวกัน
มันเล็ก...ก็ใบนี้ มันโตขึ้นมา...ก็ใบนี้ มันสุก...ก็ใบนี้ แต่มันเปลี่ยนลักษณะ
อาการอย่างหนึ่งท่านเรียกว่า ... สมาธิ อาการอย่างหนึ่งท่านเรียกว่า ... ปัญญา
ความเป็นจริง ศีล สมาธิ ปัญญา นี่คือของอันเดียวกัน ไม่ใช่คนละอย่าง
ฟังธรรมศึกษาธรรม ... ในคัมภีร์แล้วไม่นามา “ปฏิบัติ”
ก็เหมือนกับถือผลไม้ไว้เท่านั้น ยังไม่ได้กิน ยังไม่ได้ลิ้มรส ก็ไม่เกิดประโยชน์อะไร
การไม่กระทาบาปนั้น...มันเลิศที่สุด บางคนบางคราวโจรมันก็ให้ได้ มันก็แจกได้ แต่ว่าจะพยายามสอนให้มันหยุดเป็นโจรนั่นนะ
มันยากที่สุด การจะละความชั่ว ไม่กระทาผิด...มันยาก
"การทาบุญ" โจรมันก็ทาได้ มันเป็น..."ปลายเหตุ" "การไม่กระทาบาป"ทั้งหลายทั้งปวงนั้นนะ เป็น..."ต้นเหตุ"
คนเราบางคน บางทีก็อยากจะเอาบุญ
เช่น ผ้ายังสกปรกอยู่...ยังไม่ได้ทาความสะอาด
แต่อยากจะย้อมสีซะแล้ว
ลองเอาผ้าเช็ดเท้าที่ยังไม่ได้ฟอกไปย้อมสีดูซิ
มันจะสวยไหม
ตามความเป็นจริงแล้ว โลกที่เราอยู่นี้ไม่มีอะไรทาไมใครเลย ไม่มีอะไรจะเป็นที่วิตกวิจารย์เลย
ไม่มีอะไรที่น่าจะร้องไห้หรือหัวเราะ เพราะมันเป็นเรื่องอย่างนั้นธรรมดาๆ แต่เราพูดธรรมดาได้
แต่มองไม่เห็นธรรมดา แต่ถ้าเรารู้ธรรมะสม่าเสมอ ไม่มีอะไรเป็นอะไรแล้ว มันเกิดมันดับของมันอยู่อย่างนั้น เราก็สงบ
พระพุทธศาสนาไม่มีอานาจอะไรเลย
แม้ก้อนทองคาก็ไม่มีราคา ถ้าเราไม่มารวมกันว่ามันเป็นโลหะที่ดีมีราคา ทองคามันก็ถูกทิ้งเหมือนก้อนตะกั่วเท่านั้นแหละ
พระพุทธศาสนาตั้งไว้มีอยู่ แต่ถ้าเราไม่ประพฤติปฏิบัติ จะไปมีอานาจอะไรเล่า
อย่างธรรมะเรื่องขันติมีอยู่แต่เราไม่อดทนกัน มันจะมีอานาจอะไรไหม?
ธรรมของจริงของแท้
ที่ทาให้บุคคลเป็นอริยะได้
มิใช่เพียงศึกษาตามตารา
และนึกคิดคาดคะเนเอาเท่านั้น
แต่จะต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามนั้นจริงๆ
ของจริงจึงจะเป็นของจริงขึ้นมาได้
ถ้าเราเอาชนะตัวเอง มันก็จะชนะทั้งตัวเองชนะทั้งคนอื่น
ชนะทั้งอารมณ์ ชนะทั้งรูป ทั้งเสียง ทั้งกลิ่นทั้งรส ทั้งโผฎัฐพพะ
เป็นอันว่าชนะทั้งหมด
เมื่อเราเกิดมาแล้วโยม
ก็คือเราตายแล้วนั่นเอง
ความแก่กับความตาย
มันก็คืออันเดียวกันนั่นแหละ
เหมือนกับต้นไม้
อันหนึ่งต้น อันหนึ่งปลาย
เมื่อมีโคนมันก็มีปลาย
เมื่อมีปลายมันก็มีโคน
ไม่มีโคนปลายก็ไม่มี
มีปลายก็ต้องมีโคน
มีแต่ปลายโคนไม่มีก็ไม่ได้
มันเป็นอย่างนั้น
ถ้าท่านยึดติดอยู่กับภาวะที่จิตสงบ ท่านจะเป็นทุกข์เมื่อจิตไม่สงบ
ฉะนั้นจงปล่อยวางหมดทุกสิ่ง แม้แต่ความสงบ
มันต้องดูตัวเอง จึงจะเป็นการปฏิบัติ
สมถกับวิปัสสนา
มันแยกกันไม่ได้หรอก
มันจะแยกกันได้ก็แต่คาพูด
เหมือนกับมีดเล่มหนึ่งนะ
คมมันก็อยู่ข้างหนึ่ง
สันมันก็อยู่ข้างหนึ่งนั่นแหละ
มันแยกกันไม่ได้หรอก
ถ้าเราจับด้ามมันขึ้นมา
อันเดียวเท่านั้น
มันก็ติดมาทั้งคมทั้งสัน
นั่นแหละ
อะไรทุกสิ่งอย่าง ถ้าเห็นโทษจริงๆแล้ว เราจึงถอนตัวออกมาได้
ธรรมของจริงของแท้ที่ทาให้บุคคลเป็นอริยะได้มิใช่เพียงศึกษาตามตารา
และนึกคิดคาดคะเนเอาเท่านั้น แต่จะต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามนั้นจริงๆ
ของจริงจึงจะเป็นของจริงขึ้นมาได้
บริขารทั้งปวงเป็นเพียงเครื่องประดับขันธ์ห้าเท่านั้น การไม่รู้จักประมาณในการบริโภคบริขาร
มีความกังวลในการจัดหา ย่อมเป็นการยุ่งยาก ขาดการปฏิบัติธรรม ย่อมไม่ได้รับผลอันตนพึงปรารถนา
เปรียบเสมือนกับการเลี้ยงควาย
จิตของเราก็เหมือนควาย อารมณ์คือต้นข้าวผู้รู้เหมือนเจ้าของเวลาเราไปเลี้ยงควายทาอย่างไรปล่อยมันไป
แต่เราพยายามดูมันอยู่ ถ้ามันพยายามเดินไปใกล้ต้นข้าว ก็ตวาดมัน ควายได้ยินก็จะถอยออกไป
แต่เราอย่าเผลอะนะถ้ามันดื้อไม่ฟังเสียง ก็เอาไม้ฆ้องฟาดมันจริงๆมันจะไปไหนเสีย
มีชาวต่างประเทศถามหลวงพ่อว่า ชีวิตพระเป็นอย่างไร? หลวงพ่อคิดว่าตอบอย่างไรก็ไม่เข้าใจแน่เพราะเขายังไม่รู้จักพระ
จึงตอบไปว่า ถึงปลาจะบอกว่าอยู่ในน้าเป็นอย่างไรนกก็ไม่มีทางจะรู้ได้ ตราบใดที่นกยังไม่เป็นปลา

More Related Content

What's hot

พิชญารี ยะรี 2_3
พิชญารี ยะรี 2_3พิชญารี ยะรี 2_3
6 จิตวิทยาสำหรับครู
6 จิตวิทยาสำหรับครู6 จิตวิทยาสำหรับครู
6 จิตวิทยาสำหรับครูNatthachai Chalat
 
Interesting Expressions In English
Interesting Expressions In EnglishInteresting Expressions In English
Interesting Expressions In Englishnatjira
 
1 จิตวิทยาสำหรับครู
1 จิตวิทยาสำหรับครู1 จิตวิทยาสำหรับครู
1 จิตวิทยาสำหรับครูNatthachai Chalat
 
จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์duangdee tung
 
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนาอุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนาSongsarid Ruecha
 
Luangta mahabua
Luangta mahabuaLuangta mahabua
Luangta mahabua
MI
 
ประวัติส่วนตัว(จริงๆๆนะ)
ประวัติส่วนตัว(จริงๆๆนะ)ประวัติส่วนตัว(จริงๆๆนะ)
ประวัติส่วนตัว(จริงๆๆนะ)
Yui Yuay Yuay
 
ประวัตืส่วนตัว(จริงๆๆนะ)
ประวัตืส่วนตัว(จริงๆๆนะ)ประวัตืส่วนตัว(จริงๆๆนะ)
ประวัตืส่วนตัว(จริงๆๆนะ)
Yui Yuay Yuay
 
Luangta Mahabua2
Luangta Mahabua2Luangta Mahabua2
Luangta Mahabua2
MI
 
(Bipolar disorder)
(Bipolar disorder)(Bipolar disorder)
(Bipolar disorder)
sunsumm
 
Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔
Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔ Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔
Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔
Watpadhammaratana Pittsburgh
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้foonfriendly
 

What's hot (13)

พิชญารี ยะรี 2_3
พิชญารี ยะรี 2_3พิชญารี ยะรี 2_3
พิชญารี ยะรี 2_3
 
6 จิตวิทยาสำหรับครู
6 จิตวิทยาสำหรับครู6 จิตวิทยาสำหรับครู
6 จิตวิทยาสำหรับครู
 
Interesting Expressions In English
Interesting Expressions In EnglishInteresting Expressions In English
Interesting Expressions In English
 
1 จิตวิทยาสำหรับครู
1 จิตวิทยาสำหรับครู1 จิตวิทยาสำหรับครู
1 จิตวิทยาสำหรับครู
 
จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์
 
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนาอุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
 
Luangta mahabua
Luangta mahabuaLuangta mahabua
Luangta mahabua
 
ประวัติส่วนตัว(จริงๆๆนะ)
ประวัติส่วนตัว(จริงๆๆนะ)ประวัติส่วนตัว(จริงๆๆนะ)
ประวัติส่วนตัว(จริงๆๆนะ)
 
ประวัตืส่วนตัว(จริงๆๆนะ)
ประวัตืส่วนตัว(จริงๆๆนะ)ประวัตืส่วนตัว(จริงๆๆนะ)
ประวัตืส่วนตัว(จริงๆๆนะ)
 
Luangta Mahabua2
Luangta Mahabua2Luangta Mahabua2
Luangta Mahabua2
 
(Bipolar disorder)
(Bipolar disorder)(Bipolar disorder)
(Bipolar disorder)
 
Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔
Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔ Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔
Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 

More from MI

คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโกคำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
MI
 
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโกคำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
MI
 
คำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโต
คำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโตคำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโต
คำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโต
MI
 
คำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญ
คำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญคำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญ
คำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญ
MI
 
คำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
คำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโนคำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
คำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
MI
 
คำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ
คำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำคำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ
คำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ
MI
 
คำสอนบูรพาจารย์
คำสอนบูรพาจารย์คำสอนบูรพาจารย์
คำสอนบูรพาจารย์
MI
 
พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙
พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙
พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙
MI
 
Luangpoo lar
Luangpoo larLuangpoo lar
Luangpoo lar
MI
 
Luangpoo jarm
Luangpoo jarmLuangpoo jarm
Luangpoo jarm
MI
 
Luangta 11
Luangta 11Luangta 11
Luangta 11
MI
 
Buddha's quotes
Buddha's quotesBuddha's quotes
Buddha's quotes
MI
 
Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20
MI
 
Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20
MI
 
Luangpor intawai113
Luangpor intawai113Luangpor intawai113
Luangpor intawai113
MI
 
Luangpor intawai112
Luangpor intawai112Luangpor intawai112
Luangpor intawai112
MI
 
Great dharma masters1
Great dharma masters1Great dharma masters1
Great dharma masters1
MI
 
Luangta mahabua3
Luangta mahabua3Luangta mahabua3
Luangta mahabua3
MI
 
Luangta mahabua1
Luangta mahabua1Luangta mahabua1
Luangta mahabua1
MI
 
Light of buddhism1
Light of buddhism1Light of buddhism1
Light of buddhism1
MI
 

More from MI (20)

คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโกคำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
 
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโกคำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
 
คำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโต
คำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโตคำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโต
คำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโต
 
คำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญ
คำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญคำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญ
คำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญ
 
คำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
คำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโนคำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
คำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
 
คำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ
คำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำคำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ
คำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ
 
คำสอนบูรพาจารย์
คำสอนบูรพาจารย์คำสอนบูรพาจารย์
คำสอนบูรพาจารย์
 
พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙
พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙
พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙
 
Luangpoo lar
Luangpoo larLuangpoo lar
Luangpoo lar
 
Luangpoo jarm
Luangpoo jarmLuangpoo jarm
Luangpoo jarm
 
Luangta 11
Luangta 11Luangta 11
Luangta 11
 
Buddha's quotes
Buddha's quotesBuddha's quotes
Buddha's quotes
 
Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20
 
Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20
 
Luangpor intawai113
Luangpor intawai113Luangpor intawai113
Luangpor intawai113
 
Luangpor intawai112
Luangpor intawai112Luangpor intawai112
Luangpor intawai112
 
Great dharma masters1
Great dharma masters1Great dharma masters1
Great dharma masters1
 
Luangta mahabua3
Luangta mahabua3Luangta mahabua3
Luangta mahabua3
 
Luangta mahabua1
Luangta mahabua1Luangta mahabua1
Luangta mahabua1
 
Light of buddhism1
Light of buddhism1Light of buddhism1
Light of buddhism1
 

หลวงพ่อชา สุภัทโท