SlideShare a Scribd company logo
1 of 47
ความรู้พื้นฐาน
คอมพิวเตอร์และ
ระบบปฏิบัติการเบื้อง
ต้น
ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 คอมพิวเตอร์ หรือ เครื่องคำานวณ แบ่งออก
เป็นยุค ๆ ได้ดังนี้
 ยุคก่อนประวัติศาสตร์
เครื่องคำานวณไม่ใช้ไฟฟ้า คือ ลูกคิด
 ยุคแรก
ช่วงปีค.ศ.1945-1955 ยุคนี้ต้นทุนการผลิตสูง
เพราะใช้หลอดสูญญากาศ เป็นส่วนประกอบ
หลักทำาให้เครื่องมีขนาดใหญ่ใช้ไฟฟ้ามากเกิด
ความร้อนสูง จึงต้องอยู่ในห้องปรับอุณหภูมิ
ขนาดใหญ่ ไม่มีซอฟต์แวร์ใช้ ใช้เป็นโปรแกรมที่
สร้างในรูปแบบแผงวงจร เสียเวลาติดตั้งลำาบาก
หลอดสุญญากาศ ขนาดพอกับ
หลอดไฟในปัจจุบัน
เฉพาะหน่วยความจำาใช้หลอด
สุญญากาศเป็นส่วนประกอบหลัก
ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 คอมพิวเตอร์ หรือ เครื่องคำานวณ แบ่งออกเป็นยุค ๆ
ได้ดังนี้
 ยุคที่ 2
ช่วงปีค.ศ.1955-1965 ยุคแห่งทรานซิสเตอร์
อุปกรณ์ที่สร้างจากสารกึ่งตัวนำา มีขนาดเล็ก ต้นทุนไม่สูง
กินไฟน้อย ความร้อนตำ่า ความเร็วในการประมวลผล
ประมาณ หนึ่งในพันของวินาที (Millisecond: mS)
- ยุคนี้จัดเก็บข้อมูลที่ใช้บัตรเจาะรู (Punched Card)
และเปลี่ยนเป็นเทปแม่เหล็ก (Magnetic Tape) ที่มี
ขนาดเล็กกว่า จัดเก็บง่ายกว่า อ่านเขียนเร็วกว่า และ
คงทนไม่เปื่อยยุ่ยเหมือนการใช้กระดาษ
- ยุคนี้มักใช้ภาษาสัญลักษณ์ มาแทนภาษาเครื่องทำาให้ผู้
เปรียบเทียบขนาดของหล
อดสูญญากาศกับ
ทรานซิสเตอร์
เครื่องทอผ้าใช้ทอผ้าตา
มลายและสีที่บันทึกใน
เทปแม่เหล็ก แทนบัตรเจาะ
รูขนาดเล็กอ่านเขียนข้อมูล
ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 คอมพิวเตอร์ หรือ เครื่องคำานวณ แบ่งออกเป็นยุค ๆ
ได้ดังนี้
 ยุคที่ 3
ช่วงค.ศ.1965-1970 ยุค IC (Integrated Circuit)
แผ่นวงจรรวมที่สร้างจากสารกึ่งตัวนำา ลักษณะของไอซี
เป็นแผ่นวงจรไฟฟ้าประกอบด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
เริ่มใช้ชิพในการผลิต ทำาให้คอมพิวเตอร์มีขนาดเล็ก
และมีความเร็วในการทำางานเพิ่มมากขึ้น 1 คำาสั่งใช้เวลา
ประมาณ หนึ่งในล้านของวินาที สูงกว่ายุค 2 ประมาณ
1,000 เท่า
ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 คอมพิวเตอร์ หรือ เครื่องคำานวณ แบ่งออกเป็นยุค ๆ
ได้ดังนี้
 ยุคที่ 4
ช่วงค.ศ.1970-1990 ยุคที่เทคโนโลยีการผลิตชิพก้าว
เข้าสู่ระดับ LSI(Large-scale integration) และ
VLSI(Very Large-scale integration) ทำาให้
สามารถผลิตชิพขนาดเล็กราคาถูก เครื่องคอมพิวเตอร์
ในยุคนี้จึงมีขนาดเล็กลง แต่ทำางานได้เร็วขึ้น และราคา
ไม่แพงจนเกินไป จึงทำาให้ถือกำาเนิดคอมพิวเตอร์พีซี ขึ้น
มา ความเร็วในการประมวลผลเริ่มตั้งแต่หนึ่งในพันล้าน
วินาที (Nanosecond: nS) จนถึงหนึ่งในล้านล้านของ
วินาที (Picoseconds :pS) ต่อหนึ่งคำาสั่ง และซีพียูก็
พัฒนาจาก 16 บิตไปสู่ 32 บิตที่นิยมในปัจจุบัน
ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 คอมพิวเตอร์ หรือ เครื่องคำานวณ แบ่งออกเป็นยุค ๆ
ได้ดังนี้
 ยุคที่ 5
ในปีค.ศ.1990 – จนถึงปัจจุบัน ถือเป็นยุคทองพีซี มีการ
พัฒนาอย่างต่อเนื่อง เทคโนโลยีชิพ ULSI (Ultra
Large-Scale Integration) ทำาให้ชิพมีขนาดเล็กลง
อีก ความสามารถเพิ่มมากขึ้น จึงเกิดพีซีขนาดเล็กขึ้นมา
หรือที่เรียกว่าโน้ตบุ๊ค รวมถึงอุปกรณ์อื่น ๆ เช่น
คอมพิวเตอร์มือถือ(PDA) โทรศัพท์มือถือ สมาร์ทโฟน
ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้ เช่น Microsoft Windows,
MacOS, Linux
ซอฟต์แวร์ คือ?
คำาสั่งที่สั่งงานเครื่องจักรหรือคอมพิวเตอร์ให้
ทำางานตามที่เราต้องการ
ในยุคแรกใช้บันทึกในกระดาษเจาะรูที่เราเรียกว่า
Punched Card กระดาษเจาะรูนี้จะใช้การเจาะและ
ไม่เจาะ แทนค่า 0 และ 1 เป็นรหัสสั่งงานเครื่องจักร
ให้ทำางานตามที่เราต้องการ รหัสที่มีค่า 0 และ 1 ใน
การสั่งงานเครื่องจักรหรือคอมพิวเตอร์ว่า ภาษาเครื่อง
(Machine Language)
Machine Language : ในยุคแรกที่ใช้หลอดสูญ
ญากาศ จะใช้สวิทซ์เปิดปิดแทนค่า 0 และ1 ใช้การ
สั่งงานแบบง่าย ๆ ไม่สามารถซับซ้อนเหมือนสมัยนี้
Assembly/Symbolic Language : การบันทึก
ข้อมูลลงแถบแม่เหล็กแบบประจุไฟฟ้าบนแถบแม่เหล็ก
การกำาหนดคำาสั่งด้วยสวิทซ์ให้กับเครื่อง
ซอฟต์แวร์ คือ? (ต่อ)
High-Level Language : ภาษาระดับสูงถูก
พัฒนาขึ้นมาแทนภาษาสัญลักษณ์เพื่อให้ใช้ง่ายกว่า
เดิม โดยหลักการเขียนคำาสั่งคล้ายกับไวยากรณ์
ภาษามนุษย์เช่น
ภาษามนุษย์ ภาษาระดับสูง
Add 2 and 2
Show me the answer
Answer := 2+2;
Printf (“%dn”,answer);
ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 การพัฒนาซอฟต์แวร์ มีการพัฒนาโปรแกรมภาษา
ระดับสูง เข้าใจง่ายกว่าภาษาสัญลักษณ์ และหลัก
การเขียนคล้ายภาษามนุษย์มากขึ้น เช่น C,
Pascal, Fortran นอกจากนี้ยังมีการพัฒนา
ซอฟต์แวร์ระบบบริหารต่าง ๆ ขึ้นมาใช้งาน เช่น
ระบบบริหารจัดการฐานข้อมูล
Hardware
Machine Language
Assembly/Symbolic Language
High-Level Language
Fortran C Pascal
ประเภทของซอฟต์แวร์
 ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ (Operating System)
ใช้สั่งการฮาร์ดแวร์ เป็นระบบหลักที่เครื่อง
คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องต้องมี
 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
โปรแกรมที่ทำางานเฉพาะด้าน เช่น งานด้านเอกสาร การ
คำานวณ ความบันเทิง ซอฟต์แวร์ประเภทนี้จะทำางานโดย
ลำาพังมิได้ แต่จะทำางานบนระบบปฏิบัติการอีกทีหนึ่ง
และการขอใช้ฮาร์ดแวร์จะต้องทำาผ่านระบบปฏิบัติการ
ทุกครั้ง
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
การทำางานของซอฟต์แวร์ใน
ระบบคอมพิวเตอร์
What is an Operating System?
 A program that acts as an intermediary
between a user of a computer and the
computer hardware.
 Operating system goals:
 Execute user programs and make solving user
problems easier.
 Make the computer system convenient to use.
 Use the computer hardware in an efficient
manner.
Four Components of a
Computer System
ยุคการเติบโตของระบบปฏิบัติ
การ ยุคแรก
- ช่วงค.ศ.1945-1955 การสั่งงานคอมพิวเตอร์อยู่ในรูป
แบบสวิทซ์เปิดปิด ใช้มนุษย์ในการควบคุม คล้ายการสั่ง
งานเครื่องจักรในโรงงาน
- ต่อมาช่วง 1955-1965 ยุคการเริ่มต้นสร้างระบบปฏิบัติ
การ มีหน้าที่เพียงแค่จัดการบริหารฮาร์ดแวร์ รับคำาสั่งจาก
ผู้ใช้เท่านั้น อีกทั้งตัวระบบยังเขียนเพื่อคอมพิวเตอร์เครื่อง
หนึ่ง ๆ เท่านั้น ถ้าเปลี่ยนฮาร์ดแวร์หรือเปลี่ยนคอมพิวเตอร์
จำาเป็นต้องเขียนระบบจัดการฮาร์ดแวร์ขึ้นมาใหม่
- ระบบปฏิบัติการยุคนี้เรียกว่า มอนิเตอร์ทำางานแบบ Stack
Job Batch System คือทำางานทีละอย่างต่อเนื่องเป็นชุด
เนื่องจากยุคนั้นคอมพิวเตอร์กินไฟมาก การเปิดปิดเครื่อง
บ่อยทำาให้สิ้นเปลือง จึงต้องเขียนคำาสั่งเป็นชุด ๆ และสั่ง
ตัวอย่างการทำางานแบบ Stack Job
Batch
ห้องปฏิบัติงานแบบ Stack Job Batch
ยุคการเติบโตของระบบปฏิบัติ
การ
 ยุคที่ 2
ช่วงค.ศ.1965-1970 การทำางานแบบ Spooling
Batch System เป็นการทำางานแบบพร้อม ๆ กัน
ด้วยเทคโนโลยีของจานแม่เหล็กแทนเทปแม่เหล็ก
-Simultaneous Peripheral Operating On-
Line เป็น multiprogramming พื้นฐาน
ทำาให้ซีพียูทำางานเต็มประสิทธิภาพ เพราะทำาให้
สามารถทำางานได้ 2 งานพร้อมกัน งานแรกคือ
ประมวลผลในส่วนของซีพียู งานที่สองคือ
การรับ-แสดงผลข้อมูล ซึ่งต่างกับ buffer ที่ซีพียู
และหน่วยรับ-แสดงผลทำางานร่วมกัน และ
spooling มี job pool ทำาให้สามารถเลือกการ
ข้อแตกต่างระหว่างระบบบัฟเฟอร์กับส
พูลิ่ง
 ระบบบัฟเฟอร์เป็นการเหลื่อมกันระหว่างการ
ประมวลผลกับหน่วยนำาเข้า/ส่งออก ของโปรแกรม
เดียวกัน ซึ่งไม่อาจทำาได้มากนัก ด้วยข้อจำากัดของ
ขั้นตอนการทำางานของโปรแกรมนั้น ๆ
 ระบบสพูลิ่ง เป็นการเหลื่อมกันของการประมวลผล
กับการรับและแสดงผลของอีกงานหนึ่ง โดยผ่าน
โปรแกรมสพูล
 ระบบสพูลิ่งสามารถจัดการงานที่ถูกป้อนเข้ามาแบบ
เรียงลำาดับได้โดยอิสระ เกิดเป็นกองกลางงาน (Job
Pool) ซึ่งระบบปฏิบัติการสามารถเลือกงานเข้า
ประมวลผลตามความเหมาะสมก่อให้เกิดระบบการ
ระบบปฏิบัติการที่ทำางานแบบ Spooling
Batch System
ยุคการเติบโตของระบบปฏิบัติ
การ
 ยุคที่ 3
ช่วงค.ศ.1970- ปัจจุบัน ยุคนี้หน่วยความจำาเริ่มมีราคาถูก
ลง คอมพิวเตอร์จึงมีหน่วยความจำาพื้นฐานมากขึ้นรูปแบบ
การทำางานจึงเปลี่ยนไป
- Multiprogramming Systems เป็นรูปแบบหนึ่งในการ
ทำางานหลาย ๆ โปรแกรมพร้อม ๆ กัน โดยเก็บงานทั้งหมด
ไว้ในหน่วยความจำา ถ้างานที่ 1 กำาลังรอข้อมูลเพื่อนำาไป
ประมวลผลต่อ ระบบจะละงานที่ 1 และให้ซีพียูประมวลผล
งานที่ 2,3,4 ต่อไปจนเสร็จ แล้วจึงกลับมาทำางานที่ 1 ที่
ค้างอยู่ วิธีนี้ทำาให้ระบบสามารถประมวลผลหลาย ๆ งานพร้
อมๆ กันได้ แต่มีข้อเสีย คือ ถ้าระบบเจองานที่ต้องใช้เวลา
ประมวลนาน ก็จะมีผลให้งานทำาค้างไว้ หรืองานง่าย ๆ ที่
โครงร่างหน่วยความจำาสำาหรับ
Multiprogramming Systems
0 Operating System
Job 1
Job 2
Job 3
512K
Job 4
ยุคการเติบโตของระบบปฏิบัติ
การ ยุคที่ 3 (ต่อ)
- Timesharing Systems ระบบที่ทำาให้เครื่อง
คอมพิวเตอร์สามารถทำางานพร้อมกันได้หลายๆ
โปรแกรม โดยหลักการจะเป็นการตั้งเวลาในการ
ทำางานให้กับงานหนึ่งๆ
- การแก้ปัญหาด้วยวิธีนี้ทำาให้งานง่าย ๆใช้เวลา
น้อยไม่ต้องเสียเวลารอนาน และงานที่ใช้เวลามาก
ก็ค่อย ๆ ทำาไปตามรอบที่เวียนมาจนเสร็จ
- นอกจากนี้ระบบยังให้ความสำาคัญกับการติดต่อผู้
ใช้ กรณีที่ผู้ใช้คีย์งานเข้าไปยังโปรแกรมที่ยังไม่ถึง
ลำาดับที่จะถูกประมวลผล ระบบจะให้ความสำาคัญ
ของโปรแกรมนั้นเป็นอันดับแรก และลัดคิวประมวล
ผลโปรแกรมนั้นก่อน ทำาให้ผู้ใช้งานไม่ต้องคอย
การนำาแนวคิดแบบ Time-Sharing Systems
มาพัฒนาขีดความสามารถของระบบ
ปฏิบัติการ
Multitasking คือ ผู้ใช้หนึ่งคนสามารถดำาเนินการ(Run) ได้
หลายโปรแกรมในเวลาเดียวกันบนเครื่องเดียวกัน

Multithreading คือการแบ่งโปรแกรม หรือกระจาย
กระบวนการออกเป็นกระบวนการย่อย ๆ หรือเรียกว่า เทรด
ซึ่งเป็นหน่วยย่อยที่เล็กที่สุดของกระบวนการที่สามารถ
กระทำาได้ ทำาให้ระบบปฏิบัติการสามารถซอยโปรแกรมเป็น
หน่วยย่อย ๆ แล้วทำางานคู่ขนานกันไปช่วยให้โปรแกรม
ทำางานเสร็จเร็วขึ้น

Virtual Storage คือการแบ่งส่วนโปรแกรมเป็น2 ส่วน โดยส่วน
แรกเก็บเฉพาะส่วนที่จำาเป็นในการประมวลผลไว้ในหน่วย
ความจำาหลัก และที่เหลือเก็บไว้ในหน่วยความจำารองเช่น
ดิสก์เนื่องจากโปรแกรมขณะถูกดำาเนินการซีพียูอาจใช้
หน่วยเก็บเสมือนเป็นเทคนิคช่วยขยาย
หน่วยความจำาหลักของคอมพิวเตอร์
Operating
System
Program1,Page2
Program2,Page1
Program3,Page5
Program4,Page3
Program5,Page1
Program 1
Program 2
Program 3
Program 4
Program 5
Secondary Storage
ยุคการเติบโตของระบบปฏิบัติ
การ ยุคที่ 4
- ช่วงปีค.ศ.1990- ปัจจุบัน ยุคนี้พีซีมีอย่างแพร่
หลาย ระบบปฏิบัติการจึงต้องเปลี่ยนแปลงไปตาม
รูปแบบความต้องการของตลาด จึงต้องสะดวกใน
การติดตั้ง ผู้ที่ไม่ใช่ผู้เชี่ยวชาญ(Home User) ก็
สามารถทำาได้ รองรับฮาร์ดแวร์ได้หลายชนิด
(Plug&Play) สามารถเชื่อมต่อหรือติดต่อเครือข่าย
ทั้งภายในและภายนอกได้ (Network &
Internet) สามารถป้องกันข้อมูลส่วน
บุคคล(Security/Anti-Virus) และสามารถสร้าง
ระบบผู้ใช้ได้ (Multi-User)
ประเภทของระบบปฏิบัติการ
 Supercomputing OS เป็นระบบปฏิบัติการที่ใช้
ในงานด้านวิทยาศาสตร์ที่มีการประมวลผลข้อมูล
ปริมาณมหาศาล สูตรคำานวณที่ซับซ้อนกินเวลา
นาน หรือใช้ในด้านกราฟิกกับงานที่มีรายละเอียด
สูง ปริมาณมาก ๆ เช่นงานภาพยนตร์ สำาหรับสร้าง
ภาพ 3 มิติ
 Mainframes OS ระบบที่ใช้นี้เพื่องานบริการ
ขนาดใหญ่เช่น หน่วยงานรัฐฯ, บริษัทขนาดใหญ่ที่
ต้องรองรับผู้ใช้พร้อม ๆ กันจำานวนมาก สามารถ
แจกข้อมูลให้ผู้ใช้ได้พร้อม ๆ กัน มีความปลอดภัย
สูง ยากที่จะเจาะรหัส
 Servers OS ระบบที่มีความสามารถในการจัดการ
ประเภทของระบบปฏิบัติ
การ(ต่อ) Desktop OS เป็นระบบปฏิบัติการเพื่อผู้ใช้งาน
ตามบ้าน สำาหรับเครื่องพีซี ที่มีคุณสมบัติใช้
ทรัพยากรไม่สูงมาก ง่ายในการใช้งาน งานไม่ซับ
ซ้อนเกินไป
 Workstations OS ระบบที่เหมาะกับเครื่องพีซี ใช้
สำาหรับทำางานเป็นหลัก มีผู้ใช้คนเดียว มี
ประสิทธิภาพพอกับ Desktop แต่เน้นใช้งานใน
สำานักงานองค์กรเป็นหลัก
 Handheld OS ระบบขนาดเล็ก ดึงความสามารถ
จากระบบ Desktop แต่ปรับปรุงให้ใช้ทรัพยากร
น้อยเหมาะกับอุปกรณ์มือถือแบบต่าง ๆ
 Real Time OS : ระบบที่ออกแบบมาเพื่อใช้ใน
ประเภทของระบบปฏิบัติการ
(ต่อ)
 Embedded OS ระบบปฏิบัติการพิเศษที่ทำาขึ้นมา
เฉพาะอุปกรณ์ ฝังรวมกับอุปกรณ์ตัวนั้น โดยมาเป็น
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ระดับสูง ระบบแบบนี้มีขนาด
เล็กใช้ได้เฉพาะอุปกรณ์ตัวนั้น หรืออุปกรณ์ตระกูล
เดียวกัน
 Smart Card OS ระบบปฏิบัติที่ฝั่งใน Smart
Card มีขนาดเล็กบรรจุในหน่วยความจำาภายใน
การ์ด ป้องกันข้อมูลคุณที่บรรจุภายในการ์ดไม่ให้
ถูกล้วงไปได้ง่าย ๆ
หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ
 การจัดการกระบวนการ
 การจัดการหน่วยความจำาหลัก
 การจัดการแฟ้ม
 การจัดการระบบ
 การจัดการหน่วยเก็บสำารอง
 เครือข่าย
 ระบบการป้องกัน
 ระบบตัวแปลคำาสั่ง
การจัดการกระบวนการ
(Process Management)
 การสร้าง/การลบกระบวนการ ทั้งของผู้ใช้และ
ระบบ
 การหยุด/การกลับเข้าทำาใหม่ของกระบวนการ
 การจัดหากลไกสำาหรับการประสานเวลาของ
กระบวนการ
 การจัดหากลไกสำาหรับการสื่อสารระหว่างกันของ
กระบวนการ
 การจัดหากลไกสำาหรับควบคุมภาวะติดตาย
การจัดการหน่วยความจำาหลัก
(Main Memory Management)
 เก็บข้อมูลปัจจุบันในส่วนของหน่วยความจำาที่กำาลัง
ถูกใช้อยู่
 ตัดสินใจจะเก็บกระบวนการใดเข้าสู่หน่วยความจำา
เมื่อพื้นที่หน่วยความจำาว่างลง
 จัดสรรพื้นที่หน่วยความจำาตามที่ต้องการ
การจัดการแฟ้ม
(File Management)
 การสร้างและลบแฟ้ม
 การสร้างและลบสารบบ
 การแก้ไขและเรียกใช้งานแฟ้มและสารบบ
 แปลงแฟ้มไปยังหน่วยเก็บสำารอง
 การสำารองแฟ้มลงบนสื่อที่เก็บชนิดถาวร
การจัดการระบบอินพุต/เอาต์พุต
(I/O System Management)
จุดประสงค์ของระบบปฏิบัติการคือการซ่อนราย
ละเอียดซึ่งเป็นคุณลักษณะเฉพาะของอุปกรณ์
ฮาร์ดแวร์จากการรับรู้ของผู้ใช้เพื่ออำานวยความ
สะดวกต่อผู้ใช้ระดับต่าง ๆ
ส่วนประกอบการจัดการหน่วยความจำา รวมทั้ง
บัฟเฟอร์ แคช และที่พักเก็บ
การต่อประสาน(Interface) ตัวขับอุปกรณ์ (Device-driver)
ทั่วไป
ตัวขับอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์มีเพียงDevice-driver เท่านั้นที่
จะรู้จักรายละเอียดเชิงกายภาพของอุปกรณ์ที่ถูก
การจัดการหน่วยเก็บสำารอง
(Secondary-Storage Management)
เนื่องจากหน่วยความจำารองมักถูกใช้บ่อย จึงควร
ถูกใช้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยความเร็วส่วนใหญ่ใน
การทำางานของระบบคอมพิวเตอร์ขึ้นอยู่กับดิสก์และ
วิธีการเรียกใช้งาน
การจัดการพื้นที่ว่าง
การจัดสรรหน่วยเก็บ(Storage Allocation)
การจัดลำาดับดิสก์ (Disk Scheduling)
เครือข่าย
(Network)
ระบบกระจาย เป็นหน่วยรวมของตัวประมวลผลที่
ไม่มีการใช้ร่วมกันของหน่วยความจำาอุปกรณ์รอบ
ข้าง โดยมีการติดต่อสื่อสารระหว่างกันผ่านสาย
การสื่อสาร ดังนั้นระบบปฏิบัติการจะต้องมีการ
ดำาเนินการดังนี้
 จัดหาการเข้าถึงทรัพยากรที่ใช้ร่วมกันในระบบ
กระจาย
 จัดหาการบริการด้านการติดต่อสื่อสาร
การป้องกัน
(Protection)
ในระบบที่มีผู้ใช้หลายคนและมีหลายงาน การใช้
ทรัพยากรของระบบ จำาเป็นต้องประกันว่าการเรียกใช้
ทรัพยากรต้องได้รับการอนุญาตจากระบบปฏิบัตการ
เท่านั้น
ดังนั้น การป้องกันจะหมายถึงกลไกที่ใช้ควบคุม
การเข้าถึงโปรแกรม กระบวนการ หรือผู้ใช้ เพื่อความ
ถูกต้องในการใช้ของผู้ใช้หรือกระบวนการและ
ปกป้องไม่ให้ถูกรุกรานจากผู้ที่ไม่ได้รับอนุญาตจาก
ระบบปฏิบัติการ
ระบบตัวแปลคำาสั่ง
(Command Interpreter System)
ตัวแปลคำาสั่ง เป็นส่วนต่อประสานระหว่างผู้ใช้กับ
ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการบางระบบจะผนวก
ส่วนของตัวแปลคำาสั่งไว้ในเคอร์เนล
ในบางระบบเช่น Ms-Dos และ Unix จะเก็บตัวแปลคำา
สั่งไว้เป็นโปรแกรมพิเศษที่จะดำาเนินงานเมื่องานถูก
เริ่มกระทำาการ หรือเมื่อผู้ใช้ทำาการลงบันทึกเข้ามา
ครั้งแรกในระบบแบ่งเวลา
ระบบปฏิบัติการกับอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์ แบ่งได้ 4 หมวดหลักดังต่อไปนี้
 Processors : CPU เป็นฮาร์ดแวร์หลักที่ระบบปฏิบัติ
การต้องติดต่อควบคุมตลอดเวลา ระบบปฏิบัติการจะ
ทำาการแบ่งเวลาในการประมวลผลให้กับงานที่กำาลังทำา
อยู่ ณ เวลานั้น รวมถึงการแทรกงานที่มาจากผู้ใช้ เพื่อ
ให้ผู้ใช้ไม่ต้องคอยงานนั้นนานเกินไป
 Memory หน่วยความจำา เป็นส่วนที่ทำางานคู่กับซีพียู ใน
การพักข้อมูล เก็บข้อมูล โดยระบบปฏิบัติการจะเป็นตัว
ระบุตำาแหน่งข้อมูล เพื่อให้ซีพียูสามารถดึงข้อมูลใน
ตำาแหน่งที่ถูกต้องมาทำางานต่อไปได้ ซึ่งมีอยู่ 3 ประเภท
คือ
 High-Speed cache เป็นหน่วยความจำาความเร็วสูง
อยู่ภายในซีพียูเลย เป็นหน่วยความจำาที่ใช้เก็บข้อมูล
ระบบปฏิบัติการกับอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์ Main memory เป็นหน่วยความจำาหลัก หรือเรียกสั้น
ๆ ว่า แรม เมื่อซีพียูหาข้อมูลที่ต้องการในแคชไม่พบ
จะมาหาข้อมูลในแรมแทน หน่วยความจำาประเภทนี้จะ
ใช้เก็บข้อมูลของงานที่เรากำาลังทำาอยู่เพราะมีพื้นที่
มากกว่าแคช และข้อมูลจะเก็บอยู่จนกว่าปิดเครื่อง
ข้อมูลก็จะหายไป
 Secondary memory หน่วยความจำาสำารอง เป็น
หน่วยความจำาที่ทำางานได้ช้าที่สุด แต่สามารถเก็บ
ข้อมูลให้คงอยู่ได้แม้ปิดเครื่องไปแล้ว เป็นหน่วยความ
จำาแบบแถบแม่เหล็กหรือที่เรียกว่า ดิสก์
 I/O Devices อุปกรณ์ต่อพ่วงต่าง ๆ ถูกจัดการโดย
ระบบปฏิบัติการในการสั่งงาน ควบคุมและแบ่งปันให้
เพียงพอกับงานต่าง ๆ ที่ทำาอยู่
ความสามารถของระบบปฏิบัติ
การ
 Processor Management หัวใจของระบบ
ปฏิบัติการมี 2 ส่วนด้วยกันคือ
 ทำาการแบ่งปันเวลาประมวลผลของซีพียูให้เพียง
พอกับงานทุก ๆ งาน
 พยายามใช้ซีพียูประมวลผลงานตามความเป็น
จริง
กรณีมีงานมากไม่สามารถสลับแบ่งซีพียูให้เพียงพอได้
ระบบจะให้ความสำาคัญกับงานที่มีลำาดับความสำาคัญสูง
ก่อน
การแทรกงาน มาประมวลผล หรือ การอินเทอร์รัพ
(Interrupt:การขัดจังหวะ) มีทั้งขัดจังหวะจากฮาร์ดแวร์
หรือ ระบบปฏิบัติการขัดจังหวะก็ได้
ระบบที่มีการขัดจังหวะที่ดีจะสามารถช่วยลดงานได้
ความสามารถของระบบปฏิบัติ
การ Memory Management การจัดการหน่วย
ความจำาที่ดีมี 2 ประเด็น คือ
 ระบบต้องแบ่งหน่วยความจำาให้เพียงพอสำาหรับ
งานแต่ละงาน
 ระบบต้องจัดการขอบเขตของหน่วยความจำาให้
ดี งานๆ หนึ่งไม่สามารถนำาหน่วยความจำาของ
งานอื่นมาใช้ได้
กรณีที่หน่วยความจำาไม่เพียงพอ ระบบจะยืมพื้นที่ว่าง
ของฮาร์ดดิสก์มาทำาเป็นหน่วยความจำา เรียกหน่วยความ
จำาแบบนี้ว่า Virtual Memory หน่วยความจำาเสมือน
 ข้อดี คือ ทำาให้เครื่องที่มีหน่วยความจำาหลักจำากัด
สามารถรันงานเพิ่มมากยิ่งขึ้น
 ข้อเสีย คือ ทำางานได้ช้า
* แต่ถ้าฮาร์ดดิสก์ มีพื้นที่ว่างไม่เพียงพอ ก็ไม่สามารถ
ความสามารถของระบบปฏิบัติ
การ
 Storage Management การจัดการข้อมูล
หรือการจัดเก็บข้อมูล
 ระบบปฏิบัติการที่ดีต้องมีความสามารถในการจัดเก็บ
ข้อมูลลงดิสก์ เพื่อบันทึกไว้ใช้ในตอนเปิดเครื่องครั้งต่อ
ไป
 ระบบปฏิบัติการต้องมีความสามารถในการอ่านเขียน
ข้อมูลลงดิสก์ได้ดี มีระบบค้นหาข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ
มีการกำาหนดสิทธิ์ผู้เข้าใช้ข้อมูลได้
 Device Management การจัดการอุปกรณ์
ต่อพ่วง
 ระบบปฏิบัติการต้องมีความสามารถในการติดต่อกับ
อุปกรณ์ต่อพ่วงต่าง ๆ ผ่านโปรแกรมที่เรียกว่า “ไดรฟ
เวอร์” โดยไดรฟเวอร์มีหน้าที่แปลงสัญญาณ
อิเล็กทรอนิกส์ของอุปกรณ์ให้เป็นข้อมูลรหัส
คอมพิวเตอร์ ส่งให้ระบบปฏิบัติการ และสลับกัน ไดรฟ
เวอร์ก็แปลงรหัสคอมฯเ ป็นสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ส่ง
ความสามารถของระบบปฏิบัติ
การ
 Application Management ส่วนติดต่อกับ
โปรแกรมประยุกต์
 ระบบปฏิบัติการจะเตรียมส่วนที่ใช้ติดต่อกับโปรแกรม
ประยุกต์ไว้ เช่นคำาสั่งพื้นฐาน ฟังก์ชันการทำางานต่าง ๆ
เมื่อเราเปิดโปรแกรมและสั่งงาน คำาสั่งจะถูกส่งไปให้
ระบบปฏิบัติการโดยผ่านส่วนการติดต่อนี้ ระบบปฏิบัติ
การเป็นตัวจัดการคำาสั่งให้ เช่น การอ่าน เขียนไฟล์
เป็นต้น
 User Interface ส่วนติดต่อกับผู้ใช้
 ระบบปฏิบัติการต้องมีส่วนติดต่อกับผู้ใช้ เช่นหน้าต่าง
ปุ่มกดตกลง ปุ่มกดปฏิเสธ ช่องกรอกข้อความ หน้าต่าง
เตือน ช่องรายการ ฯลฯ เพื่อสื่อสารและรับคำาสั่งจากผู้
ใช้งาน โดยโปรแกรมประยุกต์จะนำาส่วนประกอบต่าง ๆ
เหล่านี้มาใช้เป็นส่วนประกอบของโปรแกรม
สรุปหน้าที่ของ OS
จุดประสงค์หลักการสร้าง OS เพื่ออำานวยความ
สะดวกแก่ผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ โดยหน้าที่หลักมี
ดังนี้
 ติอต่อกับผู้ใช้(User Interface)
 ควบคุมดูแลอุปกรณ์และการทำางานของเครื่อง
คอมพิวเตอร์
 จัดสรรทรัพยากรต่าง ๆ ในระบบ เช่น ซีพียู,
หน่วยความจำา,อุปกรณ์อินพุต-เอาต์พุต, ข้อมูล
เป็นต้น เพราะ
 ทรัพยากรของระบบมีจำากัด โดยเฉพาะซีพียู
Homework
 จงหาชื่อของระบบปฏิบัติที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ดังต่อไป
นี้
เครื่องเซิร์ฟเวอร์
เครื่องพีซี
เครื่องแมคอินทอช
อุปกรณ์พกพา เช่น เครื่อง PDA , โทรศัพท์มือถือ,
Tablet ฯลฯ
 เปรียบเทียบข้อแตกต่างของระบบปฏิบัติการ Windows
98, XP,ME, Seven ว่ามีข้อดีข้อด้อยอย่างไร หาภาพของ
แต่ละรุ่นมาประกอบด้วย
**ให้ทำาเป็นงานกลุ่ม จับกลุ่มไม่เกิน 3 คน พิมพ์ส่ง ใช้สันรูดเข้า
เล่ม

More Related Content

What's hot

วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์Kanyawee Sriphongpraphai
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์Ploy Wantakan
 
Introduction to Computer and Software คอมพิวเตอร์เบื้องต้นและซอฟแวร์ (ภาษาไทย)
Introduction to Computer and Software คอมพิวเตอร์เบื้องต้นและซอฟแวร์ (ภาษาไทย)Introduction to Computer and Software คอมพิวเตอร์เบื้องต้นและซอฟแวร์ (ภาษาไทย)
Introduction to Computer and Software คอมพิวเตอร์เบื้องต้นและซอฟแวร์ (ภาษาไทย)Mayuree Srikulwong
 
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์Timmy Printhong
 
ระบบคอม
ระบบคอมระบบคอม
ระบบคอมAphison Pukon
 
ระบบคอม
ระบบคอมระบบคอม
ระบบคอมAphison Pukon
 
ระบบคอม
ระบบคอมระบบคอม
ระบบคอมAphison Pukon
 
ระบบคอม
ระบบคอมระบบคอม
ระบบคอมAphison Pukon
 
ระบบคอม
ระบบคอมระบบคอม
ระบบคอมAphison Pukon
 
Chapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer SystemChapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer SystemAdul Yimngam
 
ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1MilkSick
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์Sakulrut
 
3.ระบบคอมพิวเตอร์
3.ระบบคอมพิวเตอร์3.ระบบคอมพิวเตอร์
3.ระบบคอมพิวเตอร์PongPang
 

What's hot (18)

วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
 
Introduction to Computer and Software คอมพิวเตอร์เบื้องต้นและซอฟแวร์ (ภาษาไทย)
Introduction to Computer and Software คอมพิวเตอร์เบื้องต้นและซอฟแวร์ (ภาษาไทย)Introduction to Computer and Software คอมพิวเตอร์เบื้องต้นและซอฟแวร์ (ภาษาไทย)
Introduction to Computer and Software คอมพิวเตอร์เบื้องต้นและซอฟแวร์ (ภาษาไทย)
 
Lesson2
Lesson2Lesson2
Lesson2
 
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 21
บทที่ 21บทที่ 21
บทที่ 21
 
ระบบคอม
ระบบคอมระบบคอม
ระบบคอม
 
ระบบคอม
ระบบคอมระบบคอม
ระบบคอม
 
ระบบคอม
ระบบคอมระบบคอม
ระบบคอม
 
ระบบคอม
ระบบคอมระบบคอม
ระบบคอม
 
ระบบคอม
ระบบคอมระบบคอม
ระบบคอม
 
Chapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer SystemChapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer System
 
ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
Learnning01
Learnning01Learnning01
Learnning01
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
3.ระบบคอมพิวเตอร์
3.ระบบคอมพิวเตอร์3.ระบบคอมพิวเตอร์
3.ระบบคอมพิวเตอร์
 
Computer system
Computer systemComputer system
Computer system
 

Viewers also liked

1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการkanlayarat
 
Multiprogramming&timesharing
Multiprogramming&timesharingMultiprogramming&timesharing
Multiprogramming&timesharingTanuj Tyagi
 
6 multiprogramming & time sharing
6 multiprogramming & time sharing6 multiprogramming & time sharing
6 multiprogramming & time sharingmyrajendra
 
Introduction to Operating System
Introduction to Operating SystemIntroduction to Operating System
Introduction to Operating Systempriya_sinha02
 
Operating system overview concepts ppt
Operating system overview concepts pptOperating system overview concepts ppt
Operating system overview concepts pptRajendraPrasad Alladi
 

Viewers also liked (6)

1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
 
B2
B2B2
B2
 
Multiprogramming&timesharing
Multiprogramming&timesharingMultiprogramming&timesharing
Multiprogramming&timesharing
 
6 multiprogramming & time sharing
6 multiprogramming & time sharing6 multiprogramming & time sharing
6 multiprogramming & time sharing
 
Introduction to Operating System
Introduction to Operating SystemIntroduction to Operating System
Introduction to Operating System
 
Operating system overview concepts ppt
Operating system overview concepts pptOperating system overview concepts ppt
Operating system overview concepts ppt
 

Similar to Ppt

ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์okbeer
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1Sindy Lsk
 
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้นโครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้นBeerza Kub
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์sommat
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์Nantawoot Imjit
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์onthicha1993
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์onthicha1993
 
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)krissapat
 
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)krissapat
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Da Arsisa
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์pui3327
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์kachornchit_maprang
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์kachornchit_maprang
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์kachornchit_maprang
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์Owat
 

Similar to Ppt (20)

ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1
 
Computer Era
Computer EraComputer Era
Computer Era
 
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้นโครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
 
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
วิวัฒนาการคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
computer
computercomputer
computer
 
Week01
Week01Week01
Week01
 

Ppt

  • 2. ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์  คอมพิวเตอร์ หรือ เครื่องคำานวณ แบ่งออก เป็นยุค ๆ ได้ดังนี้  ยุคก่อนประวัติศาสตร์ เครื่องคำานวณไม่ใช้ไฟฟ้า คือ ลูกคิด  ยุคแรก ช่วงปีค.ศ.1945-1955 ยุคนี้ต้นทุนการผลิตสูง เพราะใช้หลอดสูญญากาศ เป็นส่วนประกอบ หลักทำาให้เครื่องมีขนาดใหญ่ใช้ไฟฟ้ามากเกิด ความร้อนสูง จึงต้องอยู่ในห้องปรับอุณหภูมิ ขนาดใหญ่ ไม่มีซอฟต์แวร์ใช้ ใช้เป็นโปรแกรมที่ สร้างในรูปแบบแผงวงจร เสียเวลาติดตั้งลำาบาก
  • 4. ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์  คอมพิวเตอร์ หรือ เครื่องคำานวณ แบ่งออกเป็นยุค ๆ ได้ดังนี้  ยุคที่ 2 ช่วงปีค.ศ.1955-1965 ยุคแห่งทรานซิสเตอร์ อุปกรณ์ที่สร้างจากสารกึ่งตัวนำา มีขนาดเล็ก ต้นทุนไม่สูง กินไฟน้อย ความร้อนตำ่า ความเร็วในการประมวลผล ประมาณ หนึ่งในพันของวินาที (Millisecond: mS) - ยุคนี้จัดเก็บข้อมูลที่ใช้บัตรเจาะรู (Punched Card) และเปลี่ยนเป็นเทปแม่เหล็ก (Magnetic Tape) ที่มี ขนาดเล็กกว่า จัดเก็บง่ายกว่า อ่านเขียนเร็วกว่า และ คงทนไม่เปื่อยยุ่ยเหมือนการใช้กระดาษ - ยุคนี้มักใช้ภาษาสัญลักษณ์ มาแทนภาษาเครื่องทำาให้ผู้
  • 6. ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์  คอมพิวเตอร์ หรือ เครื่องคำานวณ แบ่งออกเป็นยุค ๆ ได้ดังนี้  ยุคที่ 3 ช่วงค.ศ.1965-1970 ยุค IC (Integrated Circuit) แผ่นวงจรรวมที่สร้างจากสารกึ่งตัวนำา ลักษณะของไอซี เป็นแผ่นวงจรไฟฟ้าประกอบด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เริ่มใช้ชิพในการผลิต ทำาให้คอมพิวเตอร์มีขนาดเล็ก และมีความเร็วในการทำางานเพิ่มมากขึ้น 1 คำาสั่งใช้เวลา ประมาณ หนึ่งในล้านของวินาที สูงกว่ายุค 2 ประมาณ 1,000 เท่า
  • 7. ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์  คอมพิวเตอร์ หรือ เครื่องคำานวณ แบ่งออกเป็นยุค ๆ ได้ดังนี้  ยุคที่ 4 ช่วงค.ศ.1970-1990 ยุคที่เทคโนโลยีการผลิตชิพก้าว เข้าสู่ระดับ LSI(Large-scale integration) และ VLSI(Very Large-scale integration) ทำาให้ สามารถผลิตชิพขนาดเล็กราคาถูก เครื่องคอมพิวเตอร์ ในยุคนี้จึงมีขนาดเล็กลง แต่ทำางานได้เร็วขึ้น และราคา ไม่แพงจนเกินไป จึงทำาให้ถือกำาเนิดคอมพิวเตอร์พีซี ขึ้น มา ความเร็วในการประมวลผลเริ่มตั้งแต่หนึ่งในพันล้าน วินาที (Nanosecond: nS) จนถึงหนึ่งในล้านล้านของ วินาที (Picoseconds :pS) ต่อหนึ่งคำาสั่ง และซีพียูก็ พัฒนาจาก 16 บิตไปสู่ 32 บิตที่นิยมในปัจจุบัน
  • 8. ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์  คอมพิวเตอร์ หรือ เครื่องคำานวณ แบ่งออกเป็นยุค ๆ ได้ดังนี้  ยุคที่ 5 ในปีค.ศ.1990 – จนถึงปัจจุบัน ถือเป็นยุคทองพีซี มีการ พัฒนาอย่างต่อเนื่อง เทคโนโลยีชิพ ULSI (Ultra Large-Scale Integration) ทำาให้ชิพมีขนาดเล็กลง อีก ความสามารถเพิ่มมากขึ้น จึงเกิดพีซีขนาดเล็กขึ้นมา หรือที่เรียกว่าโน้ตบุ๊ค รวมถึงอุปกรณ์อื่น ๆ เช่น คอมพิวเตอร์มือถือ(PDA) โทรศัพท์มือถือ สมาร์ทโฟน ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้ เช่น Microsoft Windows, MacOS, Linux
  • 9. ซอฟต์แวร์ คือ? คำาสั่งที่สั่งงานเครื่องจักรหรือคอมพิวเตอร์ให้ ทำางานตามที่เราต้องการ ในยุคแรกใช้บันทึกในกระดาษเจาะรูที่เราเรียกว่า Punched Card กระดาษเจาะรูนี้จะใช้การเจาะและ ไม่เจาะ แทนค่า 0 และ 1 เป็นรหัสสั่งงานเครื่องจักร ให้ทำางานตามที่เราต้องการ รหัสที่มีค่า 0 และ 1 ใน การสั่งงานเครื่องจักรหรือคอมพิวเตอร์ว่า ภาษาเครื่อง (Machine Language) Machine Language : ในยุคแรกที่ใช้หลอดสูญ ญากาศ จะใช้สวิทซ์เปิดปิดแทนค่า 0 และ1 ใช้การ สั่งงานแบบง่าย ๆ ไม่สามารถซับซ้อนเหมือนสมัยนี้ Assembly/Symbolic Language : การบันทึก ข้อมูลลงแถบแม่เหล็กแบบประจุไฟฟ้าบนแถบแม่เหล็ก
  • 11. ซอฟต์แวร์ คือ? (ต่อ) High-Level Language : ภาษาระดับสูงถูก พัฒนาขึ้นมาแทนภาษาสัญลักษณ์เพื่อให้ใช้ง่ายกว่า เดิม โดยหลักการเขียนคำาสั่งคล้ายกับไวยากรณ์ ภาษามนุษย์เช่น ภาษามนุษย์ ภาษาระดับสูง Add 2 and 2 Show me the answer Answer := 2+2; Printf (“%dn”,answer);
  • 12. ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์  การพัฒนาซอฟต์แวร์ มีการพัฒนาโปรแกรมภาษา ระดับสูง เข้าใจง่ายกว่าภาษาสัญลักษณ์ และหลัก การเขียนคล้ายภาษามนุษย์มากขึ้น เช่น C, Pascal, Fortran นอกจากนี้ยังมีการพัฒนา ซอฟต์แวร์ระบบบริหารต่าง ๆ ขึ้นมาใช้งาน เช่น ระบบบริหารจัดการฐานข้อมูล Hardware Machine Language Assembly/Symbolic Language High-Level Language Fortran C Pascal
  • 13. ประเภทของซอฟต์แวร์  ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ (Operating System) ใช้สั่งการฮาร์ดแวร์ เป็นระบบหลักที่เครื่อง คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องต้องมี  ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) โปรแกรมที่ทำางานเฉพาะด้าน เช่น งานด้านเอกสาร การ คำานวณ ความบันเทิง ซอฟต์แวร์ประเภทนี้จะทำางานโดย ลำาพังมิได้ แต่จะทำางานบนระบบปฏิบัติการอีกทีหนึ่ง และการขอใช้ฮาร์ดแวร์จะต้องทำาผ่านระบบปฏิบัติการ ทุกครั้ง ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ การทำางานของซอฟต์แวร์ใน ระบบคอมพิวเตอร์
  • 14. What is an Operating System?  A program that acts as an intermediary between a user of a computer and the computer hardware.  Operating system goals:  Execute user programs and make solving user problems easier.  Make the computer system convenient to use.  Use the computer hardware in an efficient manner.
  • 15. Four Components of a Computer System
  • 16. ยุคการเติบโตของระบบปฏิบัติ การ ยุคแรก - ช่วงค.ศ.1945-1955 การสั่งงานคอมพิวเตอร์อยู่ในรูป แบบสวิทซ์เปิดปิด ใช้มนุษย์ในการควบคุม คล้ายการสั่ง งานเครื่องจักรในโรงงาน - ต่อมาช่วง 1955-1965 ยุคการเริ่มต้นสร้างระบบปฏิบัติ การ มีหน้าที่เพียงแค่จัดการบริหารฮาร์ดแวร์ รับคำาสั่งจาก ผู้ใช้เท่านั้น อีกทั้งตัวระบบยังเขียนเพื่อคอมพิวเตอร์เครื่อง หนึ่ง ๆ เท่านั้น ถ้าเปลี่ยนฮาร์ดแวร์หรือเปลี่ยนคอมพิวเตอร์ จำาเป็นต้องเขียนระบบจัดการฮาร์ดแวร์ขึ้นมาใหม่ - ระบบปฏิบัติการยุคนี้เรียกว่า มอนิเตอร์ทำางานแบบ Stack Job Batch System คือทำางานทีละอย่างต่อเนื่องเป็นชุด เนื่องจากยุคนั้นคอมพิวเตอร์กินไฟมาก การเปิดปิดเครื่อง บ่อยทำาให้สิ้นเปลือง จึงต้องเขียนคำาสั่งเป็นชุด ๆ และสั่ง
  • 18. ยุคการเติบโตของระบบปฏิบัติ การ  ยุคที่ 2 ช่วงค.ศ.1965-1970 การทำางานแบบ Spooling Batch System เป็นการทำางานแบบพร้อม ๆ กัน ด้วยเทคโนโลยีของจานแม่เหล็กแทนเทปแม่เหล็ก -Simultaneous Peripheral Operating On- Line เป็น multiprogramming พื้นฐาน ทำาให้ซีพียูทำางานเต็มประสิทธิภาพ เพราะทำาให้ สามารถทำางานได้ 2 งานพร้อมกัน งานแรกคือ ประมวลผลในส่วนของซีพียู งานที่สองคือ การรับ-แสดงผลข้อมูล ซึ่งต่างกับ buffer ที่ซีพียู และหน่วยรับ-แสดงผลทำางานร่วมกัน และ spooling มี job pool ทำาให้สามารถเลือกการ
  • 19. ข้อแตกต่างระหว่างระบบบัฟเฟอร์กับส พูลิ่ง  ระบบบัฟเฟอร์เป็นการเหลื่อมกันระหว่างการ ประมวลผลกับหน่วยนำาเข้า/ส่งออก ของโปรแกรม เดียวกัน ซึ่งไม่อาจทำาได้มากนัก ด้วยข้อจำากัดของ ขั้นตอนการทำางานของโปรแกรมนั้น ๆ  ระบบสพูลิ่ง เป็นการเหลื่อมกันของการประมวลผล กับการรับและแสดงผลของอีกงานหนึ่ง โดยผ่าน โปรแกรมสพูล  ระบบสพูลิ่งสามารถจัดการงานที่ถูกป้อนเข้ามาแบบ เรียงลำาดับได้โดยอิสระ เกิดเป็นกองกลางงาน (Job Pool) ซึ่งระบบปฏิบัติการสามารถเลือกงานเข้า ประมวลผลตามความเหมาะสมก่อให้เกิดระบบการ
  • 21. ยุคการเติบโตของระบบปฏิบัติ การ  ยุคที่ 3 ช่วงค.ศ.1970- ปัจจุบัน ยุคนี้หน่วยความจำาเริ่มมีราคาถูก ลง คอมพิวเตอร์จึงมีหน่วยความจำาพื้นฐานมากขึ้นรูปแบบ การทำางานจึงเปลี่ยนไป - Multiprogramming Systems เป็นรูปแบบหนึ่งในการ ทำางานหลาย ๆ โปรแกรมพร้อม ๆ กัน โดยเก็บงานทั้งหมด ไว้ในหน่วยความจำา ถ้างานที่ 1 กำาลังรอข้อมูลเพื่อนำาไป ประมวลผลต่อ ระบบจะละงานที่ 1 และให้ซีพียูประมวลผล งานที่ 2,3,4 ต่อไปจนเสร็จ แล้วจึงกลับมาทำางานที่ 1 ที่ ค้างอยู่ วิธีนี้ทำาให้ระบบสามารถประมวลผลหลาย ๆ งานพร้ อมๆ กันได้ แต่มีข้อเสีย คือ ถ้าระบบเจองานที่ต้องใช้เวลา ประมวลนาน ก็จะมีผลให้งานทำาค้างไว้ หรืองานง่าย ๆ ที่
  • 23. ยุคการเติบโตของระบบปฏิบัติ การ ยุคที่ 3 (ต่อ) - Timesharing Systems ระบบที่ทำาให้เครื่อง คอมพิวเตอร์สามารถทำางานพร้อมกันได้หลายๆ โปรแกรม โดยหลักการจะเป็นการตั้งเวลาในการ ทำางานให้กับงานหนึ่งๆ - การแก้ปัญหาด้วยวิธีนี้ทำาให้งานง่าย ๆใช้เวลา น้อยไม่ต้องเสียเวลารอนาน และงานที่ใช้เวลามาก ก็ค่อย ๆ ทำาไปตามรอบที่เวียนมาจนเสร็จ - นอกจากนี้ระบบยังให้ความสำาคัญกับการติดต่อผู้ ใช้ กรณีที่ผู้ใช้คีย์งานเข้าไปยังโปรแกรมที่ยังไม่ถึง ลำาดับที่จะถูกประมวลผล ระบบจะให้ความสำาคัญ ของโปรแกรมนั้นเป็นอันดับแรก และลัดคิวประมวล ผลโปรแกรมนั้นก่อน ทำาให้ผู้ใช้งานไม่ต้องคอย
  • 24. การนำาแนวคิดแบบ Time-Sharing Systems มาพัฒนาขีดความสามารถของระบบ ปฏิบัติการ Multitasking คือ ผู้ใช้หนึ่งคนสามารถดำาเนินการ(Run) ได้ หลายโปรแกรมในเวลาเดียวกันบนเครื่องเดียวกัน  Multithreading คือการแบ่งโปรแกรม หรือกระจาย กระบวนการออกเป็นกระบวนการย่อย ๆ หรือเรียกว่า เทรด ซึ่งเป็นหน่วยย่อยที่เล็กที่สุดของกระบวนการที่สามารถ กระทำาได้ ทำาให้ระบบปฏิบัติการสามารถซอยโปรแกรมเป็น หน่วยย่อย ๆ แล้วทำางานคู่ขนานกันไปช่วยให้โปรแกรม ทำางานเสร็จเร็วขึ้น  Virtual Storage คือการแบ่งส่วนโปรแกรมเป็น2 ส่วน โดยส่วน แรกเก็บเฉพาะส่วนที่จำาเป็นในการประมวลผลไว้ในหน่วย ความจำาหลัก และที่เหลือเก็บไว้ในหน่วยความจำารองเช่น ดิสก์เนื่องจากโปรแกรมขณะถูกดำาเนินการซีพียูอาจใช้
  • 26. ยุคการเติบโตของระบบปฏิบัติ การ ยุคที่ 4 - ช่วงปีค.ศ.1990- ปัจจุบัน ยุคนี้พีซีมีอย่างแพร่ หลาย ระบบปฏิบัติการจึงต้องเปลี่ยนแปลงไปตาม รูปแบบความต้องการของตลาด จึงต้องสะดวกใน การติดตั้ง ผู้ที่ไม่ใช่ผู้เชี่ยวชาญ(Home User) ก็ สามารถทำาได้ รองรับฮาร์ดแวร์ได้หลายชนิด (Plug&Play) สามารถเชื่อมต่อหรือติดต่อเครือข่าย ทั้งภายในและภายนอกได้ (Network & Internet) สามารถป้องกันข้อมูลส่วน บุคคล(Security/Anti-Virus) และสามารถสร้าง ระบบผู้ใช้ได้ (Multi-User)
  • 27. ประเภทของระบบปฏิบัติการ  Supercomputing OS เป็นระบบปฏิบัติการที่ใช้ ในงานด้านวิทยาศาสตร์ที่มีการประมวลผลข้อมูล ปริมาณมหาศาล สูตรคำานวณที่ซับซ้อนกินเวลา นาน หรือใช้ในด้านกราฟิกกับงานที่มีรายละเอียด สูง ปริมาณมาก ๆ เช่นงานภาพยนตร์ สำาหรับสร้าง ภาพ 3 มิติ  Mainframes OS ระบบที่ใช้นี้เพื่องานบริการ ขนาดใหญ่เช่น หน่วยงานรัฐฯ, บริษัทขนาดใหญ่ที่ ต้องรองรับผู้ใช้พร้อม ๆ กันจำานวนมาก สามารถ แจกข้อมูลให้ผู้ใช้ได้พร้อม ๆ กัน มีความปลอดภัย สูง ยากที่จะเจาะรหัส  Servers OS ระบบที่มีความสามารถในการจัดการ
  • 28. ประเภทของระบบปฏิบัติ การ(ต่อ) Desktop OS เป็นระบบปฏิบัติการเพื่อผู้ใช้งาน ตามบ้าน สำาหรับเครื่องพีซี ที่มีคุณสมบัติใช้ ทรัพยากรไม่สูงมาก ง่ายในการใช้งาน งานไม่ซับ ซ้อนเกินไป  Workstations OS ระบบที่เหมาะกับเครื่องพีซี ใช้ สำาหรับทำางานเป็นหลัก มีผู้ใช้คนเดียว มี ประสิทธิภาพพอกับ Desktop แต่เน้นใช้งานใน สำานักงานองค์กรเป็นหลัก  Handheld OS ระบบขนาดเล็ก ดึงความสามารถ จากระบบ Desktop แต่ปรับปรุงให้ใช้ทรัพยากร น้อยเหมาะกับอุปกรณ์มือถือแบบต่าง ๆ  Real Time OS : ระบบที่ออกแบบมาเพื่อใช้ใน
  • 29. ประเภทของระบบปฏิบัติการ (ต่อ)  Embedded OS ระบบปฏิบัติการพิเศษที่ทำาขึ้นมา เฉพาะอุปกรณ์ ฝังรวมกับอุปกรณ์ตัวนั้น โดยมาเป็น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ระดับสูง ระบบแบบนี้มีขนาด เล็กใช้ได้เฉพาะอุปกรณ์ตัวนั้น หรืออุปกรณ์ตระกูล เดียวกัน  Smart Card OS ระบบปฏิบัติที่ฝั่งใน Smart Card มีขนาดเล็กบรรจุในหน่วยความจำาภายใน การ์ด ป้องกันข้อมูลคุณที่บรรจุภายในการ์ดไม่ให้ ถูกล้วงไปได้ง่าย ๆ
  • 30. หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ  การจัดการกระบวนการ  การจัดการหน่วยความจำาหลัก  การจัดการแฟ้ม  การจัดการระบบ  การจัดการหน่วยเก็บสำารอง  เครือข่าย  ระบบการป้องกัน  ระบบตัวแปลคำาสั่ง
  • 31. การจัดการกระบวนการ (Process Management)  การสร้าง/การลบกระบวนการ ทั้งของผู้ใช้และ ระบบ  การหยุด/การกลับเข้าทำาใหม่ของกระบวนการ  การจัดหากลไกสำาหรับการประสานเวลาของ กระบวนการ  การจัดหากลไกสำาหรับการสื่อสารระหว่างกันของ กระบวนการ  การจัดหากลไกสำาหรับควบคุมภาวะติดตาย
  • 32. การจัดการหน่วยความจำาหลัก (Main Memory Management)  เก็บข้อมูลปัจจุบันในส่วนของหน่วยความจำาที่กำาลัง ถูกใช้อยู่  ตัดสินใจจะเก็บกระบวนการใดเข้าสู่หน่วยความจำา เมื่อพื้นที่หน่วยความจำาว่างลง  จัดสรรพื้นที่หน่วยความจำาตามที่ต้องการ
  • 33. การจัดการแฟ้ม (File Management)  การสร้างและลบแฟ้ม  การสร้างและลบสารบบ  การแก้ไขและเรียกใช้งานแฟ้มและสารบบ  แปลงแฟ้มไปยังหน่วยเก็บสำารอง  การสำารองแฟ้มลงบนสื่อที่เก็บชนิดถาวร
  • 34. การจัดการระบบอินพุต/เอาต์พุต (I/O System Management) จุดประสงค์ของระบบปฏิบัติการคือการซ่อนราย ละเอียดซึ่งเป็นคุณลักษณะเฉพาะของอุปกรณ์ ฮาร์ดแวร์จากการรับรู้ของผู้ใช้เพื่ออำานวยความ สะดวกต่อผู้ใช้ระดับต่าง ๆ ส่วนประกอบการจัดการหน่วยความจำา รวมทั้ง บัฟเฟอร์ แคช และที่พักเก็บ การต่อประสาน(Interface) ตัวขับอุปกรณ์ (Device-driver) ทั่วไป ตัวขับอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์มีเพียงDevice-driver เท่านั้นที่ จะรู้จักรายละเอียดเชิงกายภาพของอุปกรณ์ที่ถูก
  • 35. การจัดการหน่วยเก็บสำารอง (Secondary-Storage Management) เนื่องจากหน่วยความจำารองมักถูกใช้บ่อย จึงควร ถูกใช้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยความเร็วส่วนใหญ่ใน การทำางานของระบบคอมพิวเตอร์ขึ้นอยู่กับดิสก์และ วิธีการเรียกใช้งาน การจัดการพื้นที่ว่าง การจัดสรรหน่วยเก็บ(Storage Allocation) การจัดลำาดับดิสก์ (Disk Scheduling)
  • 36. เครือข่าย (Network) ระบบกระจาย เป็นหน่วยรวมของตัวประมวลผลที่ ไม่มีการใช้ร่วมกันของหน่วยความจำาอุปกรณ์รอบ ข้าง โดยมีการติดต่อสื่อสารระหว่างกันผ่านสาย การสื่อสาร ดังนั้นระบบปฏิบัติการจะต้องมีการ ดำาเนินการดังนี้  จัดหาการเข้าถึงทรัพยากรที่ใช้ร่วมกันในระบบ กระจาย  จัดหาการบริการด้านการติดต่อสื่อสาร
  • 37. การป้องกัน (Protection) ในระบบที่มีผู้ใช้หลายคนและมีหลายงาน การใช้ ทรัพยากรของระบบ จำาเป็นต้องประกันว่าการเรียกใช้ ทรัพยากรต้องได้รับการอนุญาตจากระบบปฏิบัตการ เท่านั้น ดังนั้น การป้องกันจะหมายถึงกลไกที่ใช้ควบคุม การเข้าถึงโปรแกรม กระบวนการ หรือผู้ใช้ เพื่อความ ถูกต้องในการใช้ของผู้ใช้หรือกระบวนการและ ปกป้องไม่ให้ถูกรุกรานจากผู้ที่ไม่ได้รับอนุญาตจาก ระบบปฏิบัติการ
  • 38. ระบบตัวแปลคำาสั่ง (Command Interpreter System) ตัวแปลคำาสั่ง เป็นส่วนต่อประสานระหว่างผู้ใช้กับ ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการบางระบบจะผนวก ส่วนของตัวแปลคำาสั่งไว้ในเคอร์เนล ในบางระบบเช่น Ms-Dos และ Unix จะเก็บตัวแปลคำา สั่งไว้เป็นโปรแกรมพิเศษที่จะดำาเนินงานเมื่องานถูก เริ่มกระทำาการ หรือเมื่อผู้ใช้ทำาการลงบันทึกเข้ามา ครั้งแรกในระบบแบ่งเวลา
  • 39. ระบบปฏิบัติการกับอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ แบ่งได้ 4 หมวดหลักดังต่อไปนี้  Processors : CPU เป็นฮาร์ดแวร์หลักที่ระบบปฏิบัติ การต้องติดต่อควบคุมตลอดเวลา ระบบปฏิบัติการจะ ทำาการแบ่งเวลาในการประมวลผลให้กับงานที่กำาลังทำา อยู่ ณ เวลานั้น รวมถึงการแทรกงานที่มาจากผู้ใช้ เพื่อ ให้ผู้ใช้ไม่ต้องคอยงานนั้นนานเกินไป  Memory หน่วยความจำา เป็นส่วนที่ทำางานคู่กับซีพียู ใน การพักข้อมูล เก็บข้อมูล โดยระบบปฏิบัติการจะเป็นตัว ระบุตำาแหน่งข้อมูล เพื่อให้ซีพียูสามารถดึงข้อมูลใน ตำาแหน่งที่ถูกต้องมาทำางานต่อไปได้ ซึ่งมีอยู่ 3 ประเภท คือ  High-Speed cache เป็นหน่วยความจำาความเร็วสูง อยู่ภายในซีพียูเลย เป็นหน่วยความจำาที่ใช้เก็บข้อมูล
  • 40. ระบบปฏิบัติการกับอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ Main memory เป็นหน่วยความจำาหลัก หรือเรียกสั้น ๆ ว่า แรม เมื่อซีพียูหาข้อมูลที่ต้องการในแคชไม่พบ จะมาหาข้อมูลในแรมแทน หน่วยความจำาประเภทนี้จะ ใช้เก็บข้อมูลของงานที่เรากำาลังทำาอยู่เพราะมีพื้นที่ มากกว่าแคช และข้อมูลจะเก็บอยู่จนกว่าปิดเครื่อง ข้อมูลก็จะหายไป  Secondary memory หน่วยความจำาสำารอง เป็น หน่วยความจำาที่ทำางานได้ช้าที่สุด แต่สามารถเก็บ ข้อมูลให้คงอยู่ได้แม้ปิดเครื่องไปแล้ว เป็นหน่วยความ จำาแบบแถบแม่เหล็กหรือที่เรียกว่า ดิสก์  I/O Devices อุปกรณ์ต่อพ่วงต่าง ๆ ถูกจัดการโดย ระบบปฏิบัติการในการสั่งงาน ควบคุมและแบ่งปันให้ เพียงพอกับงานต่าง ๆ ที่ทำาอยู่
  • 41. ความสามารถของระบบปฏิบัติ การ  Processor Management หัวใจของระบบ ปฏิบัติการมี 2 ส่วนด้วยกันคือ  ทำาการแบ่งปันเวลาประมวลผลของซีพียูให้เพียง พอกับงานทุก ๆ งาน  พยายามใช้ซีพียูประมวลผลงานตามความเป็น จริง กรณีมีงานมากไม่สามารถสลับแบ่งซีพียูให้เพียงพอได้ ระบบจะให้ความสำาคัญกับงานที่มีลำาดับความสำาคัญสูง ก่อน การแทรกงาน มาประมวลผล หรือ การอินเทอร์รัพ (Interrupt:การขัดจังหวะ) มีทั้งขัดจังหวะจากฮาร์ดแวร์ หรือ ระบบปฏิบัติการขัดจังหวะก็ได้ ระบบที่มีการขัดจังหวะที่ดีจะสามารถช่วยลดงานได้
  • 42. ความสามารถของระบบปฏิบัติ การ Memory Management การจัดการหน่วย ความจำาที่ดีมี 2 ประเด็น คือ  ระบบต้องแบ่งหน่วยความจำาให้เพียงพอสำาหรับ งานแต่ละงาน  ระบบต้องจัดการขอบเขตของหน่วยความจำาให้ ดี งานๆ หนึ่งไม่สามารถนำาหน่วยความจำาของ งานอื่นมาใช้ได้ กรณีที่หน่วยความจำาไม่เพียงพอ ระบบจะยืมพื้นที่ว่าง ของฮาร์ดดิสก์มาทำาเป็นหน่วยความจำา เรียกหน่วยความ จำาแบบนี้ว่า Virtual Memory หน่วยความจำาเสมือน  ข้อดี คือ ทำาให้เครื่องที่มีหน่วยความจำาหลักจำากัด สามารถรันงานเพิ่มมากยิ่งขึ้น  ข้อเสีย คือ ทำางานได้ช้า * แต่ถ้าฮาร์ดดิสก์ มีพื้นที่ว่างไม่เพียงพอ ก็ไม่สามารถ
  • 43. ความสามารถของระบบปฏิบัติ การ  Storage Management การจัดการข้อมูล หรือการจัดเก็บข้อมูล  ระบบปฏิบัติการที่ดีต้องมีความสามารถในการจัดเก็บ ข้อมูลลงดิสก์ เพื่อบันทึกไว้ใช้ในตอนเปิดเครื่องครั้งต่อ ไป  ระบบปฏิบัติการต้องมีความสามารถในการอ่านเขียน ข้อมูลลงดิสก์ได้ดี มีระบบค้นหาข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ มีการกำาหนดสิทธิ์ผู้เข้าใช้ข้อมูลได้  Device Management การจัดการอุปกรณ์ ต่อพ่วง  ระบบปฏิบัติการต้องมีความสามารถในการติดต่อกับ อุปกรณ์ต่อพ่วงต่าง ๆ ผ่านโปรแกรมที่เรียกว่า “ไดรฟ เวอร์” โดยไดรฟเวอร์มีหน้าที่แปลงสัญญาณ อิเล็กทรอนิกส์ของอุปกรณ์ให้เป็นข้อมูลรหัส คอมพิวเตอร์ ส่งให้ระบบปฏิบัติการ และสลับกัน ไดรฟ เวอร์ก็แปลงรหัสคอมฯเ ป็นสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ส่ง
  • 44. ความสามารถของระบบปฏิบัติ การ  Application Management ส่วนติดต่อกับ โปรแกรมประยุกต์  ระบบปฏิบัติการจะเตรียมส่วนที่ใช้ติดต่อกับโปรแกรม ประยุกต์ไว้ เช่นคำาสั่งพื้นฐาน ฟังก์ชันการทำางานต่าง ๆ เมื่อเราเปิดโปรแกรมและสั่งงาน คำาสั่งจะถูกส่งไปให้ ระบบปฏิบัติการโดยผ่านส่วนการติดต่อนี้ ระบบปฏิบัติ การเป็นตัวจัดการคำาสั่งให้ เช่น การอ่าน เขียนไฟล์ เป็นต้น  User Interface ส่วนติดต่อกับผู้ใช้  ระบบปฏิบัติการต้องมีส่วนติดต่อกับผู้ใช้ เช่นหน้าต่าง ปุ่มกดตกลง ปุ่มกดปฏิเสธ ช่องกรอกข้อความ หน้าต่าง เตือน ช่องรายการ ฯลฯ เพื่อสื่อสารและรับคำาสั่งจากผู้ ใช้งาน โดยโปรแกรมประยุกต์จะนำาส่วนประกอบต่าง ๆ เหล่านี้มาใช้เป็นส่วนประกอบของโปรแกรม
  • 45.
  • 46. สรุปหน้าที่ของ OS จุดประสงค์หลักการสร้าง OS เพื่ออำานวยความ สะดวกแก่ผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ โดยหน้าที่หลักมี ดังนี้  ติอต่อกับผู้ใช้(User Interface)  ควบคุมดูแลอุปกรณ์และการทำางานของเครื่อง คอมพิวเตอร์  จัดสรรทรัพยากรต่าง ๆ ในระบบ เช่น ซีพียู, หน่วยความจำา,อุปกรณ์อินพุต-เอาต์พุต, ข้อมูล เป็นต้น เพราะ  ทรัพยากรของระบบมีจำากัด โดยเฉพาะซีพียู
  • 47. Homework  จงหาชื่อของระบบปฏิบัติที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ดังต่อไป นี้ เครื่องเซิร์ฟเวอร์ เครื่องพีซี เครื่องแมคอินทอช อุปกรณ์พกพา เช่น เครื่อง PDA , โทรศัพท์มือถือ, Tablet ฯลฯ  เปรียบเทียบข้อแตกต่างของระบบปฏิบัติการ Windows 98, XP,ME, Seven ว่ามีข้อดีข้อด้อยอย่างไร หาภาพของ แต่ละรุ่นมาประกอบด้วย **ให้ทำาเป็นงานกลุ่ม จับกลุ่มไม่เกิน 3 คน พิมพ์ส่ง ใช้สันรูดเข้า เล่ม

Editor's Notes

  1. - ซอฟต์แวร์ที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจำเป็นต้องมีและเป็นซอฟต์แวร์ตัวแรกที่ต้องลงในเครื่องก่อนเสมอ จึงจะลงซอฟต์แวร์หลักที่ใช้งานประจำได้ - ระบบปฏิบัติการจะทำหน้าที่ในการบริหารจัดการฮาร์ดแวร์ให้กับโปรแกรมที่ใช้งานอยู่จะทำการแบ่งปันทรัพยากรต่าง ๆ เช่น การประมวลผล CPU พื้นที่หน่วยความจำ ให้กับโปรแกรมหลักที่กำลังใช้งานอยู่อย่างสมดุล เหมาะสม และพอเพียง