SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
จัดทำโดย
1.นายพงศทร คงมั่น ม.5.12 เลขที่6
2.นายสาริน ราชวงศ์ ม.5.12 เลขที่14
3.นายฑิตธามทัพพ์ รอดสุวรรณ์ ม.5.12 เลขที่18
4.นายฐิตินันท์ ไชยองค์การ ม.5.12 เลขที่19
5.นายวิศรุท วงค์ศรี ม.5.12 เลขที่36
เสนอ
คุณครูเตือนใจ ไชยศิลป์
โรงเรียนสำมัคคีวิทยำคม
อาณาจักรอิยิปต์โบราณเป็นอารยธรรมที่เก่าแก่และรุ่งเรืองมากแห่งหนึ่งของโลก
ชาวอิยิปต์มีพัฒนาการทางวิชาการที่ก้าวหน้า มีการสร้างสรรค์สิ่งก่อสร้างและ
ศิลปะ จนเป็นที่เลื่องลืองานศิลปะที่สาคัญได้แก่ การแกะสลักและงาน
สถาปัตยกรรมต่าง ๆ ชาว อียิปต์ได้พัฒนาศาสตร์ในสาขาต่างๆ ทั้งเรื่อง ดารา
ศาสตร์ คณิตศาสตร์ การแพทย์ และงานสร้างสรรรูปวาดทั้งที่วาดบนฝาผนัง หรือ
แผ่นพาไพรัส (papyrus) ผลงานที่จารึกบนแผ่นพาไพรัสมีชื่อเสียงเลื่องลือ
และเป็นที่บันทึกประวัติศาสตร์ได้ดี
บริเวณลุ่มแม่น้าไนล์ บริเวณที่มีการไหลบ่าของแม่น้าท่วมสองฝั่งในเดือนสิงหาคม ถึงตุลาคมเป็น
ประจาทุกปี เมื่อน้าลดโคลนตมที่พัดพามาจะตกตะกอนเป็นดินที่อุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การ
เพาะปลูก ความอุดมสมบูรณ์ของแม่น้าไนล์นี้ทาให้ชาวอียิปต์โบราณรวมตัวกันอยู่บริเวณสองฝั่ง
แม่น้าร่วมแรงร่วมใจกันสร้างระบบชลประทานเพื่อป้องกันน้าท่วม มีการสร้างทานบกั้นน้า ขุดคูน้าไป
ยังพื้นที่ที่ห่างไกล เกิดการรวมตัวของบ้านเรือนและพัฒนาเป็นนครรัฐ จนในที่สุดมีการรวมตัวเป็น
อาณาจักรใหญ่ 2 แห่ง คือ อียิปต์บน (Upper Egypt) อยู่บริเวณตอนบนของแม่น้าไนล์ระหว่าง
เขื่อนอัสวันและกรุงไคโรในปัจจุบัน โดยแม่น้าไนล์ไหลผ่านหุบเขา มีความยาวประมาณ 500 ไมล์ ทั้ง
สองฝั่งของแม่น้าไนล์ตอนนี้เป็นหน้าผาลาดกว้างไปจนสุดสายตา เต็มไปด้วยเนินเขาที่แห้งแล้ง มี
เนินทรายสีแดงและสีเหลืองเป็นตอนๆ และอียิปต์ล่าง (Lower Egypt) ที่แม่น้าไนล์แตกสาขา
ออกเป็นรูปพัดไหลลงสู่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน บริเวณนี้ชาวกรีกโบราณเรียกว่า เดลต้า เป็นบริเวณ
ปลายสุดของลาน้ามีความยาวประมาณ 200 ไมล์ และกว้างระหว่าง 6ถึง22 ไมล์ อารยธรรมโบราณ
ของอียิปต์ได้เจริญขึ้นในบริเวณแถบเดลต้านี้
แผนที่อารยธรรม
อียิปย์
1. สมัยก่อนราชวงศ์ (The Predynastic Period)
2. สมัยราชวงศ์ (The Dynastic Period)
3. สมัยภายใต้การปกครองของผู้รุกราน (The Period of Invasion)
แบ่งเป็น 1.อียิปต์บทปฐมกาล
2.อียิปต์ปลายยุคก่อนสมัยราชวงศ์
ทะเลทรายซาฮารายังเป็นดินแดนที่อุดมสมบูรณ์ เต็มไปด้วยสัตว์ป่าและพืช
พรรณนานาชนิด มนุษย์ที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ที่นี่ในช่วงแรกดารงชีวิตโดยการล่า
สัตว์ และทาปศุสัตว์จวบจนกระทั่งเมื่อราวเจ็ดพันปีก่อนการเปลี่ยนแปลง
ของสภาพอากาศ ทาให้ซาฮารา ค่อยๆแห้งแล้ง และกลายเป็นทะเลทราย
ในท้ายที่สุดก็เหลือแต่เพียงพื้นที่ริมสองฝั่งแม่น้าไนล์เท่านั้นที่ยังคงความ
สมบูรณ์อยู่ และเนื่องจากทุกปีแม่น้าไนล์จะพัดเอา ตะกอนหน้าดินมาถมฝั่ง
ทาให้พื้นดินแห่งนี้มีความสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก ผู้คนเริ่มอพยพ
จากพื้นที่รอบนอกเข้ามาจับจองพื้นที่ริมฝั่งแม่น้าและเริ่มมีการเพาะปลูกขึ้น
เผ่าชนเหล่านี้มาอาศัย รวมกันตามริมฝั่งแม่น้าไนล์และแบ่งเป็นกลุ่มต่างๆ
เรียกว่าโนมส์
ในแต่ละโนมส์จะปกครองโดยกลุ่มนักบวชซึ่งพัฒนามาจากหมอผีในสมัยหิน
ใหม่ ต่อมาความจาเป็นในการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ทาให้ต้องมีการจัดระบบ
ชลประทานขึ้น ชลประทานเหล่านี้ได้ถูกยกย่องให้เป็นหัวหน้านักรบของโนมส์
เมื่อขนาดของชุมชนใหญ่ขึ้นเรื่อยๆก็มีการพัฒนาเป็นนครรัฐขนาดเล็กกระจัด
กระจายตาม ริมฝั่งแม่น้าดินแดนของแม่น้าไนล์ถูกแบ่งตามสภาพภูมิศาสตร์เป็น
อียิปต์บนและอียิปต์ล่าง
เนื่องจากแม่น้าไนล์ไหลจากทางใต้ขึ้นสู่ทางเหนือ ดังนั้นอียิปต์บนจะตั้งอยู่ทางตอนใต้ของ
แม่น้าไนล์อันเป็นทิศที่แม่น้าไหลมาพื้นที่ส่วนนี้มี ทุ่งหญ้าและเขตป่าละเมาะที่เหมาะแก่การ
ล่าสัตว์และทาปศุสัตว์ ส่วนอียิปต์ล่างจะตั้งบริเวณทิศเหนือซึ่งเป็นจุดที่แม่น้าไหลลงทะเล
และมีพื้นที่ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้า ที่สมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูกในช่วงเวลานั้น
อียิปต์ล่างมีเมืองการค้าและศูนย์กลางที่สาคัญชื่อว่า บูโท ส่วนทางอียิปต์บนพลเมืองจะ
อาศัยอยู่หนาแน่นบริเวณเมืองนากาดา และเฮียราคอนโพลิส ในราวสี่พันปีก่อนคริสตกาล
ชาวอียิปต์เริ่มพัฒนารูปแบบอักษรจากรูปภาพ และกลายเป็นอักษรเฮียโรกลิฟฟิคในเวลา
ต่อมา
กาเนิดแห่งอาณาจักร ในราว 3200ปี
ก่อนคริสตกาล ราชาแมงป่อง
(Scorpion king) ผู้ครองนครธีส
(This) อันตั้งอยู่บริเวณตอนกลางแห่ง
ลุ่มน้าไนล์ได้กรีฑาทัพ เข้ายึดครองนคร
รัฐต่างๆในอียิปต์บนและตั้งตนเป็น
ฟาโรห์แห่งอาณาจักรบน ราชาแมงป่อง
ปรารถนาจะรวมอียิปต์เข้าด้วยกันแต่
พระองค์สิ้นพระชนม์เสียก่อน
ราชาแมงป่อง
โอรสของพระองค์ (ข้อนี้นักประวัติศาสตร์ยังไม่แน่ใจนักแต่จากหลักฐานที่
มีแสดงว่าทั้งสองพระองค์น่าจะเกี่ยวดองกัน) นามว่า นาเมอร์
(Namer)ได้สานต่อนโยบายและกรีฑาทัพเข้าโจมตีอียิปต์ล่าง
จนกระทั่งมาถึงสมัยของ ฟาโรห์เมเนส(Menese)พระองค์สามารถ
ผนวกทั้งสองอาณาจักรเข้าด้วยกันได้สาเร็จและ สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็น
ฟาโรห์พระองค์แรกของอียิปต์โดยตั้งเมืองหลวงที่ เมมฟิส (Memphis)
ซึ่งอยู่ตอนกลางของลุ่มน้าไนล์ ฟาโรห์เมเนสเป็นฟาโรห์องค์แรกแห่ง
ราชวงศ์ที่หนึ่งของอียิปต์โบราณ
แบ่งเป็น 1สมัยอาณาจักรเก่า
2สมัยอาณาจักรกลาง
3สมัยอาณาจักรใหม่ (สมัยอาณาจักรใหม่)
2700ถึง2200ปีก่อนค.ศ. ฟาโรห์ปกครองมีอานาจสูงสุดทรงเป็นผู้
สืบเชื้อสายจากดวงอาทิตย์การปกครองเรียกระบบเทวาธิปไตย มี
ขุนนาง ช่วยดูแล สมัยนี้นิยมสร้างปิรามิดๆที่สาคัญคือที่เมืองกิเซห์
ที่ใหญ่ที่สุดคือปิรามิดของฟาโรห์คูฟู สร้างเมื่อ 2500 ปีก่อนค.ศ.
สูง 481 ฟุต คลุมพื้นที่ 32 ไร่ครึ่ง ใช้แรงงาน 1แสนคน สร้าง 20ปี
มีปิรามิดทั้งหมดประมาณ60แห่ง เรียงรายอยู่ทางฝั่งตะวันตกใกล้
แม่น้าไนล์ จากความเชื่อว่าวิญญาณเป็นอมตะและจะปกปัก
รักษาอาณาจักรอียิปต์จึงมีการเก็บรักษาศพไม่ให้เน่าเปื่อยโดย
การทาเป็นมัมมี่ แล้วดองและพันด้วยผ้าลินิน
ปิรามิดเป็นที่สถานที่เก็บศพของคนตายในอารยธรรมนั้น
เพราะคนอียิปต์เชื่อกันว่าคนตายสามารถกลับมามีชีวิตใหม่
ได้หลังความตาย ปิรามิดในอียิปต์มีอยู่70แห่ง
ยกตัวอย่างปิรามิด เช่น
ปิรามิดคีเฟรน(Khafra)
ปิรามิดของพระเจ้าฟาโรห์คีออพส์ เป็นต้น
2050-1800 ปีก่อนค.ศ. หลังจากอาณาจักรเก่าสิ้นสุด
ลงเกิดความระส่าระสาย กษัตริย์ราชวงศ์ที่ 12 รวม
อียิปต์เป็นปึกแผ่นย้ายราชธานีมาอยู่ที่เมือง ธิบส์ ทาง
อียิปต์บน มีการขุดคลองเชื่อมแม่น้าไนล์ ต่อมาถูกพวก
ฮิกซอสรุกรานและปกครองอียอปต์เป็นเวลา 110 ปี ฮิกซอส
1580ถึง1090 ปีก่อนค.ศ. ค.ศ.1600ปีก่อน ค.ศ. เจ้าชายอา
โมสขับไล่พวก ฮิกซอสจากอียิปต์ ตั้งราชวงศ์ที่18 ใน
คริสต์ศตวรรษที่7 มีการเขียนคัมภีร์ของคนตาย(Book of
the Dead)ใส่ไว้ในที่ฝังศพ เพื่อบันทึกความดีขอองผู้ตาย
มีการบูชาเทพโอซิริส นับถือฟาโรห์เป็นเทพเจ้า ทาให้ฟาโรห์
มีอานาจปกครองเด็ดขาด มีการเปลี่ยนอักษรไฮโรกลิฟิกเป็น
อักษรหวัดเรียก อักษรฮีราติกบันทึกเรื่องราวทั่วไป ศตวรรษที่
12 ก่อน ค.ศ. ถูกเผ่าอัสซีเรียน เปอร์เซีย กรีก โรมัน รุกราน
ตามลาดับ ต่อมามีการนับถือศาสนาอิสลาม
Book of
the
dead
สมัยภายใต้การปกครองของผู้รุกราน 940 B.C. เรื่อยมา สมัยนี้ชนภายนอกปกครอง
อียิปต์โบราณเป็นระยะเวลายาวนานกล่าวคือ
1 ลิบยาน (Libyans) ปกครองระหว่าง 940-710 B.C. ตั้งราชวงศ์ที่ 22-24
2 เอธิโอเปียน (Ethiopians) ปกครองระหว่าง 736-657 B.C. ตั้งราชวงศ์ที่ 25
3 อัสซีเรียน (Assyrians) ปกครองระหว่าง 664-525 B.C.
4 เปอร์เซียน (Perians) ปกครองระหว่าง 525-404 B.C.
5 เปอร์เซียนปกครองอียิปต์ครั้งที่สองระหว่าง 341-332 B.C.
6 กรีก (Greeks) ปกครองระหว่าง 332-30 B.C.
ปิรามิด สฟิงซ์
รูปปั้น/
รูปหล่อ ภาพ
แกะสลัก
ฝาผนัง
รูปวาดฝา
ผนัง
มีการเก็บศพ ในสุสานขนาดใหญ่ที่เรียกว่า “มัมมี่”
หลายพันปีมาแล้ว ชาวอียิปต์โบราณได้คิดค้นวิธีที่จะ
รักษาสภาพศพให้สมบูรณ์ เพื่อรอคอยการเกิดใหม่ของ
ดวงวิญญาณ การทามัมมี่จึงถือกาเนิดขึ้นด้วย
วัตถุประสงค์นี้คาว่า "มัมมี่" (Mummy) เชื่อกันว่ามา
จากคาว่า มัมมียะ (Mummiya) คาในภาษาเปอร์
เชียซึ่งหมายถึงร่างของศพที่ถูกทาให้มีสีดา
การทาปฏิทิน
อียิปต์โบราณรู้จักการทาปฏิทินโดยยึดหลักสุริยคติ
กล่าวคือ1ปีมี12เดือน30 วัน อีก5วันสุดท้ายถูกกาหนดเพื่อการ
เฉลิมฉลองการกาหนดฤดูถือตามหลักความเป็นไปของ
ธรรมชาติ การที่ชาวอียิปต์โบราณรู้จักการทาปฏิทินนี้เป็นส่วน
หนึ่งที่ชี้ชัดความเจริญและความสามารถโดยแท้จริง
คณิตศาสตร์
ได้วางรากฐานหลักวิชาเลขคณิตและเรขาคณิต รู้จักการ
บวก ลบ หาร แต่ยังไม่รู้จักวิธีคูณ โดยเฉพาะด้านเรขาคณิต
กล่าวคือ สามารถคานวณหาพื้นที่ของสามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม
คางหมูและวงกลมได้ ตลอดจนชานาญในการวัดที่ดิน รู้จัก
คานวณหาปริมาตรของปิรามิด ค้นพบเลขระบบทศนิยม
ค้นพบ ¶ ( Pie)
บรรณำนุกรม
อำรยธรรมอียิปต์ .เข้าถึงได้
จาก:https://sites.google.com/site/social8002/home/pr
awatisastr-xarythrrm-xiyipt. (วันที่ค้นข้อมูล 11 กันยายน 2560).
“สุพรรณิกา แซ่ฟุ้ง”. ประวัติศำสตร์สำกล .เข้าถึงได้จาก
https://suphannigablog.wordpress.com/%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%97%E0%B
8%B5%E0%B9%88-
2/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%95%E0%
B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%81/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A2
%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%A5%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B9%81%E0%B8
%A1%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B9%84%E0%B8%99%E0%B8%A5%E0%B9%8C/%E0%B8%AD%E
0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%B5%E0%B8%
A2%E0%B8%B4%E0%B8%9B%E0%B8%95%E0%B9%8C/.(วันที่ค้นข้อมูล 11กันยายน 2560)
“ชิราวรรณ บุนนาค และคณะ”.2557.ประวัติศาสตร์สากล.ครั้งที่3.กรุงเทพฯ:
สานักพิมพ์ สกสค.ลาดพร้าว.

More Related Content

What's hot

อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
พัน พัน
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
Kran Sirikran
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบทคัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
Visanu Khumoun
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
Suphatsara Amornluk
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Kittichai Pinlert
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
timtubtimmm
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทยวิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทย
naykulap
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
teerachon
 

What's hot (20)

Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
 
แผ่นพับโครงงาน
แผ่นพับโครงงานแผ่นพับโครงงาน
แผ่นพับโครงงาน
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบทคัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
 
การเปรียบเทียบความเข้มข้นของวิตามินซีในผลไม้
การเปรียบเทียบความเข้มข้นของวิตามินซีในผลไม้ การเปรียบเทียบความเข้มข้นของวิตามินซีในผลไม้
การเปรียบเทียบความเข้มข้นของวิตามินซีในผลไม้
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ทดสอบภูมิศาสตร์กายภาพ
ทดสอบภูมิศาสตร์กายภาพทดสอบภูมิศาสตร์กายภาพ
ทดสอบภูมิศาสตร์กายภาพ
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทยวิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทย
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
 
โครงงานพัดลม
โครงงานพัดลมโครงงานพัดลม
โครงงานพัดลม
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
 

Similar to อารยธรรมอียิปต์ (6)

Japan
JapanJapan
Japan
 
Ex01
Ex01Ex01
Ex01
 
Ex01
Ex01Ex01
Ex01
 
รุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขรุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุข
 
อารยธรรมจีน1
อารยธรรมจีน1อารยธรรมจีน1
อารยธรรมจีน1
 
ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้
ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้
ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้
 

อารยธรรมอียิปต์