SlideShare a Scribd company logo
การเขียนคาสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
1.ลักษณะการทางานของภาษาซี
ภาษาซีเป็นภาษาที่มีการพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง ภาษาซีรุ่นแรก
ทางานภายใต้ระบบปฏิบัติการคอส ปัจจุบันทางานภายใต้ระบบปฏิบัติการ
วินโดวส์ ภาษาซีใช้วิธีแปลรหัสคาสั่งให้เป็นเลขฐานสอง
เรียกว่า คอมไพเลอร์ การศึกษาภูมิหลังการเป็นมาของภาษาซีและ
กระบวนการแปลภาษาจะช่วยให้ผู้ใช้ภาษาซีในรุ่นและบริษัทผู้ผลิตแตกต่าง
กัน สามารถใช้ภาษาได้อย่างเข้าใจมากขึ้น
1.1.ความเป็นมาของภาษาซี
ภาษาซีได้รับการพัฒนาเมื่อปี ค.ศ.1972 โดยนายเดนนิส ริตซี่ ตั้งชื่อ
ว่าซีเพราะพัฒนามาจากภาษา BCLP และภาษา B ในช่วงแรกใช้ทดลองเขียน
คาสั่งควบคุมในห้องปฏิบัติการเบลเท่านั้น เมื่อปี ค.ศ.1978 นายไบร
อัน เคอร์นิกฮัน และ นายเดนนิส ริตซี่ ร่วมกันกาหนดนิยามรายละเอียดของ
ภาษาซี เผยแพร่ความรู้โดยจัดทาหนังสือ มีหลายบริษัท ให้ความสนใจนาไป
พัฒนาต่อ จนมีภาษาซีหลายรูปแบบและแพร่หลายไปทั่วโลก แต่ยังไม่มี
มาตรฐานคาสั่งเพื่อให้สามารถใช้งานร่วมกันได้ดังนั้นเมื่อปี ค.ศ.1988 นาย
ริตซี่ ได้ร่วมกับสถาบันกาหนดมาตรฐาน ANSI สร้างมาตรฐานภาษาซีขึ้นมา
มีผลให้โปรแกรมคาสั่งที่สร้างด้วยภาษาซีสังกัด
1.2 การทางานของตอมไพเลอร์ภาษาซี
คอมไพเลอร์ เป็นโปรแกรมที่ได้รับการพัฒนามาเพื่อแปลลภาษา
คอมพิวเตอร์รูปแบบหนึ่งมักใช้กับโปรแกรมเชิงโครงสร้าง ลักษณะการ
แปลจะอ่านรหัสคาสั่งทั้งโปรแกรมตั้งแต่บรรทัดคาสั่งแรกถึงบรรทัดสุดท้าย
กระบวนการคอมไพเลอร์โปรแกรมคาสั่งของภาษาซี มีดังนี้
1.จัดทาโปรแกรมต้นฉบับ
2.การแปลรหัสคาสั่งเป็นภาษาเครื่องหรือการบิวด์
3.การเชื่อมโยงโปรแกรม ภาษาซีมีฟังก์ชันมาตรฐานให้ใช้งาน
2.ส่วนประกอบโครงสร้างภาษาซี
โปรแกรมที่เขียนด้วยภาษา C จะมีโครงสร้างอย่างง่าย 3 ส่วน ดังนี้
1. ส่วนนี้เรียกว่า ก่อนการประมวลผลเป็นส่วนที่คอมไพเลอร์จะ
จัดการก่อนที่จะเข้ากระบวนการคอมไพล์โปรแกรม มักจะขึ้นต้นด้วย..
(#) #include,#define ฯลฯ
2. int x = 2; ส่วนของการประกาศตัวแปร แบบ Global เป็นการ
ประกาศตัวแปรในตอนต้น ก่อนการเรียกใช้ฟังก์ชั่น main ซึ่งสามารถ
เรียกใช้ได้ทั้งโปรแกรม (ฟังก์ชั่นอื่นๆก็สามารถมองเห็นตัวแปรนี้ได้)
ทั้งนี้อาจจะยังไม่ประกาศก็ได้หากยังไม่มีการใช้งานmain() {
3. เป็นฟังก์ชั่นเริ่มต้นในการเขียนโปรแกรมภาษาซี ที่ซึ่งจะ
เริ่มต้นทางาน และปีกกาเปิด-ปิด หมายถึงการเริ่มต้นและจบ
ฟังก์ชั่น นั่นคือ { เริ่ม ฟังก์ชั่น และ } จบฟังก์ชั่น} ภายใน
ฟังก์ชั่นเมนนี้ก็จะมีฟังก์ชั่นหรือคาสั่ง ต่าง ๆ อยู่
สิ่งควรรู้เป็นเบื้องต้นของภาษาซี
1. ขอบเขตของฟังก์ชั่น จะเริ่มต้นด้วยเครื่องหมาย{ และสิ้นสุดขอบเขตด้วยเครื่องหมาย }
2. คาสั่งแต่ละคาสั่งจะต้องจบด้วยเครื่องหมาย; (semicolon)
3. ชื่อฟังก์ชั่นและคาสั่งต่าง ๆ ในภาษาซีจะต้องใช้ตัวอักษรพิมพ์เล็ก
4. ชื่อตัวแปรจะใช้ตัวอักษรพิมพ์เล็ก หรือตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ก็ได้ แต่ภาษา C จะถือว่าตัวอักษร
พิมพ์เล็กพิมพ์ใหญ่ต่างกัน
เรามารู้จักภาษาซีกันเลย
คาสั่งที่ว่านี้คือ printf เป็นคาสั่งสาหรับแสดงผลข้อความออกทางหน้าจอ
นั่นคือคาสั่ง printf จะนาข้อความที่อยู่ใน ( ) ออกมาแสดงผลออกทางหน้าจอ โดยข้อความ
เหล่านั้นจะต้องอยู่ระหว่างเครื่องหมาย " " ด้วย
3. คาสั่งจัดเก็บข้อมูลลงหน่วยความจา
การจัดเก็บข้อมูลลงหน่วยความจาคอมพิวเตอร์ ภาษากาหนดให้ดาเนินการผ่านซื้อ
(identifier) ที่ผู้สร้างงานโปรแกรมเป็นผู้กาหนดเอง ระบบคอมพิวเตอร์จะจัดเก็บชื่อและตาแหน่งที่
อยู่ (address) ในหน่วยความจา เพื่ออ้างอิงนาข้อมูลที่จัดเก็บนั้นมาใช้งาน การกาหนดชื่อที่ใช้เก็บ
ข้อมูลต้องทาภายใต้กฎเกณฑ์ และต้องศึกษาวิธีกาหนดลักษณะการจัดเก็บข้อมูลที่ภาษากาหนดไว้
ลักษณะการจัดเก็บข้อมูลมี 2 แบบคือ แบบค่าคงที่และแบบตัวแปร ทั้งนี้ก่อนที่จะเขียนคาสั่ง
กาหนดการจัดเก็บข้อมูล ควรมีความรู้ในเรื่องชนิดข้อมูลก่อน
3.1 ชนิดข้อมูลแบบพื้นฐาน
การจัดเก็บข้อมูลลงหน่วยความจาทั้งแบบค่าคงที่หรือแบบตัวแปร ต้องกาหนดชนิดข้อมูลให้
ระบบรับทราบ ในที่นี้กล่าวถึงชนิดข้อมูลแบบพื้นฐาน 3 กลุ่มหลักเท่านั้น
Char -128 ถึง 127 เก็บข้อมูลแบบอักขระ
Int -32768 ถึง 32767 เก็บข้อมูลแบบตัวเลขจานวนเต็ม
Float 3.4 x 10 ถึง 3.4 x 10 เก็บข้อมูลแบบตัวเลขทศนิยม
3. คาสั่งจัดเก็บข้อมูลลงหน่วยความจา
3.2 คาสั่งจัดเก็บข้อมูลแบบค่าคงที่
ประสิทธิภาพคาสั่ง : ลักษณะการจัดเก็บข้อมูลในหน่วยความจาไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้
3.3คาสั่งจัดเก็บข้อมูลตัวแปร
ประสิทธิภาพคาสั่ง :ลักษณะการจัดเก็บข้อมูลในหน่วยความจาสามารถเปลี่ยนแปลงได้
4.คาสั่งควบคุมการทางานขั้นพื้นฐาน
คาสั่งที่ใช้ควบคุมการทางานขั้นพื้นฐานมี 3 กลุ่มใหญ่คือ
4.1 คาสั่งแสดงผล printf ( )
ประสิทธิภาพคาสั่ง : ใช้แสดงผลสิ่งต่อไปนี้เช่น ข้อความ ข้อมูลจากค่าคงที่ หรือตัวแปลที่จอภาพ
4.2 คาสั่งรับข้อมูล
คาสั่งรับข้อมูล : รับข้อมูลจากแป้นพิมพ์แล้วจัดเก็บลงหน่วยความจา ของตัวแปล
4.3 คาสั่งประมวลผล expreeion
ประสิทธิภาพคาสั่ง : เขียนคาสั่งแบบนิพจน์เพื่อประมวลผล แล้วนาข้อมูลทีได้ไปจัดเก็บใน
หน่วยความจาของตัวแปล ที่ต้องกาหนดชื่อและชนิดข้อมูลไว้แล้ว
5. การแสดงผลและการรับข้อมูล
คำสั่งในกำรแสดงผลออกทำง
หน้ำจอ
คำสั่งในกำรรับข้อมูลจำกคีย์บอร์ด
1. คำสั่ง printf() 1. คำสั่ง scanf()
2. คำสั่ง putchar()
2. คำสั่ง getchar() และ
getch()
3. คำสั่ง puts() 3. คำสั่ง gets()
แสดงผลออกทางหน้าจอ
การแสดงผลข้อมูลออกทางหน้าจอสามารถทาได้ง่าย โดยเรียกใช้คาสั่งหรือฟังก์ชันมาตรฐานที่
ภาษาซีเตรียมไว้ให้ใช้
คาสั่ง printf()
คาสั่ง printf ถือว่าเป็นคาสั่งพื้นฐานที่สุดในการแสดงผลข้อมูลทุกชนิดออกทางหน้าจอ ไม่ว่าจะ
เป็นจานวนเต็ม( int ) , ทศนิยม ( float ) , ข้อความ ( string ) หรืออักขระ นอกจากนี้คาสั่งยังมีความ
ยืดหยุ่นสูง โดยเราสามาถกาหนดหรือจัดรูปแบบการแสดงผลให้มีระเบียบหรือเหมาะสมตามความ
ต้อง การได้อีกด้วย รูปแบบการเรียกใช้คาสั่ง printf แสดงได้ดังนี้
PRINTF(“ FORMAT ” , VARIABLE);
format : ข้อมูลที่ต้องการแสดงออกทางหน้าจอโดยข้อมูลนี้ต้องเขียนไว้ในเครื่องหมาย “ ” ข้อมูลที่
สามารถแสดงผลได้มีอยู่ 2 ประเภท คือ ข้อความธรรมดา และค่าที่เก็บไว้ในตัวแปร ซึ่งถ้าเป็นค่าที่เก็บ
ไว้ในตัวแปรต้องใส่รหัสควบคุมรูปแบบให้ตรงกับชนิดของข้อมูลที่เก็บไว้ ในตัวแปรนั้น
ด้วย variable: ตัวแปรหรือนิพจน์ที่ต้องการนาค่าไปแสดงผลให้ตรงกับรหัสควบคุมรูปแบบที่กาหนด
ไว้
รหัสควบคุมรูปแบบการแสดงผลค่าของตัวแปรออกทางหน้าจอ แสดงได้ดังนี้
รหัสควบคุมรูปแบบ การนาไปใช้งาน
%d สาหรับแสดงผลค่าของตัวแปรชนิดจานวนเต็ม( int, short,
unsigned short, long, unsigned long)
%u สาหรับแสดงผลตัวเลขจานวนเต็มบวก ( unsigned short,
unsigned long )
%o สาหรับแสดงผลออกมาในรูปแบบของเลขฐานแปด
%x สาหรับแสดงผลออกมาในรูปแบบของเลขฐานสิบหก
%f สาหรับแสดงผลค่าของตัวแปรชนิดจานวนทศนิยม( float,
double, long double )
%e สาหรับแสดงผลตัวเลขทศนิยมออกมาในรูปแบบของ ( E หรือ
e ) ยกกาลัง ( float, double, long double )
%c สาหรับแสดงผลอักขระ 1 ตัว ( char )
%s สาหรับแสดงผลข้อความ( string หรืออักขระมากกว่า 1 ตัว)
%p สาหรับแสดงผลตัวชี้ตาแหน่ง ( pointer )
แสดงผลให้เป็นระเบียบด้วยอักขระควบคุมการแสดงผล
นอกจากนี้เรายังสามารถจัดรูปแบบการแสดงผลให้ดูเป็นระเบียบมากขึ้น เช่น การขึ้นบรรทัด
ใหม่หลังแสดงข้อความ หรือเว้นระยะแท็บระหว่างข้อความ โดยใช้อักขระควบคุมการแสดงผลร่วมกับ
คาสั่ง printf ในภาษาซีมี อักขระควบคุมการแสดงผลหลายรูปแบบด้วยกัน ดังแสดงต่อไปนี้
อักขระควบคุมการแสดงผล ความหมาย
n ขึ้นบรรทัดใหม่
t เว้นช่องว่างเป็นระยะ 1 แท็บ (6 ตัวอักษร)
r กาหนดให้เคอร์เซอร์ไปอยู่ต้นบรรทัด
f เว้นช่องว่างเป็นระยะ 1 หน้าจอ
b ลบอักขระสุดท้ายออก 1 ตัว
ควบคุมขนาดพื้นที่แสดงผล
ตามปกติในการแสดงผลโปรแกรมจะเตรียมพื้นที่ให้พอดีกับข้อความ เช่น ถ้าจะแสดงข้อความ
HELLO ซึ่งมี 5 ตัวอักษร โปรแกรมจะจัดเตรียมพื้นที่ไว้ให้พอดีสาหรับ 5 ตัวอักษร ดังแสดงรูป
ต่อไปนี้
แต่เราสามารถเพิ่มพื้นที่ในการแสดงผลได้ตามต้องการ เช่น กาหนดให้แสดงข้อความHELLO ใน
พื้นที่ขนาด 8 ตัวอักษร โปรแกรมจะแสดงข้อความชิดด้านขวาของพื้นที่ที่จองไว้โดยจะเว้นพื้นที่ว่าง
ทางด้านซ้ายอีก 3 ช่องที่เหลือเอาไว้ดังรูป
H E L L O
H E L L O
วิธีกาหนดขนาดพื้นที่การแสดงผล
ให้ใส่ตัวเลขขนาดของพื้นที่ที่ต้องการไว้หลังเครื่องหมาย % ในรหัสควบคุมรูปแบบ ดังแสดง
ตัวอย่างต่อไปนี้
ควบคุมตาแหน่งตัวเลขหลังจุดทศนิยม
นอกจากนี้ในการแสดงผลตัวเลขหลังจุดทศนิยม ตามปกติถ้าไม่ได้กาหนดค่าใด ๆ
เพิ่มเติม เมื่อใช้รหัสควบคุมรูปแบบ %f โปรแกรมจะแสดงตัวเลขทศนิยมทั้งหมด 6 ตาแหน่ง ในกรณี
ที่เราต้องการตัดให้แสดงตัวเลขหลังจุดทศนิยมเท่าที่จาเป็น (เช่น 2 หรือ 3 ตาแหน่ง) ก็สามารถ
กาหนดค่าเพิ่มไปกับรหัสควบคุมรูปแบบได้ดังต่อไปนี้
% . nf
n : จำนวนตัวเลขหลังจุดทศนิยมที่ต้องกำรให้แสดงผล
คาสั่ง PUTCHAR()
ในการแสดงผลตัวอักษรหรืออักขระ ( char ) ออกทางหน้าจอ นอกจากใช้คาสั่ง printf พร้อมกับ
กาหนดรหัสควบคุมรูปแบบ %c แล้ว เราสามารถเรียกใช้คาสั่งสาหรับแสดงตัวอักษรหรืออักขระ
โดยเฉพาะได้อีกด้วย โดยคาสั่งนั้นคือ คาสั่ง putchar() ซึ่งมีรูปแบบการเรียกใช้คาสั่ง ดังแสดงต่อไปนี้
putchar(ch);
ch : ตัวอักษรหรืออักขระเขียนอยู่ภำยในเครื่องหมำย ‘c' หรือตัวแปรชนิด char
คาสั่ง PUTS()
เป็นคาสั่งสาหรับแสดงผลข้อความออกทางหน้าจอ มีรูปแบบการใช้คาสั่งดังนี้
puts(str);
str : ข้อควำมซึ่งเขียนอยู่ภำยในเครื่องหมำย “ ” หรือตัวแปรที่เก็บข้อมูลชนิดข้อควำม
การรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด
การ ทางานของโปรแกรมส่วนใหญ่มักจะเป็นการเชื่อมโยงกับผู้ใช้แบบ 2 ทิศทาง นั่นก็คือ ทั้ง
ภาคของแสดงผลการทางานออกทางหน้าจอ และภาคของการรับข้อมูลจากผู้ใช้เข้ามาทางคีย์บอร์ด เพื่อ
ร่วมในการประมวลผลของโปรแกรม ซึ่งในภาคของการรับข้อมูลจากผู้ใช้ภาษาซีกาหนดคาสั่งและ
ฟังก์ชันมาตรฐานเอาไว้ให้เรียกใช้แล้ว เช่นเดียวกับภาคของการแสดงผล รายละเอียดของคาสั่งเหล่านี้
ได้แก่ คาสั่ง scanf() คาสั่ง getchar() และ getch() คาสั่ง gets()
6. ตัวแปรชนิดข้อความในภาษาซี
ในภาษาซีจะไม่มีข้อมูลชนิดข้อความโดยเฉพาะ ซึ่งในการเขียน โปรแกรมส่วนใหญ่
จาเป็นต้องมีการรับข้อมูลที่เป็นข้อความ เราสามารถใช้ตัวแปรข้อมูลชนิดอักขระหลายๆ ตัวมาใช้งาน
ได้ในระดับหนึ่ง แต่ยังไม่สะดวกเมื่อข้อความมีความยาวมาก
ตัวอย่าง เช่น ต้องการใช้ข้อความว่า Hello สามารถใช้ตัวแปรชนิดอักขระ 5 ตัวแทน
char ch1='H',ch2='e',ch3='l',ch4='l',ch5='o';
ตัวแปรชนิดข้อความในภาษาซี คือ การนาอักษรมาเรียนต่อกันดังนั้นสามารถสร้างตัวแปรชนิด
อักขระเรียงต่อกันหลาย ๆ ตัวให้เป็นตัวแปรชนิดแถวลาดับ ทาให้สามารถใช้เก็บข้อมูลชนิดข้อความ
ได้
โดยตัวแปรชนิดข้อความในภาษาซีจะอยู่ในเครื่องหมาย Double quote " "
7. กรณีศึกษาการใช้คาสั่งควบคุมพื้นฐาน
7.1 กรณีศึกษาคาสั่งควบคุมพื้นฐาน ดาเนินงานข้อมูลประเภทตัวแปร
โจทย์ จงเขียนโปรแกรมให้ประมวลผลหาผลรวมเลข 2 จานวนตามที่ผู้ใช้ป้อนเข้าระบบ
ตัวอย่างโปรแกรม 2.8
กรณีศึกษาระบบงานคานวณหาผลรวมเลข 2 จานวน
ผลทดสอบโปรแกรมตัวอย่างที่ 2.8
แนวคิดในการเขียนคาสั่งควบคุมงาน
1. ประกาศพรีโปรเซสเซอร์ไดเร็กทีฟ #include<stdio.h>ระบุไลบารีควบคุมคาสั่ง
2. เขียนหมายเหตุ(remark) เช่น /* calulate//cal1.c */ชื่อแฟ้มงานที่จัดเก็บโปรแกรมนี้
3. กาหนดชื่อหน่วยความจาประเภทตัวแปรและชนิดข้อมูลที่จัดเก็บในที่นี้คือ int n1,n2,result,
4. พิมพ์หัวข้อรายงานของโปรแกรมระบบงานนี้ เช่น printf(“*Calculaye Add*nn);” n คือ
เลือนเคอร์เซอร์ขึ้นบรรทัดใหม่
5. ส่วนป้อนข้อมูลเข้าระบบ เขียนคาสั่งควบคุม
printf(“Key number1 = ”); scanf(“%d,&n1”);printf(“Key number2 = ”); scanf(“%d,&n2”);
ผลลัพท์คือ Key number1= (ป้อนข้อมูลตัวเลขจานวนเต็ม)
Key number2= (ป้อนข้อมูลตัวเลขจานวนเต็ม)
6. ส่วนเขียนนิพจน์เพื่อประมวลผลสมการ เช่นresult=n1+n2;นาค่าตัวแปร n1 กับ n2 บวกกันแล้ว
เก็บในตัวแปรชื่อ result
7. ส่วนแสดงผล ที่เก็บไว้ในตัวแปรนิพจน์ เช่นprintf(“n**Result=%d n”,result);
(เลื่อนเคอร์เซอร์ขึ้นบรรทัดใหม่แล้วพิมพ์**Result=ตามด้วยค่าresult ที่เป็นตัวเลขจานวนเต็ม%d แล้ว
ขึ้นบรรทัดใหม่)
7.2 กรณีศึกษาการใช้คาสั่งควบคุมพื้นฐาน ดาเนินงานข้อมูลประเภทค่าคงที่
โจทย์ จงเขียนโปรแกรมให้ประมวลผลสองเท่าของสมการผลบวกของเลข 2 จานวนที่ผู้ใช้ป้อนเข้าสู่ระบบ
ตัวอย่างโปรแกรมที่ 2.9
กรณีศึกษาโปรแกรมระบบงานคานวณหาสองเท่าของผลรวมเลข2จานวน
ผลการทดสอบโปรแกรมที่ 2.9
7.3 กรณีศึกษาการใช้คาสั่งควบคุมพื้นฐานดาเนินงานข้อมูลประเภททศนิยม
โจทย์ จงเขียนโปรแกรมควบคุมการทางานให้สามารถรับข้อมูลชื่อนักศึกษาและคะแนน เพื่อ
ประมวลผลหาคะแนนร้อยละของคะแนนนั้น กาหนดให้การสอบครั้งนี้มีคะแนนเต็ม 250 คะแนน
ผลการทดสอบโปรแกรมตัวอย่างที่ 2.10
สมาชิกในกลุ่มที่ 2
นายปกรณ์ บุญญะฐี เลขที่ 1
นางสาวบวรรัตน์ จิตรบวรวงศ์ เลขที่ 13
นางสาวรุ่งนภา คาตา เลขที่ 26
นางสาวศิริมาส ปั้นหลวง เลขที่ 27
นางสาวพรนารี เหมหงษา เลขที่ 32
นางสาวภิรุฬกาญจน์ ใสยะลา เลขที่ 35
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2

More Related Content

What's hot

การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
Visaitus Palasak
 
บทที่ 2
บทที่  2  บทที่  2
บทที่ 2
1118192239
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีNattapon
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C
0872671746
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++
Naowarat Jaikaroon
 
การใช้สูตรหาพื้นที่ ด้วย Dev++
การใช้สูตรหาพื้นที่ ด้วย Dev++การใช้สูตรหาพื้นที่ ด้วย Dev++
การใช้สูตรหาพื้นที่ ด้วย Dev++
Ooy's Patchaya
 
บทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปรบทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปร
Komkai Pawuttanon
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Thank Chiro
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานNookky Anapat
 
ตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซีตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซีboky_peaw
 
C Programming
C ProgrammingC Programming
C Programming
Warawut
 
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
Ratchanok Nutyimyong
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
choco336
 
ภาษา C#
ภาษา C#ภาษา C#
ภาษา C#
ictyangtalad
 
โปรแกรม ภาษาซี
โปรแกรม ภาษาซีโปรแกรม ภาษาซี
โปรแกรม ภาษาซี
finverok
 
โครงสร้างภาษาซี
โครงสร้างภาษาซีโครงสร้างภาษาซี
โครงสร้างภาษาซี
Patipat04
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่  5ใบความรู้ที่  5
ใบความรู้ที่ 5SubLt Masu
 

What's hot (20)

การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
 
บทที่ 2
บทที่  2  บทที่  2
บทที่ 2
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++
 
การใช้สูตรหาพื้นที่ ด้วย Dev++
การใช้สูตรหาพื้นที่ ด้วย Dev++การใช้สูตรหาพื้นที่ ด้วย Dev++
การใช้สูตรหาพื้นที่ ด้วย Dev++
 
งานน
งานนงานน
งานน
 
C lu
C luC lu
C lu
 
บทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปรบทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปร
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
ตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซีตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซี
 
C Programming
C ProgrammingC Programming
C Programming
 
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
ภาษา C#
ภาษา C#ภาษา C#
ภาษา C#
 
โปรแกรม ภาษาซี
โปรแกรม ภาษาซีโปรแกรม ภาษาซี
โปรแกรม ภาษาซี
 
โครงสร้างภาษาซี
โครงสร้างภาษาซีโครงสร้างภาษาซี
โครงสร้างภาษาซี
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่  5ใบความรู้ที่  5
ใบความรู้ที่ 5
 

Similar to การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน

การเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมการเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุม
ศุภวิชย์ เยี่ยมดี
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
Itslvle Parin
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
Itslvle Parin
 
ภาษาซึี
ภาษาซึีภาษาซึี
ภาษาซึี
Theethawach Wannabundit
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานVi Vik Viv
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
Ja Phenpitcha
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
BoOm mm
 
รายงาน PHP - Know2pro.com
รายงาน PHP - Know2pro.comรายงาน PHP - Know2pro.com
รายงาน PHP - Know2pro.com
Know Mastikate
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
Nattawut Pornonsung
 
ภาษาC
ภาษาCภาษาC
ภาษาC
Tharathep Chumchuen
 
lesson 4
lesson 4lesson 4
lesson 4
Monberry NooNan
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1SubLt Masu
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานKEk YourJust'one
 

Similar to การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน (20)

การเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมการเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุม
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
 
ภาษาซึี
ภาษาซึีภาษาซึี
ภาษาซึี
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
Basic
BasicBasic
Basic
 
12
1212
12
 
รายงาน PHP - Know2pro.com
รายงาน PHP - Know2pro.comรายงาน PHP - Know2pro.com
รายงาน PHP - Know2pro.com
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
ภาษาC
ภาษาCภาษาC
ภาษาC
 
lesson 4
lesson 4lesson 4
lesson 4
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
Pbl2 docx
Pbl2 docxPbl2 docx
Pbl2 docx
 
Pbl2 docx
Pbl2 docxPbl2 docx
Pbl2 docx
 

การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน