SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
แนวทางการใช้ประโยชน์ของพืช GMOS

        การตัดต่อยีนเป็นเทคโนโลยีที่นักวิทยาศาสตร์ได้วิจัยและ
พัฒนามาจากองค์ความรู้ที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต เป็นเทคนิคที่
รวมอยู่ในเทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) ซึ่งเกี่ยวข้องกับ
การนำาสิ่งมีชีวิต เช่น เซลล์ เนื้อเยื่อ หรือจุลินทรีย์ มาใช้ในการ
สร้างผลิตภัณฑ์หรือกระบวนการต่างๆที่เป็นประโยชน์ต่อมนุษย์
หากสามารถปรับปรุงสิ่งมีชีวิตเหล่านี้ ให้มีประสิทธิภาพสูงโดยการ
ตัดต่อยีน ย่อมส่งผลให้ประสิทธิภาพการผลิตด้านเทคโนโลยี
ชีวภาพดียิ่งขึ้นกว่าเดิม แนวทางการใช้ประโยชน์ที่เห็นได้ชัดคือ
ด้านการเกษตร เทคนิคการตัดต่อยีนสามารถแก้ปัญหาที่เป็นข้อ
จำากัดทางด้านการผลิตทางการเกษตรได้อย่างกว้างขวาง เช่น
        1. การเพิ่มผลผลิตโดยการพัฒนาพันธุ์พืชหรือสัตว์ที่ให้
ผลผลิตสูง การผลิตอาหารให้เพียงพอต่อความต้องการของ
ประชากรโลก เป็นสิ่งที่สังคมโลกมีความวิตกกังวล จากการคาด
การณ์ของสหประชาชาติ ประชากรโลกมีการเพิ่ม 9,000 คนต่อ
ชั่วโมง ถ้าเริมจาก ค.ศ. 2000 ซึ่งมีประชากร 6,000 ล้านคน ในปี
                ่
ค.ศ. 2020 ประชากรโลกจะเพิ่มเป็น 10,000 ล้านคน ประมาณ
ครึ่งหนึ่งของจำานวนประชากรนี้อาศัยอยูในแถบทวีปเอเชีย หาก
                                           ่
ไม่มีการเตรียมการที่เหมาะสมย่อมส่งผลให้เกิดการขาดแคลน
อาหารในระยะเวลาไม่นานนัก
        2. การลดต้นทุนการผลิต การผลิตทางการเกษตรในปัจุ
        บันนี้มีการใช้สารเคมีเพื่อการ
กำาจัดแมลงศัตรูพืช และโรคพืช ในอัตราค่อนข้างสูง เกษตรกรราย
ย่อยมักจะประสบปัญหาเรื่องการขาดแคลนทุนทรัพย์ในการจัดหา
ปัจจัยการผลิตหรือประสบภาวะ การขาดทุนเพราะต้นทุนการผลิต
สูง ยิ่งไปกว่านั้นสารเคมีที่ใช้ในการกำาจัดศัตรูพืช มีผลเสียต่อ
สภาพแวดล้อม และสุขภาพอนามัยของเกษตรกรผู้ผลิตและผู้
บริโภคเป็นอย่างมาก การนำาเทคโนโลยีด้านการตัดต่อยีนมาใช้
เพื่อผลิตพันธุ์พืชที่ต้านทานต่อโรค หรือแมลงศัตรูพืช จึงเป็นการ
ช่วยลดต้นทุนการผลิต ลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร ส่งผลดี
ต่อสภาพแวดล้อมและความเป็นอยู่ของประชากรโลก
          3. การรักษาสภาพแวดล้อมและอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ ในด้านการเกษตร หากเกษตรกรสามารถ
เพิ่มผลผลิตทางการเกษตรได้สูงขึ้น ขณะเดียวกันลดต้นทุนด้าน
การผลิตลง ทำาให้ผู้ผลิตสามารถผลิตในพื้นที่เดิมได้ต่อไปโดยไม่
ต้องตัดไม้ทำาลายป่าเพื่อเพิ่มพื้นที่การเพาะปลูก นับว่าเป็นการ
รักษาป่าและสภาพแวดล้อมได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ เทคโนโลยี
สามารถเอื้อต่อการอนุรักษ์พันธุ์พืช หรือสัตว์ที่หายาก หรือใกล้จะ
สู.พันธุ์ โดยการนำามาเพิ่มปริมาณหรืออนุรักษ์ไว้ในรูปแบบที่
เหมาะสม

More Related Content

What's hot

การปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้ต้านทานต่อโรคไหม้ PPT
การปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้ต้านทานต่อโรคไหม้ PPTการปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้ต้านทานต่อโรคไหม้ PPT
การปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้ต้านทานต่อโรคไหม้ PPTJetsadakorn Luangmanee
 
เทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพเทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพweerabong
 
5 เทคโนโลยีชีวภาพ
5 เทคโนโลยีชีวภาพ5 เทคโนโลยีชีวภาพ
5 เทคโนโลยีชีวภาพMelody Minhyok
 
ความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยี
ความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยีความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยี
ความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยีnattieboice
 
Gmoในความคิดของฉัน
GmoในความคิดของฉันGmoในความคิดของฉัน
GmoในความคิดของฉันNataya Kanyaboon
 
ชัยวัฒน์
ชัยวัฒน์ชัยวัฒน์
ชัยวัฒน์mam2541
 
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.peter dontoom
 
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชdnavaroj
 

What's hot (18)

Gmo
GmoGmo
Gmo
 
Genetic
GeneticGenetic
Genetic
 
การปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้ต้านทานต่อโรคไหม้ PPT
การปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้ต้านทานต่อโรคไหม้ PPTการปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้ต้านทานต่อโรคไหม้ PPT
การปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้ต้านทานต่อโรคไหม้ PPT
 
เทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพเทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพ
 
5 เทคโนโลยีชีวภาพ
5 เทคโนโลยีชีวภาพ5 เทคโนโลยีชีวภาพ
5 เทคโนโลยีชีวภาพ
 
แขไข
แขไขแขไข
แขไข
 
พืช Gmo222
พืช  Gmo222พืช  Gmo222
พืช Gmo222
 
Gmo ที่อยากจะรู้
Gmo ที่อยากจะรู้Gmo ที่อยากจะรู้
Gmo ที่อยากจะรู้
 
ความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยี
ความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยีความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยี
ความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยี
 
Gmo
GmoGmo
Gmo
 
เทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพเทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพ
 
Gmoในความคิดของฉัน
GmoในความคิดของฉันGmoในความคิดของฉัน
Gmoในความคิดของฉัน
 
ชัยวัฒน์
ชัยวัฒน์ชัยวัฒน์
ชัยวัฒน์
 
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
 
พืช Gmo222
พืช  Gmo222พืช  Gmo222
พืช Gmo222
 
พืช Gmo222
พืช  Gmo222พืช  Gmo222
พืช Gmo222
 

Similar to ประโยชน์

Similar to ประโยชน์ (12)

Gmoต้นฉบับ
Gmoต้นฉบับGmoต้นฉบับ
Gmoต้นฉบับ
 
เทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพเทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพ
 
Curri 02 11
Curri 02 11Curri 02 11
Curri 02 11
 
พืช Gmo222
พืช  Gmo222พืช  Gmo222
พืช Gmo222
 
พืช Gmo222
พืช  Gmo222พืช  Gmo222
พืช Gmo222
 
พืช Gmo222
พืช  Gmo222พืช  Gmo222
พืช Gmo222
 
TINT RD AgriFood Research (Mar 2023)
TINT RD AgriFood Research (Mar 2023)TINT RD AgriFood Research (Mar 2023)
TINT RD AgriFood Research (Mar 2023)
 
Flora improvement
Flora improvementFlora improvement
Flora improvement
 
ความรู้ทั่วไป4
ความรู้ทั่วไป4ความรู้ทั่วไป4
ความรู้ทั่วไป4
 
ความรู้ทั่วไป3
ความรู้ทั่วไป3ความรู้ทั่วไป3
ความรู้ทั่วไป3
 
ความรู้ทั่วไป4
ความรู้ทั่วไป4ความรู้ทั่วไป4
ความรู้ทั่วไป4
 
ความรู้ทั่วไป
ความรู้ทั่วไปความรู้ทั่วไป
ความรู้ทั่วไป
 

ประโยชน์

  • 1. แนวทางการใช้ประโยชน์ของพืช GMOS การตัดต่อยีนเป็นเทคโนโลยีที่นักวิทยาศาสตร์ได้วิจัยและ พัฒนามาจากองค์ความรู้ที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต เป็นเทคนิคที่ รวมอยู่ในเทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) ซึ่งเกี่ยวข้องกับ การนำาสิ่งมีชีวิต เช่น เซลล์ เนื้อเยื่อ หรือจุลินทรีย์ มาใช้ในการ สร้างผลิตภัณฑ์หรือกระบวนการต่างๆที่เป็นประโยชน์ต่อมนุษย์ หากสามารถปรับปรุงสิ่งมีชีวิตเหล่านี้ ให้มีประสิทธิภาพสูงโดยการ ตัดต่อยีน ย่อมส่งผลให้ประสิทธิภาพการผลิตด้านเทคโนโลยี ชีวภาพดียิ่งขึ้นกว่าเดิม แนวทางการใช้ประโยชน์ที่เห็นได้ชัดคือ ด้านการเกษตร เทคนิคการตัดต่อยีนสามารถแก้ปัญหาที่เป็นข้อ จำากัดทางด้านการผลิตทางการเกษตรได้อย่างกว้างขวาง เช่น 1. การเพิ่มผลผลิตโดยการพัฒนาพันธุ์พืชหรือสัตว์ที่ให้ ผลผลิตสูง การผลิตอาหารให้เพียงพอต่อความต้องการของ ประชากรโลก เป็นสิ่งที่สังคมโลกมีความวิตกกังวล จากการคาด การณ์ของสหประชาชาติ ประชากรโลกมีการเพิ่ม 9,000 คนต่อ ชั่วโมง ถ้าเริมจาก ค.ศ. 2000 ซึ่งมีประชากร 6,000 ล้านคน ในปี ่ ค.ศ. 2020 ประชากรโลกจะเพิ่มเป็น 10,000 ล้านคน ประมาณ ครึ่งหนึ่งของจำานวนประชากรนี้อาศัยอยูในแถบทวีปเอเชีย หาก ่ ไม่มีการเตรียมการที่เหมาะสมย่อมส่งผลให้เกิดการขาดแคลน อาหารในระยะเวลาไม่นานนัก 2. การลดต้นทุนการผลิต การผลิตทางการเกษตรในปัจุ บันนี้มีการใช้สารเคมีเพื่อการ กำาจัดแมลงศัตรูพืช และโรคพืช ในอัตราค่อนข้างสูง เกษตรกรราย ย่อยมักจะประสบปัญหาเรื่องการขาดแคลนทุนทรัพย์ในการจัดหา ปัจจัยการผลิตหรือประสบภาวะ การขาดทุนเพราะต้นทุนการผลิต สูง ยิ่งไปกว่านั้นสารเคมีที่ใช้ในการกำาจัดศัตรูพืช มีผลเสียต่อ สภาพแวดล้อม และสุขภาพอนามัยของเกษตรกรผู้ผลิตและผู้ บริโภคเป็นอย่างมาก การนำาเทคโนโลยีด้านการตัดต่อยีนมาใช้ เพื่อผลิตพันธุ์พืชที่ต้านทานต่อโรค หรือแมลงศัตรูพืช จึงเป็นการ ช่วยลดต้นทุนการผลิต ลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร ส่งผลดี ต่อสภาพแวดล้อมและความเป็นอยู่ของประชากรโลก 3. การรักษาสภาพแวดล้อมและอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ ในด้านการเกษตร หากเกษตรกรสามารถ เพิ่มผลผลิตทางการเกษตรได้สูงขึ้น ขณะเดียวกันลดต้นทุนด้าน
  • 2. การผลิตลง ทำาให้ผู้ผลิตสามารถผลิตในพื้นที่เดิมได้ต่อไปโดยไม่ ต้องตัดไม้ทำาลายป่าเพื่อเพิ่มพื้นที่การเพาะปลูก นับว่าเป็นการ รักษาป่าและสภาพแวดล้อมได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ เทคโนโลยี สามารถเอื้อต่อการอนุรักษ์พันธุ์พืช หรือสัตว์ที่หายาก หรือใกล้จะ สู.พันธุ์ โดยการนำามาเพิ่มปริมาณหรืออนุรักษ์ไว้ในรูปแบบที่ เหมาะสม