SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
เพลงคำำนำม คำำ
สรรพนำม
ทำำนองเพลงบ้ำนเรือน
เคียงกัน
พวกเรำจงมำ สนุกเฮฮำเพลินเพลง
เรำร่วมร้องเพลง กันให้ครื้นเครง
ยินดี
เรื่องของคำำนำม อย่ำมัวชักช้ำรอรี
ซึ่งเป็นคำำที่ เรียกชื่อกันไป
ชื่อคน ชื่อสัตว์ สิ่งของ สถำนที่ไป
กำร ควำม นำำหน้ำไง อำกำรนำมนั่นเอง
อีกพวกหนึ่งคือ นำมรวมหมู่ควรจำำ
เหล่ำ พวก ฝูง นั่น อยู่ข้ำงหน้ำอย่ำเปลี่ยน
ที่
หำกอยู่ข้ำงหลัง เปลี่ยนไปทันที
ซึ่งคือคำำที่ บอกลักษณะคำำนำม
ส่วนอีกคำำนำ สรรพนำมนั้นหนำที่มี
ซึ่งทำำหน้ำที่ แทนคำำนำมที่อยู่ข้ำง
หน้ำ
เธอ คุณ ท่ำน มัน บ้ำง อะไร ใคร
นำ
โน่น นี่ นั่น ข้ำ คือสรรพนำมควรจำำ
สื่อประกอบกำร
สอนสำำหรับครู
ตัวอย่ำงแถบ
ประโยค
สุนัขกัดคนข้ำงบ้ำน สุนัข
จึงถูกตี
คุณพ่อขับรถยนต์ไปทำำงำนที่โรงงำน
คุณพ่อขับเร็วมำก
นักเรียนชั้นประถมศึกษำปีที่ ๔ มำ
โรงเรียนแต่เช้ำเพรำะ
พวกเขำรีบมำทำำกิจกรรม
วิชำเป็นคนขยัน เขำชอบทำำงำน
ตอนกลำงคืน
คำำนำม ได้แก่ สุนัข บ้ำน คุณพ่อ โรงงำน
คำำสรรพนำม ได้แก่ มัน ท่ำน พวกเขำ เขำ
สื่อประกอบกำร
สอนสำำหรับครู
ใบความรู้สำาหรับ
ครู
คำานาม
คำาที่ใช้เรียกชื่อคน สัตว์ สิ่งของ สภาพธรรมชาติ สถานที่ต่าง ๆ
ทั้งที่เป็นสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต
ทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม เรียกว่า คำานาม ดังนี้
1. คำานามสามัญ
อ่านและพิจารณาประโยคต่อไปนี้
1) พ่อ แม่ ลูกช่วยกันใส่บาตร
2) หลายประเทศในโลกมีเศรษฐกิจดีขึ้น
3) กล้วยเป็นต้นไม้สารพัดประโยชน์
4) กล้วยตานีมีลำาต้นตรง ใบยาวสีเขียวเข้ม
5) คุณยายชอบรับประทานมะม่วงกับข้าวสวย
6) มะม่วงเขียวเสวยมีรสชาติอร่อย
7) นกกำาลังบินกลับรัง
8) น้องอยากเลี้ยงนกขุนทอง
คำาที่พิมพ์ตัวหนาในประโยคตัวอย่างข้างต้น เป็นคำานามทั่วไป
เรียกว่า คำานามสามัญ
2. คำานามวิสามัญ
อ่านและพิจารณาประโยคต่อไปนี้
1) นักท่องเที่ยวชอบไปชมวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม
2) กล้วยตานีมีถิ่นกำาเนิดอยู่ทางตอนใต้ของประเทศอินเดีย
3) วันอาทิตย์หน้าเราจะปลูกกล้วยในสวน
4) ลูกสาวของหทัยชื่อหอม
คำาที่พิมพ์ตัวหนาในประโยคตัวอย่างข้างต้นคือ พระเชตุพนวิมล
มังคลาราม อินเดีย อาทิตย์ หทัย
หอม เป็นคำาที่ตั้งขึ้นเพื่อเป็นชื่อเฉพาะของคน สัตว์์ สิ่งของ และสถาน
ที่ เรียกว่าคำานามวิสามัญ
๓. คำานามบอกลักษณะ (ลักษณนาม)
อ่านและพิจารณาประโยคต่อไปนี้
1) ท้ายสวนกล้วยมีบ้าน ๕ หลัง
2) ผู้หญิง ๒ คนนั้นหน้าตาคล้ายกันราวกับฝาแฝด
3) ฝูงชนวิ่งกรูเข้าไปเก็บเมล็ดพันธุ์ข้าวที่ลานพิธีแรกนาขวัญ
4) กรรมการคณะนี้กำาลังประชุมพิจารณาผลการสอบของ
นักเรียน
คำาที่พิมพ์ตัวหนา คือ หลัง คน ฝูง คณะ เป็นคำาลักษณนาม
บอกลักษณะของคำานาม
สามัญ คือ บ้าน ผู้หญิง ชน กรรมการ
ตัวอย่างคำาลักษณะนามอื่นๆ เช่น คน เล่ม อัน ชิ้น สาย แท่ง
กระบอก ซี่ กลุ่ม โขลง หมู่ กอง
ชุด พวก เหล่า ทะลาย ฯลฯ
๔. คำานามบอกอาการ (อาการนาม)
อ่านและพิจารณาประโยคต่อไปนี้
๑) การสลักกาบกล้วย เป็นงานฝีมือของคนไทย
๒) กล้วยหอมไม่มีความลับกับเพื่อนรัก
คำาที่พิมพ์ตัวหนาในประโยคตัวอย่างข้างต้น เป็นคำานามที่เกิดจาก
การแปลงคำากริยาให้เป็นคำานาม
มักมีคำาว่า การ หรือ ความ นำาหน้า เช่น การพูด การเขียน ความรัก
ความเมตตา ฯลฯ เรียกว่า อาการนาม
หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน ชุดภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที ชั้น
ประถมศึกษาปีที่ ๖
กระทรวงศึกษาธิการ
ใบความรู้สำาหรับ
ครู
คำาสรรพนาม
คำาสรรพนาม
คำาที่ใช้แทนคำานาม เรียกว่า คำาสรรพนาม ซึ่งในการพูดหรือเขียน
เมื่อใช้คำานามคำาใดคำาหนึ่ง
และจะกล่าวถึงคำานั้นๆ ในโอกาสต่อไป มักนำาคำาสรรพนามมาใช้แทน
อ่านและพิจารณาประโยคต่อไปนี้
1) วันนี้คุณยายไม่สอนฉันเย็บกระทง เพราะท่านไม่สบาย
2) คุณมีความเห็นเหมือนเขาหรือไม่
คำาว่า ฉัน ท่าน คุณ เขา เป็นคำาสรรพนามใช้แทนผู้พูด ผู้ฟังและ
ผู้ที่ถูกกล่าวถึง เรียกว่า
คำาสรรพนามแทนบุคคล หรือคำาบุรุษสรรพนาม มีคำาอื่นๆ อีก เช่น
ดิฉัน ผม อาตมา ข้าพเจ้า ฯลฯ แทนผู้พูด
พระองค์ โยม เธอ ท่าน แก ฯลฯ แทนผู้ฟัง
เขา เธอ มัน ท่าน ใคร ฯลฯ แทนผู้ที่ถูกกล่าวถึง
3) นั่นต้นอะไร
คำาว่า นั่น เป็นคำาสรรพนามที่บอกความหมายเฉพาะเจาะจง
เรียกว่า คำาสรรพนาม
ชี้เฉพาะ มีคำาอื่นๆ อีกคือ นี่ โน่น นู่น นี้ นั้น โน้น นู้น
4) เขาไม่เคยทำาความเดือดร้อนให้ใครเลย
คำาว่า ใคร เป็นสรรพนามที่มีความหมายทั่วๆ ไป ไม่เจาะจง
เรียกว่า คำาสรรพนาม
ไม่ชี้นเฉพาะ มีคำาอื่นๆ อีก เช่น อะไร ไหน ผู้หนึ่งผู้ใด
5) ใครเอาต้นกล้วยมาโยนทิ้ง
คำาว่า ใคร เป็นคำาสรรพนามที่ใช้เป็นคำาถามที่ต้องการคำาตอบ
เรียกว่า คำาสรรพนาม
ถาม มีคำาอื่นๆ อีก เช่น อะไร ไหน
6) คนไทยสมัยก่อนต่างก็รู้จักใช้ระโยชน์จากต้นกล้วย
คำาว่า ต่าง เป็นคำาสรรพนามใช้เพื่อแยกคำานามออกเป็นส่วนๆ
เรียกว่า คำาสรรพนาม
แยกฝ่าย มีคำาอื่นๆ อีกคือ บ้าง กัน
หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน ชุดภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที ชั้น
ประถมศึกษาปีที่ ๖
กระทรวงศึกษาธิการ
คำำว่ำ นั่น เป็นคำำสรรพนำมที่บอกควำมหมำยเฉพำะเจำะจง
เรียกว่ำ คำำสรรพนำม
ชี้เฉพำะ มีคำำอื่นๆ อีกคือ นี่ โน่น นู่น นี้ นั้น โน้น นู้น
4) เขำไม่เคยทำำควำมเดือดร้อนให้ใครเลย
คำำว่ำ ใคร เป็นสรรพนำมที่มีควำมหมำยทั่วๆ ไป ไม่เจำะจง
เรียกว่ำ คำำสรรพนำม
ไม่ชี้นเฉพำะ มีคำำอื่นๆ อีก เช่น อะไร ไหน ผู้หนึ่งผู้ใด
5) ใครเอำต้นกล้วยมำโยนทิ้ง
คำำว่ำ ใคร เป็นคำำสรรพนำมที่ใช้เป็นคำำถำมที่ต้องกำรคำำตอบ
เรียกว่ำ คำำสรรพนำม
ถำม มีคำำอื่นๆ อีก เช่น อะไร ไหน
6) คนไทยสมัยก่อนต่ำงก็รู้จักใช้ระโยชน์จำกต้นกล้วย
คำำว่ำ ต่ำง เป็นคำำสรรพนำมใช้เพื่อแยกคำำนำมออกเป็นส่วนๆ
เรียกว่ำ คำำสรรพนำม
แยกฝ่ำย มีคำำอื่นๆ อีกคือ บ้ำง กัน
หนังสือเรียนสำระกำรเรียนรู้พื้นฐำน ชุดภำษำเพื่อชีวิต ภำษำพำที ชั้น
ประถมศึกษำปีที่ ๖
กระทรวงศึกษำธิกำร

More Related Content

What's hot

ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทยvp12052499
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยbambookruble
 
เรียนรู้เรื่อง Phrase วลี หรือกลุ่มคำ
เรียนรู้เรื่อง Phrase วลี หรือกลุ่มคำเรียนรู้เรื่อง Phrase วลี หรือกลุ่มคำ
เรียนรู้เรื่อง Phrase วลี หรือกลุ่มคำSiriporn Sonangam
 
สรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netสรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netWarissa'nan Wrs
 
เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1Aon Narinchoti
 
แผ่นพับการสร้างคำ
แผ่นพับการสร้างคำแผ่นพับการสร้างคำ
แผ่นพับการสร้างคำKORKORAWAN
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยKittitus Sa-admoang
 
แกรมม่า 33 หน้า
แกรมม่า 33 หน้าแกรมม่า 33 หน้า
แกรมม่า 33 หน้าTriwat Talbumrung
 

What's hot (17)

ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
คำสมาส
คำสมาสคำสมาส
คำสมาส
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
เรียนรู้เรื่อง Phrase วลี หรือกลุ่มคำ
เรียนรู้เรื่อง Phrase วลี หรือกลุ่มคำเรียนรู้เรื่อง Phrase วลี หรือกลุ่มคำ
เรียนรู้เรื่อง Phrase วลี หรือกลุ่มคำ
 
สรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netสรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-net
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1
 
แผ่นพับการสร้างคำ
แผ่นพับการสร้างคำแผ่นพับการสร้างคำ
แผ่นพับการสร้างคำ
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
แกรมม่า 33 หน้า
แกรมม่า 33 หน้าแกรมม่า 33 หน้า
แกรมม่า 33 หน้า
 
Th 2014-01-01
Th 2014-01-01Th 2014-01-01
Th 2014-01-01
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
thai Research
thai  Researchthai  Research
thai Research
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
นุกูล
นุกูลนุกูล
นุกูล
 

Similar to 4.ใบความรู้แผน ๑ หน่วย ๒

คำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยคำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยSiraporn Boonyarit
 
งานชนิดของคำ
งานชนิดของคำงานชนิดของคำ
งานชนิดของคำspeedpiyawat
 
Kam
KamKam
Kamsa
 
คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)perunruk
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษาsukuman139
 
ลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทยลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทยSiraporn Boonyarit
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิTongsamut vorasan
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิTongsamut vorasan
 
บาลี 01 80
บาลี 01 80บาลี 01 80
บาลี 01 80Rose Banioki
 
1 01 บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01 บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ1 01 บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01 บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิTongsamut vorasan
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิWataustin Austin
 

Similar to 4.ใบความรู้แผน ๑ หน่วย ๒ (20)

คำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยคำในภาษาไทย
คำในภาษาไทย
 
งานชนิดของคำ
งานชนิดของคำงานชนิดของคำ
งานชนิดของคำ
 
คำสรรพนาม
คำสรรพนามคำสรรพนาม
คำสรรพนาม
 
ชนิดของคำ
ชนิดของคำชนิดของคำ
ชนิดของคำ
 
Kam
KamKam
Kam
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
Intro computer
Intro  computerIntro  computer
Intro computer
 
คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
ลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทยลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทย
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
Kitaya2013 tabletnotest
Kitaya2013 tabletnotestKitaya2013 tabletnotest
Kitaya2013 tabletnotest
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 
บาลี 01 80
บาลี 01 80บาลี 01 80
บาลี 01 80
 
1 01 บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01 บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ1 01 บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01 บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 

4.ใบความรู้แผน ๑ หน่วย ๒

  • 1. เพลงคำำนำม คำำ สรรพนำม ทำำนองเพลงบ้ำนเรือน เคียงกัน พวกเรำจงมำ สนุกเฮฮำเพลินเพลง เรำร่วมร้องเพลง กันให้ครื้นเครง ยินดี เรื่องของคำำนำม อย่ำมัวชักช้ำรอรี ซึ่งเป็นคำำที่ เรียกชื่อกันไป ชื่อคน ชื่อสัตว์ สิ่งของ สถำนที่ไป กำร ควำม นำำหน้ำไง อำกำรนำมนั่นเอง อีกพวกหนึ่งคือ นำมรวมหมู่ควรจำำ เหล่ำ พวก ฝูง นั่น อยู่ข้ำงหน้ำอย่ำเปลี่ยน ที่ หำกอยู่ข้ำงหลัง เปลี่ยนไปทันที ซึ่งคือคำำที่ บอกลักษณะคำำนำม ส่วนอีกคำำนำ สรรพนำมนั้นหนำที่มี ซึ่งทำำหน้ำที่ แทนคำำนำมที่อยู่ข้ำง หน้ำ เธอ คุณ ท่ำน มัน บ้ำง อะไร ใคร นำ โน่น นี่ นั่น ข้ำ คือสรรพนำมควรจำำ สื่อประกอบกำร สอนสำำหรับครู
  • 2. ตัวอย่ำงแถบ ประโยค สุนัขกัดคนข้ำงบ้ำน สุนัข จึงถูกตี คุณพ่อขับรถยนต์ไปทำำงำนที่โรงงำน คุณพ่อขับเร็วมำก นักเรียนชั้นประถมศึกษำปีที่ ๔ มำ โรงเรียนแต่เช้ำเพรำะ พวกเขำรีบมำทำำกิจกรรม วิชำเป็นคนขยัน เขำชอบทำำงำน ตอนกลำงคืน คำำนำม ได้แก่ สุนัข บ้ำน คุณพ่อ โรงงำน คำำสรรพนำม ได้แก่ มัน ท่ำน พวกเขำ เขำ สื่อประกอบกำร สอนสำำหรับครู
  • 3. ใบความรู้สำาหรับ ครู คำานาม คำาที่ใช้เรียกชื่อคน สัตว์ สิ่งของ สภาพธรรมชาติ สถานที่ต่าง ๆ ทั้งที่เป็นสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต ทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม เรียกว่า คำานาม ดังนี้ 1. คำานามสามัญ อ่านและพิจารณาประโยคต่อไปนี้ 1) พ่อ แม่ ลูกช่วยกันใส่บาตร 2) หลายประเทศในโลกมีเศรษฐกิจดีขึ้น 3) กล้วยเป็นต้นไม้สารพัดประโยชน์ 4) กล้วยตานีมีลำาต้นตรง ใบยาวสีเขียวเข้ม 5) คุณยายชอบรับประทานมะม่วงกับข้าวสวย 6) มะม่วงเขียวเสวยมีรสชาติอร่อย 7) นกกำาลังบินกลับรัง 8) น้องอยากเลี้ยงนกขุนทอง คำาที่พิมพ์ตัวหนาในประโยคตัวอย่างข้างต้น เป็นคำานามทั่วไป เรียกว่า คำานามสามัญ 2. คำานามวิสามัญ อ่านและพิจารณาประโยคต่อไปนี้ 1) นักท่องเที่ยวชอบไปชมวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม 2) กล้วยตานีมีถิ่นกำาเนิดอยู่ทางตอนใต้ของประเทศอินเดีย 3) วันอาทิตย์หน้าเราจะปลูกกล้วยในสวน 4) ลูกสาวของหทัยชื่อหอม คำาที่พิมพ์ตัวหนาในประโยคตัวอย่างข้างต้นคือ พระเชตุพนวิมล มังคลาราม อินเดีย อาทิตย์ หทัย หอม เป็นคำาที่ตั้งขึ้นเพื่อเป็นชื่อเฉพาะของคน สัตว์์ สิ่งของ และสถาน ที่ เรียกว่าคำานามวิสามัญ
  • 4. ๓. คำานามบอกลักษณะ (ลักษณนาม) อ่านและพิจารณาประโยคต่อไปนี้ 1) ท้ายสวนกล้วยมีบ้าน ๕ หลัง 2) ผู้หญิง ๒ คนนั้นหน้าตาคล้ายกันราวกับฝาแฝด 3) ฝูงชนวิ่งกรูเข้าไปเก็บเมล็ดพันธุ์ข้าวที่ลานพิธีแรกนาขวัญ 4) กรรมการคณะนี้กำาลังประชุมพิจารณาผลการสอบของ นักเรียน คำาที่พิมพ์ตัวหนา คือ หลัง คน ฝูง คณะ เป็นคำาลักษณนาม บอกลักษณะของคำานาม สามัญ คือ บ้าน ผู้หญิง ชน กรรมการ ตัวอย่างคำาลักษณะนามอื่นๆ เช่น คน เล่ม อัน ชิ้น สาย แท่ง กระบอก ซี่ กลุ่ม โขลง หมู่ กอง ชุด พวก เหล่า ทะลาย ฯลฯ ๔. คำานามบอกอาการ (อาการนาม) อ่านและพิจารณาประโยคต่อไปนี้ ๑) การสลักกาบกล้วย เป็นงานฝีมือของคนไทย ๒) กล้วยหอมไม่มีความลับกับเพื่อนรัก คำาที่พิมพ์ตัวหนาในประโยคตัวอย่างข้างต้น เป็นคำานามที่เกิดจาก การแปลงคำากริยาให้เป็นคำานาม มักมีคำาว่า การ หรือ ความ นำาหน้า เช่น การพูด การเขียน ความรัก ความเมตตา ฯลฯ เรียกว่า อาการนาม
  • 5. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน ชุดภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที ชั้น ประถมศึกษาปีที่ ๖ กระทรวงศึกษาธิการ ใบความรู้สำาหรับ ครู คำาสรรพนาม คำาสรรพนาม คำาที่ใช้แทนคำานาม เรียกว่า คำาสรรพนาม ซึ่งในการพูดหรือเขียน เมื่อใช้คำานามคำาใดคำาหนึ่ง และจะกล่าวถึงคำานั้นๆ ในโอกาสต่อไป มักนำาคำาสรรพนามมาใช้แทน อ่านและพิจารณาประโยคต่อไปนี้ 1) วันนี้คุณยายไม่สอนฉันเย็บกระทง เพราะท่านไม่สบาย 2) คุณมีความเห็นเหมือนเขาหรือไม่ คำาว่า ฉัน ท่าน คุณ เขา เป็นคำาสรรพนามใช้แทนผู้พูด ผู้ฟังและ ผู้ที่ถูกกล่าวถึง เรียกว่า คำาสรรพนามแทนบุคคล หรือคำาบุรุษสรรพนาม มีคำาอื่นๆ อีก เช่น ดิฉัน ผม อาตมา ข้าพเจ้า ฯลฯ แทนผู้พูด พระองค์ โยม เธอ ท่าน แก ฯลฯ แทนผู้ฟัง เขา เธอ มัน ท่าน ใคร ฯลฯ แทนผู้ที่ถูกกล่าวถึง 3) นั่นต้นอะไร
  • 6. คำาว่า นั่น เป็นคำาสรรพนามที่บอกความหมายเฉพาะเจาะจง เรียกว่า คำาสรรพนาม ชี้เฉพาะ มีคำาอื่นๆ อีกคือ นี่ โน่น นู่น นี้ นั้น โน้น นู้น 4) เขาไม่เคยทำาความเดือดร้อนให้ใครเลย คำาว่า ใคร เป็นสรรพนามที่มีความหมายทั่วๆ ไป ไม่เจาะจง เรียกว่า คำาสรรพนาม ไม่ชี้นเฉพาะ มีคำาอื่นๆ อีก เช่น อะไร ไหน ผู้หนึ่งผู้ใด 5) ใครเอาต้นกล้วยมาโยนทิ้ง คำาว่า ใคร เป็นคำาสรรพนามที่ใช้เป็นคำาถามที่ต้องการคำาตอบ เรียกว่า คำาสรรพนาม ถาม มีคำาอื่นๆ อีก เช่น อะไร ไหน 6) คนไทยสมัยก่อนต่างก็รู้จักใช้ระโยชน์จากต้นกล้วย คำาว่า ต่าง เป็นคำาสรรพนามใช้เพื่อแยกคำานามออกเป็นส่วนๆ เรียกว่า คำาสรรพนาม แยกฝ่าย มีคำาอื่นๆ อีกคือ บ้าง กัน หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน ชุดภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที ชั้น ประถมศึกษาปีที่ ๖ กระทรวงศึกษาธิการ
  • 7. คำำว่ำ นั่น เป็นคำำสรรพนำมที่บอกควำมหมำยเฉพำะเจำะจง เรียกว่ำ คำำสรรพนำม ชี้เฉพำะ มีคำำอื่นๆ อีกคือ นี่ โน่น นู่น นี้ นั้น โน้น นู้น 4) เขำไม่เคยทำำควำมเดือดร้อนให้ใครเลย คำำว่ำ ใคร เป็นสรรพนำมที่มีควำมหมำยทั่วๆ ไป ไม่เจำะจง เรียกว่ำ คำำสรรพนำม ไม่ชี้นเฉพำะ มีคำำอื่นๆ อีก เช่น อะไร ไหน ผู้หนึ่งผู้ใด 5) ใครเอำต้นกล้วยมำโยนทิ้ง คำำว่ำ ใคร เป็นคำำสรรพนำมที่ใช้เป็นคำำถำมที่ต้องกำรคำำตอบ เรียกว่ำ คำำสรรพนำม ถำม มีคำำอื่นๆ อีก เช่น อะไร ไหน 6) คนไทยสมัยก่อนต่ำงก็รู้จักใช้ระโยชน์จำกต้นกล้วย คำำว่ำ ต่ำง เป็นคำำสรรพนำมใช้เพื่อแยกคำำนำมออกเป็นส่วนๆ เรียกว่ำ คำำสรรพนำม แยกฝ่ำย มีคำำอื่นๆ อีกคือ บ้ำง กัน หนังสือเรียนสำระกำรเรียนรู้พื้นฐำน ชุดภำษำเพื่อชีวิต ภำษำพำที ชั้น ประถมศึกษำปีที่ ๖ กระทรวงศึกษำธิกำร