SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
หลวงวิจิตรวาทการ
จัดทำโดย
นำงสำว นิติยำภรณ์ จีระออน
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5/1 เลขที่ 21
เสนอ
อำจำรย์ สฤษดิ์ศักดิ์ ขิ้นเขมจำรี
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ร้อยเอ็ด
ในพระรำชูปถัมสมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี
ประวัติของพลตรี หลวงวิจิตรวาทการ
ประวัติชีวิตตอนต้น
หลวงวิจิตรวำทกำร เกิดเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 11 สิงหำคม
พุทธศักรำช 2441 เจ้ำของประวัติบันทึกไว้ว่ำ "ข้ำพเจ้ำเกิดบนแพ
ริมแม่น้ำสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธำนี เมื่อรู้ควำม เห็นบิดำมำรดำ
ของข้ำพเจ้ำมีเรือพำยม้ำลำหนึ่ง แม่แจวหัว และพ่อแจวท้ำย พวก
ข้ำพเจ้ำเป็นพวกมีลูกมำก แม่ของข้ำพเจ้ำมีลูกถึง 8 คน
“
แม่ของข้ำพเจ้ำถึงแก่กรรมตั้งแต่ตัวข้ำพเจ้ำยังเล็ก
ข้ำพเจ้ำเริ่มลำดับควำมต่ำงๆ ได้ตั้งแต่อำยุ 5 ขวบ จำ
ได้ว่ำพ่อเคยเขียน ก. ข. ใส่กระดำนชนวนไว้ให้ในเวลำ
กลำงคืน และพอ 4 นำฬิกำ ก็ต้องแจวเรือไปค้ำขำยสอง
คนกับแม่ เวลำนอนก็นอนกับย่ำ ซึ่งเป็นคนจดจำนิยำย
ต่ำงๆ ไว้ได้มำก และเล่ำให้ฟังเสมอ จนกระทั่งเรื่องสังข์
ทอง เรื่องรำมเกียรติ์ เรื่องอิเหนำ
อิเหนำ เรื่องพระอภัยมณี และเรื่องขุนช้ำงขุนแผนเหล่ำนี้
อยู่ในสมองของข้ำพเจ้ำหมดก่อนที่จะลงมืออ่ำนได้เอง เมื่ออำยุ 8 ขวบ ได้
เข้ำโรงเรียนวัดขวิด ตำบลสะแกกรัง สอบไล่ได้ชั้นประโยคประถม พ่อแม่
ไม่มีทุนจะให้เข้ำศึกษำต่อไป จึงเปลี่ยนวิธีใหม่ ได้เข้ำศึกษำในทำงธรรม
อยู่ในวัดมหำธำตุตั้งแต่อำยุ 13 ขวบ จนถึงอำยุ 20 ปี สอบไล่ได้เปรียญ
5 ประโยค จึงออกจำกวัด"มีคนพูดกันแต่เดิมว่ำ หลวงวิจิตรวำทกำร มี
เชื้อสำยเป็นจีน เพรำะชื่อ "กิมเหลียง" ซึ่งเป็นชื่อเดิม ข้อนี้ตำมเอกสำร
ของหลวงวิจิตรวำทกำรยืนยันไว้เองว่ำ
มีคนพูดกันแต่เดิมว่ำ หลวงวิจิตรวำทกำร มีเชื้อสำยเป็นจีน เพรำะ
ชื่อ "กิมเหลียง" ซึ่งเป็นชื่อเดิม ข้อนี้ตำมเอกสำรของหลวงวิจิตร
วำทกำรยืนยันไว้เองว่ำ "มีประเพณีพิเศษอยู่อย่ำงหนึ่งในจังหวัด
อุทัยธำนีเวลำนั้น คือ บิดำมำรดำมีชื่อเป็นไทยแท้ๆ แต่ลูกต้องมี
ชื่อเป็นจีน บิดำของข้ำพเจ้ำชื่ออิน มำรดำชื่อคล้ำย ซึ่งเป็นชื่อไทย
แท้ๆ ข้ำพเจ้ำเห็นบิดำของข้ำพเจ้ำบวชในบวรพุทธศำสนำ ไม่เคย
เห็นไหว้เจ้ำ และทุกสิ่งทุกอย่ำงเป็นไทย
 แต่ตัวข้ำพเจ้ำกลับได้ชื่อเป็นจีน น้องๆ คนหลังๆ เมื่อเกิดมำได้ตั้งชื่อเป็นไทย แต่
พอข้ำพเจ้ำไปยุโรปกลับมำ เห็นเขำเปลี่ยนชื่อจีนไปหมด อิทธิพลของจีนในจังหวัด
อุทัยธำนีนับว่ำล้นเหลือ"
เมื่อท่ำนอำยุ 13 ปี ในปี พ.ศ. 2453 ท่ำนได้ศึกษำนักธรรมและบำลีจนจบนักธรรม
เอกและเปรียญ 5 ประโยค โดยสอบได้เปรียญ 5 ประโยคเมื่ออำยุ 19 ปีใน พ.ศ. 2459 สอบ
ได้เป็นที่ 1ในประเทศได้รับประกำศนียบัตรหมำยเลข 1 จำกพระหัตถ์ ของรัชกำลที่ 6 และ
ได้รับควำมไว้วำงใจจำกพระศรีวิสุทธิวงศ์ (เฮง เขมจำรี) ให้เป็นครูสอนภำษำบำลีอีกด้วย
ท่ำนเป็นคนใฝ่รู้อย่ำงยิ่ง นอกจำกเรียนนักธรรมและบำลีแล้วยังแอบเรียนภำษำอังกฤษและ
ฝรั่งเศส ที่ต้องแอบเรียนเพรำะเขำไม่ให้เรียนวิชำอื่น แต่ด้วยควำมอยำกรู้ท่ำนจึงแอบเรียนจน
มีควำมรู้ในภำษำทั้ง 2 ดี ได้แปลพงศำวดำรเยอรมันเป็นไทยโดยใช้นำมปำกกำว่ำ
"แสงธรรม"
เมื่ออำยุ 20 ปี ท่ำนได้อุปสมบทเป็นภิกษุ อยู่ในภิกขุภำวะได้เพียงเดือน
เดียวก็ลำสิกขำออกมำรับรำชกำรที่กองกำรกงสุล กระทรวงกำร
ต่ำงประเทศ ทำงำนอยู่เป็นเวลำ 2 ปี 3 เดือน ท่ำนก็ได้มีโอกำสไปรับตำแหน่ง
ผู้ช่วยเลขำนุกำร ประจำสถำนอัครรำชทูตไทย ณ กรุงปำรีส ประเทศฝรั่งเศส รับ
รำชกำรที่สถำนทูตแห่งนั้นได้ 6 ปีเต็ม แล้วได้ย้ำยไปประจำกำรในสถำนอัคร
รำชทูตไทย ณ กรุงลอนดอน สหรำชอำณำจักร
ประวัติด้ำนกำรทำงำน
(ในขณะนั้นสยำมยังไม่มีสำนักงำนตัวแทนทำงกำรทูตระดับสถำนเอกอัครรำชทูตประจำอยู่
ในยุโรป มีเพียงสถำนอัครรำชทูตเท่ำนั้น อีกทั้งเมื่อครั้งยังรับรำชกำรอยู่ที่กรุงปำรีส ถือ
ว่ำร่วมสมัยกับที่คณะรำษฎรได้ก่อตัวขึ้นมำ แต่ท่ำนมิได้ถูกเชิญเข้ำร่วมด้วย ในภำยหลัง
เปลี่ยนแปลงกำรปกครอง ท่ำนจึงก่อตั้ง "คณะชำติ" ขึ้นมำเพื่อหมำยจะเปรียบกับ
คณะรำษฎร แต่ไม่ประสบควำมสำเร็จ จึงยุติบทบำทไป[2]) หลังจำกนั้นได้กลับมำทำงำน
ที่ประเทศไทยอีก
ชีวิตในกำรทำงำนเป็นข้ำรำชกำร
ในชีวิตรำชกำร ท่ำนได้ดำรงตำแหน่งหลำยตำแหน่ง
เช่น รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรต่ำงประเทศ เอกอัครรำชทูต
ไทยในหลำยประเทศ อธิบดีกรมศิลปำกร รัฐมนตรีว่ำกำร
กระทรวงกำรคลัง รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงเศรษฐกำร ที่น่ำ
สังเกตคือ ท่ำนได้เป็น "ปลัดบัญชำกำร" สำนัก
นำยกรัฐมนตรี (เทียบเท่ำปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรีในปัจจุบัน
นี้) เป็นคนแรก และคนเดียวในประวัติศำสตร์ไทย ก่อนหน้ำที่
ท่ำนจะได้รับตำแหน่งนี้และหลังจำกที่ท่ำนพ้นตำแหน่งไปแล้ว
 ไม่มีตำแหน่งปลัดบัญชำกำรในสำนักนำยกรัฐมนตรี มีแต่
เพียงตำแหน่งที่เทียบเท่ำกันในชื่ออื่น อีกทั้งยังเป็นกำรรับตำแหน่งใน
สมัยที่มี จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นนำยกรัฐมนตรี ซึ่งจอมพลสฤษดิ์
ดำรงตำแหน่งนำยกฯได้มำจำกกำรที่กระทำกำรรัฐประหำร จอมพล ป.
พิบูลสงครำม ทั้งที่ท่ำนมีภำพลักษณ์ว่ำเป็นผู้ที่สนิทสนมและรับใช้จอม
พล ป. มำก่อน โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งในช่วงสงครำมโลกครั้งที่สอง ได้
ลำออกจำกบรรดำศักดิ์พร้อมคณะรัฐมนตรีชุดที่ 9 โดยใช้รำชทินนำม
เป็นนำมสกุลได้ว่ำ วิจิตร วิจิตรวำทกำร เมื่อ พ.ศ. 2484[
หลังสงครำมโลกครั้งที่สองสงบ ท่ำนถูกจับกุมและถูกไต่
สวนในข้อหำอำชญำกรรมสงครำมอยู่ระยะหนึ่ง ร่วมกับ จอม
พล ป. พิบูลสงครำม แต่ภำยหลัง ศำลไทยตัดสินว่ำกฎหมำย
(ในกรณีนี้คือ พระรำชบัญญัติอำชญำกรรมสงครำม ซึ่งยกร่ำง
ขึ้นหลังจำกสงครำมสงบแล้ว) ย่อมไม่มีผลย้อนหลัง ท่ำนจึง
ได้รับกำรปล่อยตัวเป็นอิสระ
ท่ำนถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ 31 มีนำคม พ.ศ. 2505
หลวงวิจิตรวำทกำร เป็นผู้แต่งหนังสือ ประวัติศำสตร์สำกล ซึ่งมี
อยู่ด้วยกัน 5 เล่ม โดยใชนำมปำกกำว่ำ "วิเทศกรณีย์" เป็น
ผู้ประพันธ์คำร้องและทำนองเพลงปลุกใจ ตื่นเถิดชำวไทย และ
ต้นตระกูลไทย เป็นต้น นอกจำกนั้นท่ำนยังแต่งบทละครอิง
ประวัติศำสตร์ และเพลงประกอบละครเหล่ำนั้น ไว้หลำยเรื่อง
และหลำยเพลง ท่ำนเป็นผู้หนึ่งที่มีบทบำทสำคัญในกำรปลุกเร้ำ
ควำมรู้สึกชำตินิยมในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงครำม เป็น
นำยกรัฐมนตรี
มีผลงานเพลงของหลวงวิจิตรวาทการมากมายหลายเพลงที่เป็นที่น่าสนใจและ
หนึ่งในนั้นก็คือ "เพลงแหลมทอง“
ละครเรื่องเจ้ำหญิงแสนหวี แต่งและนำออกแสดงเมื่อ พ.ศ.2481 มีบทเพลง
ประกอบด้วยกัน 10 เพลงได้แก่ เพลงเชิญชมดอกไม้ เพลงแสนหวี เพลงเขม
รัฐ เพลงเห็นแต่ไกล เพลงรำตรี เพลงรักชำติ เพลงไทยน้อยไทยใหญ่ เพลง
ควำมฝัน เพลงแสนระทม เพลงวิญญำณแสนหวี
ละครเรื่องมหำเทวี แต่งเมื่อ พ.ศ.2481 มีเพลงประกอบด้วยกัน 10
เพลง ได้แก่ เพลงเลือดไทย เพลงถิ่นไทย เพลงนครเชียงใหม่ เพลงหอมหวำน
เพลงโชคมนุษย์ เพลงสิ้นสวำส เพลงสู้อมิตร เพลงมหำเทวี เพลงแหล่งไทย
เพลงคำหอม
- ละครเรื่องเบญจมำศ แต่งและนำออกแสดงในปี พ.ศ.2181 มีเพลง
ประกอบด้วยกัน 5 เพลง ได้แก่ เพลงใจโจร เพลงอยู่ถ้ำ เพลงป่ำดง
เพลงยุพดี เพลงควำมดี
- ละครเรื่องน่ำนเจ้ำ แต่งและแสดงในปี พ.ศ.2482 มีเพลง
ประกอบด้วยกัน 7 เพลงได้แก่ เพลงหน้ำผำ เพลงรักไทย เพลงเชิญ
ขวัญ เพลงไกลแสนไกล เพลงเดิน เพลงรวมไทย เพลงกิ่งแก้ว
- ละครเรื่องอนุสำวรีย์ไทย แต่งและนำแสดงในปี พ.ศ.2482 มี
บทเพลงประกอบรวมเพลง 5 เพลง ได้แก่เพลงอวยชัย เพลงเห็นแต่
เงำ เพลงเกียรติกรรมกำร เพลงน้ำทะเล เพลงอนุสำวรีย์ไทย
- ละครเรื่องพ่อขุนผำเมือง แต่งและนำออกแสดงในปี พ.ศ.2483 มีบทเพลงประกอบเพียง
2 เพลงได้แก่ เพลงศุภโชค เพลงสร้ำงชำติ
-ละครเรื่องน่ำนเจ้ำ แต่งและแสดงในปี พ.ศ.2482 มีเพลงประกอบด้วยกัน 7 เพลงได้แก่
เพลงหน้ำผำ เพลงรักไทย เพลงเชิญขวัญ เพลงไกลแสนไกล เพลงเดิน เพลงรวมไทย
เพลงกิ่งแก้ว
- ละครเรื่องอนุสำวรีย์ไทย แต่งและนำแสดงในปี พ.ศ.2482 มีบทเพลงประกอบ
รวมเพลง 5 เพลง ได้แก่เพลงอวยชัย เพลงเห็นแต่เงำ เพลงเกียรติกรรมกำร เพลงน้ำ
ทะเล เพลงอนุสำวรีย์ไทย
-ละครเรื่องพ่อขุนผำเมือง แต่งและนำออกแสดงในปี พ.ศ.2483 มีบทเพลง
ประกอบเพียง 2 เพลงได้แก่ เพลงศุภโชค เพลงสร้ำงชำติ
หนังสือต่ำงๆที่เป็นผลงำนของหลวงวิจิตรวำทกำร
วิจิตรวรรณกรรม เล่ม 1
-งำนค้นคว้ำเรื่องเชื้อชำติ
หนังสือ “วิจิตรวรรณกรรม” เป็นหนังสือประมวลนวนิยำยเรื่องสั้น ของ หลวงวิจิตรวำทกำร
ซึ่งสำนักพิมพ์เพลินจิตต์ ได้จัดพิมพ์เป็นเล่ม ๆ หลำยเล่มด้วยกัน เริ่มพิมพ์เมื่อปี พ.ศ. 2492
เล่ม 1 ประกอบไปด้วย เรื่องทั้งหมด 8 เรื่องด้วยกัน
1. บทประพันธ์อันแรก ๆ
2. เพลงเก่ำ- เพลงกรรม
3. แปดปีภำยหลัง
4. เมื่อไทยเปนทำษ
5. กลัวจนหำยกลัว
6. ควำมรักในกรงขัง
7. หวำนใจเจ้ำอนุ
8. บทเรียนสร้ำงชีวิต
จบ

More Related Content

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

หลวงวิจิตรวาทการ