SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
พลตรีหลวงวิจิตรวาทการ
จัดทำโดย
 หลวงวิจิตรวาทการ เกิดเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 11 สิงหาคมพุทธศักราช
2441 เจ้าของประวัติบันทึกไว้ว่า "ข้าพเจ้าเกิดบนแพ ริมแม่น้าสะแกกรัง
จังหวัดอุทัยธานี เมื่อรู้ความ เห็นบิดามารดาของข้าพเจ้ามีเรือพายม้าลา
หนึ่งแม่แจวหัว และพ่อแจวท้าย พวกข้าพเจ้าเป็นพวกมีลูกมาก แม่ของ
ข้าพเจ้ามีลูกถึง 8 คน"
 แม่ของข้าพเจ้าถึงแก่กรรมตั้งแต่ตัวข้าพเจ้ายังเล็กข้าพเจ้าเริ่มลาดับความ
ต่างๆ ได้ตั้งแต่อายุ5 ขวบ จาได้ว่าพ่อเคยเขียนก. ข. ใส่กระดานชนวนไว้
ให้ในเวลากลางคืนและพอ 4 นาฬิกาก็ต้องแจวเรือไปค้าขายสองคนกับ
แม่ เวลานอนก็นอนกับย่าซึ่งเป็นคนจดจานิยายต่างๆไว้ได้มาก และเล่า
ให้ฟังเสมอจนกระทั่งเรื่องสังข์ทองเรื่องรามเกียรติ์ เรื่องอิเหนาเรื่อง
พระอภัยมณี และเรื่องขุนช้างขุนแผนเหล่านี้ อยู่ในสมองของข้าพเจ้า
หมดก่อนที่จะลงมืออ่านได้เองเมื่ออายุ 8 ขวบ ได้เข้าโรงเรียนวัดขวิด
ตาบลสะแกกรัง
 มีคนพูดกันแต่เดิมว่า หลวงวิจิตรวาทการ มีเชื้อสายเป็นจีนเพราะชื่อ
"กิมเหลียง"ซึ่งเป็นชื่อเดิม ข้อนี้ตามเอกสารของหลวงวิจิตรวาทการ
ยืนยันไว้เองว่า"มีประเพณีพิเศษอยู่อย่างหนึ่งในจังหวัดอุทัยธานีเวลานั้น
คือ บิดามารดามีชื่อเป็นไทยแท้ๆ แต่ลูกต้องมีชื่อเป็นจีน บิดาของข้าพเจ้า
ชื่ออิน มารดาชื่อคล้ายซึ่งเป็นเชื่อไทยแม้ๆ ข้าพเจ้าเห็นบิดาของข้าพเจ้า
บวชในบวรพุทธศาสนา ไม่เคยเห็นไหว้เจ้า และทุกสิ่งทุกอย่างเป็นไทย
แต่ตัวข้าพเจ้ากลับได้ชื่อเป็นจีน
 ภายหลังที่ได้ทางานในกองการกงสุลกระทรวงการต่างประเทศเป็นเวลา
2 ปี หลวงวิจิตรวาทการได้มีโอกาสออกไปยุโรปในตาแหน่ง
ผู้ช่วยเลขานุการสถานทูตไทยประจากรุงปารีสท่านมีส่วนได้เปรียบคน
อื่นๆ โดยที่เป็นคนรู้ภาษาไทยดีกว่าคนอื่นในสถานทูตทาให้ท่านได้
ทางานอย่างกว้างขวางจึงได้รับหน้าที่ตามเสด็จท่านราชทูตไปในการ
ประชุมหรือในงานเจรจาทุกแห่งและที่สาคัญต้องทารายงานส่งเข้ามาใน
กรุงเทพฯเป็นภาษาไทย
 หลวงวิจิตรวาทการรับราชการอยู่ในสถานทูตปารีส6 ปีเต็ม กระทรวง
การต่างประเทศจึงได้สั่งย้ายท่านไปรับราชการในสถานทูตไทยที่กรุง
ลอนดอนท่านอยู่ลอนดอนได้ไม่นานก็ได้ถูกเรียกกลับมารับราชการใน
กรุงเทพฯและตาแน่งที่หลวงวิจิตรวาทการได้รับในกรุงเทพฯต่อจากนั้น
มา ได้ช่วยให้ท่านเรียนรู้งานของกระทรวงการต่างประเทศอย่างทั่วถึง
เพราะถูกโยกย้ายสับเปลี่ยนหน้าที่ไม่หยุดหย่อนในปี พ.ศ. 2475 ท่านได้
เป็นผู้ช่วยอธิบดีกรมการเมืองกระทรวงการต่างประเทศ
 เมื่อปี พ.ศ. 2477 หลวงวิจิตรวาทการ ได้ย้ายมาเป็นอธิบดีกรมศิลปากร
เป็นคนแรกเมื่อเข้ารับตาแหน่งอธิบดีกรมศิลปากรท่านได้รับความ
ยากลาบากเป็นที่สุด เพราะท่านไม่ได้เกิดมาเป็นนักศิลปะท่านเกิดใน
กระทรวงการต่างประเทศโดยไม่เคยเกี่ยวข้องกับงานศิลปากรมูลเหตุที่
ให้ท่านเข้าไปเป็นอธิบดีกรมศิลปากรนั้นก็ดูเหมือนจะมีอย่างเดียวคือใน
บรรดางานศิลปากรในเวลานั้นงานที่สาคัญที่สุดคืองานหอสมุดแห่งชาติ
ท่านชอบหนังสือชอบการค้นคว้า และแต่งหนังสืออยู่มากแล้ว
 แต่เมื่อเข้าไปถึง ก็ได้พบงานอีกหลายอย่างที่หลวงวิจิตรวาทการไม่รู้
โดยเฉพาะอย่างยิ่งคืองานสถาปัตยกรรมช่างเขียนช่างปั้น และยิ่งกว่านั้น
ก่อนท่านเข้าไปก็ได้มีกฎหมายระบุหน้าที่กรมศิลปากรไว้ว่าต้อง
รับผิดชอบในเรื่องงานละครและดนตรีด้วยมีคนเข้าใจผิดเป็นอันมาก ว่า
เรื่องละครและดนตรีของกรมศิลปากรหรือโรงเรียนฟ้อนราและดนตรี
นั้น
 หลวงวิจิตรวาทการเป็นผู้คิดตั้งขึ้นด้วยความคิดริเริ่มของท่านเองความ
จริงเรื่องโรงเรียนฟ้อนราและดนตรี ที่เป็นโรงเรียนศิลปากร
 เว้นแต่งานอันหนึ่งซึ่งได้ออกกฎหมายไว้แต่ยังมิได้ลงมือทาคืองาน
ละคร และดนตรี หลวงวิจิตรวาทการจะต้องทาในฐานะงานใหม่ของท่าน
ซึ่งท่านเองก็ไม่มีวิชาความรู้ในเรื่องนี้มาก่อนเคยสนใจในเรื่องละครและ
ดนตรีมาบ้างเมื่ออยู่ยุโรปแต่ก็สนใจแต่เพียงดูเพื่อความสนุกบันเทิง
เท่านั้น เมื่อจาต้องทาด้วยตัวเอง ก็ต้องค้นคว้าเล่าเรียนเอาเองเป็นการ
เปลี่ยนชีวิตของท่านท่านถูกความจาเป็นบังคับให้กลายเป็นนักศิลปะ ซึ่ง
ไม่เคยนึกฝันมาแต่ก่อนว่าจะต้องเป็นฯลฯ
 โดยเหตุดังว่านี้ หลวงวิจิตรวาทการจึงใคร่เสนอข้อแนะนาแก่ผู้ที่ทางาน
โดยหวังจะขึ้นสู่ตาแหน่งหน้าที่เป็นผู้ใหญ่ว่าความก้าวหน้าของกิจการ
ทั้งหลายจะมีขึ้นได้ก็โดยผู้รับหน้าที่ตาแหน่งต่อกันไปนั้น ได้ทางาน
ต่อไปจากที่คนเก่าเขาทาแล้ว และไม่ด่วนลงความเห็นว่าคนเก่าเขาทา
ไว้เหลวไหล ถ้าทุกคนที่เข้าไปรับตาแหน่งใหม่เริ่มงานกันใหม่ทั้ง
หมดแล้ว ก็ไม่มีวันที่งานจะก้าวหน้าไปได้เลย
 ชำตินิยม
 ในระหว่างดารงตาแหน่งอธิบดีกรมศิลปากรรัฐบาลจอมพล ป. พิบูล
สงครามเริ่มปลูกฝังลัทธิชาตินิยมให้ฟุ้งเฟื่องอยู่ในหมู่ประชาชนด้วยการ
คิดคานึงกันขึ้นในบรรดาผู้เป็นคนชั้นหัวหน้าปกครองว่าลัทธิชาตินิยม
หรือลัทธิรักชาติลัทธิเว้นแต่งานอันหนึ่งซึ่งได้ออกกฎหมายไว้แต่ยังมิได้
ลงมือทาคืองานละครและดนตรี หลวงวิจิตรวาทการจะต้องทาในฐานะ
งานใหม่ของท่าน
 ถ้าหากหลวงวิจิตรวาทการได้สร้างความสาเร็จสิ่งหนึ่งสิ่งใดไว้ให้แก่กรม
ศิลปากรก็เป็นเพราะเหตุอย่างเดียวคือ ท่านไม่ได้รื้อของเก่าสิ่งไรที่มีอยู่
เดิมแล้ว เช่น การหอสมุด และพิพิธภัณฑ์ท่านได้ทาต่อไป หอสมุดจึงเดิม
มีเพียงในกรุงเทพฯท่านได้จัดการเปิดสาขาหอสมุดในต่างจังหวัดและ
สาเร็จไปได้หลายสิบแห่งงานพิพิธภัณฑ์และโบราณคดี ก็ได้ทาไปโดย
อาศัยหลักเดิมแต่ได้ขยายให้มีผลไพศาลยิ่งขึ้น
 หลวงวิจิตรวาทการได้รับมอบหมายให้มาทางาน "ปลูกต้นรักชำติ" ขึ้น
ในหัวใจประชาชน โดยการแต่งละครประวัติศาสตร์ และเพลงที่เป็นบท
ปลุกใจให้รักชาติขึ้นในระยะเวลาติดต่อกันอาทิ เช่น ละครอิง
ประวัติศาสตร์เรื่อง น่านเจ้า เลือดสุพรรณราชมนู พระเจ้ากรุง
ธน อานุภาพแห่งความรักศึกกลางเจ้าหญิงแสนหวี และอื่นๆ อีกมาก
เรื่องปลูกต้นรักชาตินี้ หลวงวิจิตรวาทการทามาไม่ลดละ ตั้งแต่ก่อน
สงครามมหาเอเชียบูรพาจนกระทั่งเสร็จสงครามและทามาจนใกล้
สิ้นชีวิต
 ความยากลาบากที่สุดนั้นก็คือการที่ต้องทาอะไรโดยที่ไม่มีเงินการขอ
งบประมาณกรมศิลปากรโดยเฉพาะอย่างยิ่งงานละครและดนตรีนั้นร้าย
ยิ่งกว่าขอทานเพราะนอกจากจะไม่ได้แล้ว ยังถูกเย้ยหยันในการประชุม
กรรมการพิจารณางบประมาณมีหลายครั้งที่ท่านเกิดความคิดจะขอ
กลับไปกระทรวงการต่างประเทศซึ่งเป็นที่เกิดของท่านและได้ทางานมา
โดยมิต้องถูกมรสุมความเย้ยหยันหรือความดูถูกดูหมิ่นแต่ท่านก็ต้องอยู่
อยู่สร้างสิ่งซึ่งท่านมีหน้าที่ต้องสร้างการตั้งโรงเรียนฟ้อนราและดนตรี
ซึ่งเรียกว่า"โรงเรียนนำฏดุริยำงค์"
 ราวหนึ่งปีภายหลังที่ตั้งโรงเรียนนี้ขึ้นนักเรียนของโรงเรียนนี้ก็พอออก
แสดงได้บ้างแต่ไม่มีโรงแสดง โรงละครในเวลานั้นก็หายากเต็มทีและ
ไม่สามารถจะนานักเรียนไปแสดงที่อื่นได้ จาเป็นที่จะต้องแสดงในเขต
ที่ของกรมศิลปากร เมื่อไม่มีทางจะทาอย่างอื่น ท่านก็ปลูกโรงไม้ไผ่เอา
ผ้าเต็นท์มาขึงเป็นหลังคา รวบรวมเก้าอี้เท่าที่จะหาได้ละครของกรม
ศิลปากรได้ออกแสดงภายใต้หลังคาผ้าเต็นท์ และเสาไม้ไผ่
 ได้มานั่งดูการแสดงท่านเจ้าคุณได้บอกให้หลวงวิจิตรวาทการตั้งงบประมาณ
สาหรับสร้างโรงละครท่านจะช่วยเหลือหาเงินให้
 ระหว่างดารงตาแหน่งอธิบดีกรมศิลปากรและเป็นรัฐมนตรีอยู่นั้นหลวง
วิจิตรวาทการได้แต่งงานกับนางสาวประภา (ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็น
ประภาพรรณ)รพิพันธุ์อาจารย์โรงเรียนเบญจามราชาลัยบุตรีของขุนวร
สาส์นดรุณกิจเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ.2479 เป็นการเริ่มชีวิตใหม่ที่
เนื่องด้วยครอบครัวและความรัก หลวงวิจิตรวาทการเห็นจะได้ชื่อว่าเป็น
คนหวานต่อความรักเป็นสามีที่ดีที่สุด และเมื่อมีลูกก็เป็นพ่อที่ดีที่สุดของ
ลูก

More Related Content

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

พลตรีหลวงวิจิตรวาทการ