SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
ครูผู้สอน นายไกรลาศ จิบจันทร์
ใบความรู้
รายวิชา การสร้างเว็บไซต์ด้วยภาษา HTML
เรื่อง การสร้างเฟรมเซต (FRAMESET)
การแบ่งเฟรม ( frame )
การแบ่งจอภาพออกเป็นส่วน ๆ หรือ ที่เรียกว่า เฟรม ( frame ) ถือว่าเป็นคาสั่งหนึ่งใน การเขียน
HTML โดยเฟรม (Frame) จะช่วยให้ สามารถ แสดง ผลไฟล์ HTML หลาย ๆ ไฟล์ได้พร้อม ๆ กัน ภายใต้
เว็บเพจ เดียวกัน ตามปกติแล้ว หนึ่งเว็บเพจ เราจะมีไฟล์ HTML อยู่ไฟล์เดียว แต่ถ้าเราต้องการ แบ่งหน้าจอ
ของเว็บเพจ ให้เป็น 3 - 4 ส่วน โดยแต่ละส่วน มีความเป็นอิสระ ของตัวเอง ใช้ HTML ของตัวเอง คาสั่ง เฟรม
(Frame) จะช่วยในการจัดการงานดังกล่าว
ในปัจจุบัน เฟรม(Frame) เป็นคาสั่ง ที่ได้รับความนิยม อย่างมาก ในการนามาใช้ ตกแต่ง เอกสาร
HTML ส่วนใหญ่ จะนาเฟรม (Frame) มาเพิ่มใส่ใน HTML เพื่อปรับแต่ง ให้พอดูดีขึ้น อย่างเช่น การนาเฟรม
(Frame) มาใช้ ในการล็อคให้ โฮมเพจ ของเรา มีส่วนหัว และส่วนท้าย เหมือน ๆ กันทุก หน้าจอ คล้าย ๆ กับ
การพิมพ์ จดหมาย ที่มีหัวกระดาษท้ายกระดาษ หรือการนาเฟรม (Frame) มาทา เป็นเมนู ซึ่งเราสามารถ
บังคับให้เฟรม (Frame) ที่บรรจุ เมนู อยู่โดย ไม่เปลี่ยนแปลง ส่วนอีกเฟรม (Frame) หนึ่ง ก็แสดง เนื้อหากัน
ไป
ลักษณะและข้อจากัดของเฟรม (Frame)
เฟรม (Frame) ส่วนมาก มีลักษณะ เป็นรูป สี่เหลี่ยมอย่างเดียว เราไม่ สามารถ สร้างเฟรม (Frame)
เป็นรูปสามเหลี่ยม วงกลม ห้าเหลี่ยม หกเหลี่ยม ได้ตามใจชอบ ส่วนเฟรม (Frame) ที่ ซับซ้อน เกินไป เราก็
อาจจะสร้างไม่ได้
ระบบโครงสร้าง
คาสั่ง แรกที่ต้องใช้ ในการสร้าง เฟรม (Frame) ก็คือ Tag คาสั่ง <FRAMSET> คาสั่งนี้เป็นคาสั่ง
ที่ใช้ใน การกาหนด ขนาดและ รูปแบบของเฟรม (Frame) ที่ต้องการ คาสั่ง <FRAMSET> เป็นคาสั่ง ที่มา
แทน คาสั่ง <BODY> ในไฟล์ HTML โดยมีโครงสร้างดังนี้
<HTML>
<HEAD>
<TITLE>..การแบ่งเฟรม...</TITLE>
</HEAD>
<FRAMESET>
……..
……...
</FRAMESET>
</HTML>
คาสั่ง <FRAMESET> ใช้ในการกาหนดเฟรม (Frame) รูปแบบการใช้คาสั่ง <Frameset> เป็นคาสั่งที่
ระบุให้โปรแกรมบราวเซอร์แบ่งหน้าจอออกเป็นเฟรม มี 2 ประเภท คือ
1. แบ่งเฟรมตามแนวตั้ง <frameset cols="value1, value2>
2. แบ่งตามแนวนอน <frameset rows="value1, value2>
ครูผู้สอน นายไกรลาศ จิบจันทร์
การกาหนดค่าให้กับ value มีอยู่ 3 แบบ คือ
1. กาหนดค่าให้มีหน่วยเป็นพิกเซล (Pixel) เช่น
<frameset cols="200, 600">
2. กาหนดค่าให้มีหน่วยเป็นเปอร์เซ็นต์ (%) เช่น
<frameset cols="25%, 25%, 50%">
3. กาหนดค่าตามความสัมพันธ์ของแต่ละเฟรม จะแทนโดยเครื่องหมาย (* ) เช่น
<frameset cols="240, * ">
<frameset cols=" *, * , *">
คาสั่ง <FRAMESET> มี คาสั่งรอง หรือแอตทริบิวต์ (Attribute) คือ
<FRAME SRC=”ชื่อไฟล์ที่ต้องการแสดง"> เป็นการกาหนด ค่าต่าง ๆ ที่จะแสดงในพื้นที่จอภาพ ไม่
ว่าจะเป็น .htm , .html หรือ .gif , .jpg ก็ได้ทั้งหมด
<NOFRAME> คาสั่งนี้จะถูกแสดง เมื่อถูกเรียกใช้โดยเว็บบราวเซอร์ (Web browser) รุ่นเก่า
ที่แสดงผลแบบเฟรม (Frame) ไม่ได้
<FRAME NAME=” NAME"> ชื่อเฟรม (FRAME) ที่ตั้งขึ้น
<FRAME MARGINWIDTH=”Value"> ใช้กาหนดความกว้างของช่องว่างด้านซ้ายและขวา (Margin)
ระหว่างขอบของเฟรม (FRAME) กับข้อมูลในเฟรม (FRAME)
<FRAME MARGINHEIGHT=”Value”> ใช้กาหนดความกว้างของช่องว่างด้านบนและล่าง (Margin)
ระหว่างขอบของเฟรม (FRAME) กับข้อมูลในเฟรม (FRAME)
<FRAME SCROLLING=”YES , NO , AUTO”> ใช้กาหนดให้โปรแกรมบราวเซอร์แสดง/ซ่อนแถบ
เลื่อน (Scrolling bar) ที่ด้านข้างและด้านล่างของเฟรม (FRAME) เมื่อข้อมุลมีความยาวมากกว่า 1 หน้าจอ
ตัวเลือกเพื่อแสดง/ซ่อนแถบเลื่อน มี 3 ตัวเลือก
YES หมายถึง แสดงแถบเลื่อน
NO หมายถึง ซ่อนแถบเลื่อน
AUTO หมายถึง แสดงแถบเลื่อนก็ต่อเมื่อข้อมูลมีความยาวมากกว่า 1 หน้าจอ (ค่า
default)
<FRAMEBORDER=” 0 , 1 “> ใช้กาหนดให้โปรแกรมบราวเซอร์แสดง/ซ่อนเส้นแบ่งเฟรม ตัวเลือก
เพื่อแสดง/ซ่อนเส้นแบ่งเฟรม มี 2 ตัวเลือก คือ
0 หมายถึง ซ่อนเส้นแบ่งเฟรม
1 หมายถึง แสดงเส้นแบ่งเฟรม
border="1" กาหนดขนาดความหนาของเส้นแบ่งเฟรม (Frame)
bordercolor="#0033FF" กาหนดสีของเส้นแบ่งเฟรม (Frame)
<NORESIZE>ใช้กาหนดให้ผู้ใช้ไม่สามารถปรับเปลี่ยนขนาดของเฟรมได้ โดยปกติจะสามารถปรับได้
โดยคลิกเมาส์ที่เส้นแบ่งเฟรม
ครูผู้สอน นายไกรลาศ จิบจันทร์
ตัวอย่างจากแฟ้มข้อมูล (File) ชื่อ Test.html
<html>
<head>
<title>ยินดีต้อนรับเข้าสู่เว็บไซด์ของฉัน</title>
</head>
<frameset cols = "155,*" frameborder="YES" border="1" framespacing="1"
bordercolor="#0033FF">
<frame name = "menu" noresize src = "p1.html">
<frame name = "mainframe" noresize src = "p2.html" >
</frameset>
</body>
</html>
ผลลัพธ์เมื่อแสดงผลบนโปรแกรม อินเตอร์เน็ต จะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ซ้าย และขวา ดังรูป
เฟรมซ้าย เฟรมขวา
ครูผู้สอน นายไกรลาศ จิบจันทร์
การแบ่งเว็บเพจออกเป็นเฟรมตามแนวแถวและคอลัมน์
เราสามารถแบ่งเว็บเพจตามแนวแถวและคอลัมน์พร้อมๆ กันบนหน้าเว็บเพจเดียวกัน ดังตัวอย่าง
<HTML>
<HEAD>
<TITLE>ตัวอย่างเฟรม</TITLE>
</HEAD>
<FRAMESET Rows=30%,*>
<FRAME SRC="TOP.HTML">
<FRAMESET Cols=180,*>
<FRAME SRC="LEFT.HTML">
<FRAME SRC="RIGHT.HTML">
</FRAMESET>
</FRAMESET>
<NOFRAMES>
<BODY>
</BODY>
</NOFRAMES>
</HTML>
ผลลัพธ์เมื่อแสดงผลบนโปรแกรม อินเตอร์เน็ต จะแบ่งออกเป็น 3 ส่วน บน ซ้าย และขวา ดังรูป
เฟรมบน
เฟรมซ้าย เฟรมขวา

More Related Content

Similar to การสร้างเฟรมเซต

6.แบ่งหน้าจอโดยใช้ frame html
6.แบ่งหน้าจอโดยใช้ frame html6.แบ่งหน้าจอโดยใช้ frame html
6.แบ่งหน้าจอโดยใช้ frame htmlbimteach
 
การสร้างเฟรม
การสร้างเฟรมการสร้างเฟรม
การสร้างเฟรมssuseraa96d2
 
เนื้อหา Html
เนื้อหา Htmlเนื้อหา Html
เนื้อหา HtmlRungnapha Naka
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 html
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 htmlหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 html
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 htmldevilp Nnop
 
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtml
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtmlใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtml
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtmlSamorn Tara
 
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtml
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtmlใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtml
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtmlSamorn Tara
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 08
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 08การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 08
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 08Jenchoke Tachagomain
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงานkongdang
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงานpim1122
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงานpim1122
 
รายงาน เรื่อง css
รายงาน เรื่อง cssรายงาน เรื่อง css
รายงาน เรื่อง cssnongnan
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงานnoopim
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงานkongdang
 
รายงาน คอม
รายงาน คอมรายงาน คอม
รายงาน คอมNooLuck
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2POmp POmpomp
 
รายงานคอม
รายงานคอมรายงานคอม
รายงานคอมdekthai
 
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cmsคู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cmsปอ อา มอ
 
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cmsคู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cmswithawat na wanma
 
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cmsคู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cmsธนวัฒน์ แสนสุข
 

Similar to การสร้างเฟรมเซต (20)

6.แบ่งหน้าจอโดยใช้ frame html
6.แบ่งหน้าจอโดยใช้ frame html6.แบ่งหน้าจอโดยใช้ frame html
6.แบ่งหน้าจอโดยใช้ frame html
 
Lect 08 Css
Lect 08 CssLect 08 Css
Lect 08 Css
 
การสร้างเฟรม
การสร้างเฟรมการสร้างเฟรม
การสร้างเฟรม
 
เนื้อหา Html
เนื้อหา Htmlเนื้อหา Html
เนื้อหา Html
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 html
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 htmlหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 html
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 html
 
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtml
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtmlใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtml
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtml
 
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtml
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtmlใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtml
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtml
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 08
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 08การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 08
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 08
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
รายงาน เรื่อง css
รายงาน เรื่อง cssรายงาน เรื่อง css
รายงาน เรื่อง css
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
รายงาน คอม
รายงาน คอมรายงาน คอม
รายงาน คอม
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2
 
รายงานคอม
รายงานคอมรายงานคอม
รายงานคอม
 
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cmsคู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
 
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cmsคู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
 
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cmsคู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
 

More from ไกรลาศ จิบจันทร์

ใบความรู้ เรื่อง การสร้างเมนูหลัก
ใบความรู้ เรื่อง การสร้างเมนูหลักใบความรู้ เรื่อง การสร้างเมนูหลัก
ใบความรู้ เรื่อง การสร้างเมนูหลักไกรลาศ จิบจันทร์
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์ไกรลาศ จิบจันทร์
 
วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์
วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์
วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์ไกรลาศ จิบจันทร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop csความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop csไกรลาศ จิบจันทร์
 

More from ไกรลาศ จิบจันทร์ (20)

ใบความรู้ เรื่อง การสร้างเมนูหลัก
ใบความรู้ เรื่อง การสร้างเมนูหลักใบความรู้ เรื่อง การสร้างเมนูหลัก
ใบความรู้ เรื่อง การสร้างเมนูหลัก
 
ซอร์ฟแวร์และการเลือกใช้งาน
ซอร์ฟแวร์และการเลือกใช้งานซอร์ฟแวร์และการเลือกใช้งาน
ซอร์ฟแวร์และการเลือกใช้งาน
 
Banner
BannerBanner
Banner
 
คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้
 
สรุปคำศัพท์ทางการบริหาร
สรุปคำศัพท์ทางการบริหารสรุปคำศัพท์ทางการบริหาร
สรุปคำศัพท์ทางการบริหาร
 
งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2
งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2 งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2
งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
เอกสารประกอบการสอน Dreamweaver8 ม.6
เอกสารประกอบการสอน  Dreamweaver8 ม.6เอกสารประกอบการสอน  Dreamweaver8 ม.6
เอกสารประกอบการสอน Dreamweaver8 ม.6
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
การเปิดใช้งานโปรแกรม
การเปิดใช้งานโปรแกรมการเปิดใช้งานโปรแกรม
การเปิดใช้งานโปรแกรม
 
ผลการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ผลการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้
 
การสร้างไซต์ใหม่
การสร้างไซต์ใหม่การสร้างไซต์ใหม่
การสร้างไซต์ใหม่
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์
 
วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์
วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์
วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์
 
ข้อมูลบุคลากร1
ข้อมูลบุคลากร1ข้อมูลบุคลากร1
ข้อมูลบุคลากร1
 
Frameset
FramesetFrameset
Frameset
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop csความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
 
ความรู้เกี่ยวกับ Html
ความรู้เกี่ยวกับ Htmlความรู้เกี่ยวกับ Html
ความรู้เกี่ยวกับ Html
 
การสร้างปกสมุดโรงเรียน
การสร้างปกสมุดโรงเรียนการสร้างปกสมุดโรงเรียน
การสร้างปกสมุดโรงเรียน
 
Photosho cs
Photosho csPhotosho cs
Photosho cs
 

การสร้างเฟรมเซต

  • 1. ครูผู้สอน นายไกรลาศ จิบจันทร์ ใบความรู้ รายวิชา การสร้างเว็บไซต์ด้วยภาษา HTML เรื่อง การสร้างเฟรมเซต (FRAMESET) การแบ่งเฟรม ( frame ) การแบ่งจอภาพออกเป็นส่วน ๆ หรือ ที่เรียกว่า เฟรม ( frame ) ถือว่าเป็นคาสั่งหนึ่งใน การเขียน HTML โดยเฟรม (Frame) จะช่วยให้ สามารถ แสดง ผลไฟล์ HTML หลาย ๆ ไฟล์ได้พร้อม ๆ กัน ภายใต้ เว็บเพจ เดียวกัน ตามปกติแล้ว หนึ่งเว็บเพจ เราจะมีไฟล์ HTML อยู่ไฟล์เดียว แต่ถ้าเราต้องการ แบ่งหน้าจอ ของเว็บเพจ ให้เป็น 3 - 4 ส่วน โดยแต่ละส่วน มีความเป็นอิสระ ของตัวเอง ใช้ HTML ของตัวเอง คาสั่ง เฟรม (Frame) จะช่วยในการจัดการงานดังกล่าว ในปัจจุบัน เฟรม(Frame) เป็นคาสั่ง ที่ได้รับความนิยม อย่างมาก ในการนามาใช้ ตกแต่ง เอกสาร HTML ส่วนใหญ่ จะนาเฟรม (Frame) มาเพิ่มใส่ใน HTML เพื่อปรับแต่ง ให้พอดูดีขึ้น อย่างเช่น การนาเฟรม (Frame) มาใช้ ในการล็อคให้ โฮมเพจ ของเรา มีส่วนหัว และส่วนท้าย เหมือน ๆ กันทุก หน้าจอ คล้าย ๆ กับ การพิมพ์ จดหมาย ที่มีหัวกระดาษท้ายกระดาษ หรือการนาเฟรม (Frame) มาทา เป็นเมนู ซึ่งเราสามารถ บังคับให้เฟรม (Frame) ที่บรรจุ เมนู อยู่โดย ไม่เปลี่ยนแปลง ส่วนอีกเฟรม (Frame) หนึ่ง ก็แสดง เนื้อหากัน ไป ลักษณะและข้อจากัดของเฟรม (Frame) เฟรม (Frame) ส่วนมาก มีลักษณะ เป็นรูป สี่เหลี่ยมอย่างเดียว เราไม่ สามารถ สร้างเฟรม (Frame) เป็นรูปสามเหลี่ยม วงกลม ห้าเหลี่ยม หกเหลี่ยม ได้ตามใจชอบ ส่วนเฟรม (Frame) ที่ ซับซ้อน เกินไป เราก็ อาจจะสร้างไม่ได้ ระบบโครงสร้าง คาสั่ง แรกที่ต้องใช้ ในการสร้าง เฟรม (Frame) ก็คือ Tag คาสั่ง <FRAMSET> คาสั่งนี้เป็นคาสั่ง ที่ใช้ใน การกาหนด ขนาดและ รูปแบบของเฟรม (Frame) ที่ต้องการ คาสั่ง <FRAMSET> เป็นคาสั่ง ที่มา แทน คาสั่ง <BODY> ในไฟล์ HTML โดยมีโครงสร้างดังนี้ <HTML> <HEAD> <TITLE>..การแบ่งเฟรม...</TITLE> </HEAD> <FRAMESET> …….. ……... </FRAMESET> </HTML> คาสั่ง <FRAMESET> ใช้ในการกาหนดเฟรม (Frame) รูปแบบการใช้คาสั่ง <Frameset> เป็นคาสั่งที่ ระบุให้โปรแกรมบราวเซอร์แบ่งหน้าจอออกเป็นเฟรม มี 2 ประเภท คือ 1. แบ่งเฟรมตามแนวตั้ง <frameset cols="value1, value2> 2. แบ่งตามแนวนอน <frameset rows="value1, value2>
  • 2. ครูผู้สอน นายไกรลาศ จิบจันทร์ การกาหนดค่าให้กับ value มีอยู่ 3 แบบ คือ 1. กาหนดค่าให้มีหน่วยเป็นพิกเซล (Pixel) เช่น <frameset cols="200, 600"> 2. กาหนดค่าให้มีหน่วยเป็นเปอร์เซ็นต์ (%) เช่น <frameset cols="25%, 25%, 50%"> 3. กาหนดค่าตามความสัมพันธ์ของแต่ละเฟรม จะแทนโดยเครื่องหมาย (* ) เช่น <frameset cols="240, * "> <frameset cols=" *, * , *"> คาสั่ง <FRAMESET> มี คาสั่งรอง หรือแอตทริบิวต์ (Attribute) คือ <FRAME SRC=”ชื่อไฟล์ที่ต้องการแสดง"> เป็นการกาหนด ค่าต่าง ๆ ที่จะแสดงในพื้นที่จอภาพ ไม่ ว่าจะเป็น .htm , .html หรือ .gif , .jpg ก็ได้ทั้งหมด <NOFRAME> คาสั่งนี้จะถูกแสดง เมื่อถูกเรียกใช้โดยเว็บบราวเซอร์ (Web browser) รุ่นเก่า ที่แสดงผลแบบเฟรม (Frame) ไม่ได้ <FRAME NAME=” NAME"> ชื่อเฟรม (FRAME) ที่ตั้งขึ้น <FRAME MARGINWIDTH=”Value"> ใช้กาหนดความกว้างของช่องว่างด้านซ้ายและขวา (Margin) ระหว่างขอบของเฟรม (FRAME) กับข้อมูลในเฟรม (FRAME) <FRAME MARGINHEIGHT=”Value”> ใช้กาหนดความกว้างของช่องว่างด้านบนและล่าง (Margin) ระหว่างขอบของเฟรม (FRAME) กับข้อมูลในเฟรม (FRAME) <FRAME SCROLLING=”YES , NO , AUTO”> ใช้กาหนดให้โปรแกรมบราวเซอร์แสดง/ซ่อนแถบ เลื่อน (Scrolling bar) ที่ด้านข้างและด้านล่างของเฟรม (FRAME) เมื่อข้อมุลมีความยาวมากกว่า 1 หน้าจอ ตัวเลือกเพื่อแสดง/ซ่อนแถบเลื่อน มี 3 ตัวเลือก YES หมายถึง แสดงแถบเลื่อน NO หมายถึง ซ่อนแถบเลื่อน AUTO หมายถึง แสดงแถบเลื่อนก็ต่อเมื่อข้อมูลมีความยาวมากกว่า 1 หน้าจอ (ค่า default) <FRAMEBORDER=” 0 , 1 “> ใช้กาหนดให้โปรแกรมบราวเซอร์แสดง/ซ่อนเส้นแบ่งเฟรม ตัวเลือก เพื่อแสดง/ซ่อนเส้นแบ่งเฟรม มี 2 ตัวเลือก คือ 0 หมายถึง ซ่อนเส้นแบ่งเฟรม 1 หมายถึง แสดงเส้นแบ่งเฟรม border="1" กาหนดขนาดความหนาของเส้นแบ่งเฟรม (Frame) bordercolor="#0033FF" กาหนดสีของเส้นแบ่งเฟรม (Frame) <NORESIZE>ใช้กาหนดให้ผู้ใช้ไม่สามารถปรับเปลี่ยนขนาดของเฟรมได้ โดยปกติจะสามารถปรับได้ โดยคลิกเมาส์ที่เส้นแบ่งเฟรม
  • 3. ครูผู้สอน นายไกรลาศ จิบจันทร์ ตัวอย่างจากแฟ้มข้อมูล (File) ชื่อ Test.html <html> <head> <title>ยินดีต้อนรับเข้าสู่เว็บไซด์ของฉัน</title> </head> <frameset cols = "155,*" frameborder="YES" border="1" framespacing="1" bordercolor="#0033FF"> <frame name = "menu" noresize src = "p1.html"> <frame name = "mainframe" noresize src = "p2.html" > </frameset> </body> </html> ผลลัพธ์เมื่อแสดงผลบนโปรแกรม อินเตอร์เน็ต จะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ซ้าย และขวา ดังรูป เฟรมซ้าย เฟรมขวา
  • 4. ครูผู้สอน นายไกรลาศ จิบจันทร์ การแบ่งเว็บเพจออกเป็นเฟรมตามแนวแถวและคอลัมน์ เราสามารถแบ่งเว็บเพจตามแนวแถวและคอลัมน์พร้อมๆ กันบนหน้าเว็บเพจเดียวกัน ดังตัวอย่าง <HTML> <HEAD> <TITLE>ตัวอย่างเฟรม</TITLE> </HEAD> <FRAMESET Rows=30%,*> <FRAME SRC="TOP.HTML"> <FRAMESET Cols=180,*> <FRAME SRC="LEFT.HTML"> <FRAME SRC="RIGHT.HTML"> </FRAMESET> </FRAMESET> <NOFRAMES> <BODY> </BODY> </NOFRAMES> </HTML> ผลลัพธ์เมื่อแสดงผลบนโปรแกรม อินเตอร์เน็ต จะแบ่งออกเป็น 3 ส่วน บน ซ้าย และขวา ดังรูป เฟรมบน เฟรมซ้าย เฟรมขวา