SlideShare a Scribd company logo
ห น้ า !|"5"
!
!
ใบกิจกรรมที่ 1
แกว่งลูกตุ้ม
คําชี้แจง ให้นักเรียนดูวีดีทัศน์ แกว่งลูกตุ้ม พร้อมตอบคําถามท้ายกิจกรรม
อ้างอิงมาจาก https://youtu.be/ip0PvOSj2AI!
1. นักเรียนคิดว่าการเคลื่อนที่ของลูกตุ้มมีลักษณะแตกต่างกับการเคลื่อนที่แนวตรงอย่างไร
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
ห น้ า !|"6"
!
!
ใบกิจกรรมที่ 2
การเคลื่อนที่แบบแกว่ง
คําสั่ง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทํากิจกรรมที่ 1.5 ตามหนังสือเรียนหน้า 37 โดยสังเกตผล
และอภิปรายร่วมกัน จนได้ข้อสรุป
กิจกรรมที่ 1.5 การเคลื่อนที่แบบแกว่ง
จุดประสงค์
เพื่อให้นักเรียนศึกษาหาความสัมพันธ์ของคาบ มวลของวัตถุ ความยาวเชือก
ในการแกว่งลูกตุ้ม
วัสดุอุปกรณ์
1. เชือก
2. นอต
3. ขาตั้งพร้อมฐาน
วิธีทํา
ตอนที่ 1
1. จัดอุปกรณ์ดังภาพ ผลักนอตให้แกว่งตั้งต้นโดยให้เส้นเชือกทํามุมประมาณ 10 องศา
ตลอดการทดลองกับแนวดิ่ง จับเวลาที่นอตแกว่ง ครบ 10 รอบ คํานวณหาคาบการแกว่ง
ตอนที่ 2
2. ทํากิจกรรมเหมือนตอนที่ 1 แต่ ศึกษาว่ามวลของนอตมีผลต่อคาบหรือไม่ อย่างไร
โดยใช้ความยาวเชือกคงตัว
ตอนที่ 3
3. ทํากิจกรรมเหมือนตอนที่ 1 แต่ ศึกษาว่าความยาวของเชือกมีผลต่อคาบหรือไม่อย่างไร
โดยใช้มวลคงตัว
ห น้ า !|"7"
!
!
ตารางบันทึกผลการทดลอง ตอนที่ 1 ศึกษาคาบเวลาในการแกว่งนอต
จํานวนนอต
(ตัว)
ความยาวเชือก
(เซนติเมตร)
เวลาที่ใช้ 10 รอบ
(วินาที)
คาบเวลา
(วินาที)
ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 เฉลี่ย
1 ตัว 60
ตารางบันทึกผลการทดลอง ตอนที่ 2 ศึกษาคาบเวลาที่สัมพันธ์กับมวลนอต
จํานวนนอต
(ตัว)
ความยาวเชือก
(เซนติเมตร)
เวลาที่ใช้ 10 รอบ
(วินาที)
คาบเวลา
(วินาที)
ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 เฉลี่ย
1 ตัว 60
2 ตัว 60
3 ตัว 60
ตารางบันทึกผลการทดลอง ตอนที่ 3 ศึกษาคาบเวลาที่สัมพันธ์กับความยาวเชือก
จํานวนนอต
(ตัว)
ความยาวเชือก
(เซนติเมตร)
เวลาที่ใช้ 10 รอบ
(วินาที)
คาบเวลา
(วินาที)
ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 เฉลี่ย
1 ตัว 60
1 ตัว 40
1 ตัว 20
คําถามท้ายการทดลอง
1. เหตุใด การหาคาบการแกว่งจึงต้องจับเวลาในการเคลื่อนที่หลายๆ รอบ
2. เมื่อความยาวเชือกคงตัว แต่มวลของนอตไม่คงตัว
คาบการแกว่งเปลี่ยนแปลงหรือไม่
3. เมื่อมวลของนอตคงตัว แต่ความยาวเชือกไม่คงตัว
คาบการแกว่งเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร
4. สรุปผลกิจกรรมนี้ได้อย่างไร
ห น้ า !|"8"
!
!
แบบบันทึกกิจกรรมที่ 1.5 การเคลื่อนที่แบบแกว่ง
กลุ่มที่.................ชื่อกลุ่ม..........................................................................................................
วันที่ทํากิจกรรม วันที่...............เดือน.................................................พ.ศ....................
กิจกรรมที่ 1.5 การเคลื่อนที่แบบแกว่ง
จุดประสงค์
เพื่อให้นักเรียนศึกษาหาความสัมพันธ์ของคาบ มวลของวัตถุ ความยาวเชือก
ในการแกว่งลูกตุ้ม
วัสดุอุปกรณ์
...................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
................................................................................................................................................
ตารางบันทึกผลการทดลอง ตอนที่ 1 ศึกษาคาบเวลาในการแกว่งนอต
จํานวนนอต
(ตัว)
ความยาวเชือก
(เซนติเมตร)
เวลาที่ใช้ 10 รอบ
(วินาที)
คาบเวลา
(วินาที)
ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 เฉลี่ย
1 ตัว 60
ตารางบันทึกผลการทดลอง ตอนที่ 2 ศึกษาคาบเวลาที่สัมพันธ์กับมวลนอต
จํานวนนอต
(ตัว)
ความยาวเชือก
(เซนติเมตร)
เวลาที่ใช้ 10 รอบ
(วินาที)
คาบเวลา
(วินาที)
ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 เฉลี่ย
1 ตัว 60
2 ตัว 60
3 ตัว 60
ห น้ า !|"9"
!
!
ตารางบันทึกผลการทดลอง ตอนที่ 3 ศึกษาคาบเวลาที่สัมพันธ์กับความยาวเชือก
จํานวนนอต
(ตัว)
ความยาวเชือก
(เซนติเมตร)
เวลาที่ใช้ 10 รอบ
(วินาที)
คาบเวลา
(วินาที)
ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 เฉลี่ย
1 ตัว 60
1 ตัว 40
1 ตัว 20
คําถามท้ายการทดลอง
1. เหตุใด การหาคาบการแกว่งจึงต้องจับเวลาในการเคลื่อนที่หลายๆ รอบ
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
2. เมื่อความยาวเชือกคงตัว แต่มวลของนอตไม่คงตัว คาบการแกว่งเปลี่ยนแปลงหรือไม่
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
3. เมื่อมวลของนอตคงตัว แต่ความยาวเชือกไม่คงตัว คาบการแกว่งเปลี่ยนแปลงหรือไม่
อย่างไร
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
4. สรุปผลกิจกรรมนี้ได้อย่างไร
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
ห น้ า !|"10"
!
!
ใบความรู้ที่ 1
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกส์อย่างง่าย
ถ้านักเรียนนั่งชิงช้าแล้วทําให้ชิงช้าแกว่ง นักเรียนจะเคลื่อนที่กลับไป กลับมาซ้ําทางเดิม
หลายครั้ง โดยขณะแกว่งออกไปถึงตําแหน่งหนึ่งก็จะหยุด แล้วแกว่งกลับไปสู่อีกทางหนึ่งทันที
และเมื่อถึงอีกตําแหน่งหนึ่ง ก็จะหยุดชั่วขณะ แล้วแกว่งกลับมาซ้ําทางเดิม
พิจารณาภาพ เมื่อนอตเคลื่อนที่จาก A ไปหยุดที่ B กลับมาที่ A ไปหยุดที่ C
แล้วกลับมาที่ A อีกครั้งหนึ่ง เป็นการเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ ในการเคลื่อนที่กลับไปกลับมาครบ
1 รอบ เรียกว่า คาบ จํานวนรอบของการเคลื่อนที่ใน 1 วินาที เรียกว่าความถี่ มีหน่วย
รอบต่อวินาที หรือเฮิรตซ์ การเคลื่อนที่จาก A ไป B หรือ A ไป C
ซึ่งมีการกระจัดสูงสุดจากแนวสมดุล เรียกว่า แอมพลิจูด (Amplitude)
การเคลื่อนที่กลับไปมาซ้ําทางเดิมของวัตถุโดยมุมที่เบนจากแนวดิ่งหรือแนวสมดุลไปถึงแ
นวที่วัตถุหยุดมีค่าคงตัว และด้วยความถี่ค่าเดียว เรียกว่า การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกส์อย่างง่าย
(simple harmonic motion)
ห น้ า !|"11"
!
!
ใบกิจกรรมที่ 3
ฮาร์มอนิกส์อย่างง่าย
คําสั่ง ให้นักเรียนเขียนอธิบายคําตอบที่โจทย์ต้องการโดยสังเขป
1. การแกว่งชิงช้าเป็นการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกส์อย่างง่าย หรือไม่ อธิบายประกอบ
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
2. ขณะที่นอตแกว่งไป มา ครบ 1 รอบ มีปริมาณอะไรบ้างที่เกิดขึ้น
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
ห น้ า !|"12"
!
!
ใบความรู้ที่ 2
การสั่นของมวลติดสปริง
นอกจากการแกว่งของนอตที่ผูกติดปลายเชือกแล้ว
ถ้านําลูกตุ้มมาติดกับปลายลวดสปริงในแนวดิ่ง สปริงจะยืดออกจนหยุดนิ่ง เรียกว่า
สปริงอยู่ในภาวะสมดุล ถ้ามีแรงภายนอกมาดึงลูกตุ้ม แล้วปล่อยให้ลูกตุ้มเคลื่อนที่ ขึ้น – ลง
ในแนวดิ่ง ดังภาพ
ในช่วงเวลาหนึ่งลูกตุ้มเคลื่อนที่ขึ้น - ลง
ผ่านตําแหน่งสมดุลซ้ํารอบเดิมและมีระยะห่างจากตําแหน่งสมดุลคงตัว ซึ่งเป็นค่าสูงสุดเรียกว่า
แอมพลิจูด แสดงว่าลูกตุ้มเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกส์อย่างง่าย
ห น้ า !|"13"
!
!
แบบฝึกทักษะที่ 1
นาฬิกาลูกตุ้ม
คําสั่ง ให้นักเรียนเขียนอธิบายคําตอบที่โจทย์ต้องการโดยสังเขป
1. ส่วนใดของนาฬิกาที่มีการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกส์อย่างง่าย
.....................................................................................................................................
.....................................................................................................................................
.....................................................................................................................................
.....................................................................................................................................
.....................................................................................................................................
.....................................................................................................................................
2. ถ้ามวลของวัตถุเปลี่ยนจะมีผลต่อคาบของการเคลื่อนที่กลับไป กลับมาหรือไม่
.....................................................................................................................................
.....................................................................................................................................
.....................................................................................................................................
.....................................................................................................................................
.....................................................................................................................................
.....................................................................................................................................
ห น้ า !|"14"
!
!
ใบกิจกรรมที่ 4
การนําไปใช้ประโยชน์
คําชี้แจง ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายในกลุ่ม แล้วนําเสนอ
ตัวอย่างการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกส์อย่างง่ายในชีวิตประจําวันของเรา หน้าชั้นเรียน
กลุ่มที่.................ชื่อกลุ่ม..........................................................................................................
วันที่ทํากิจกรรม วันที่...............เดือน.................................................พ.ศ....................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
ห น้ า !|"15"
!
!
แบบฝึกทักษะที่ 2
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกส์
คําสั่ง ให้นักเรียนเขียนอธิบายคําตอบที่โจทย์ต้องการโดยสังเขป
1. การทดลองเรื่องการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกส์อย่างง่าย ถ้าลูกตุ้มเคลื่อนที่จาก A ไป B ไป
C แล้วกลับมา B ดังภาพ ใช้เวลา 3 วินาที คาบของการเคลื่อนที่มีค่าเท่าใด
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
2. ในการสั่นของลูกตุ้มติดปลายสปริงขึ้น - ลง หนึ่งรอบ
อัตราเร็วของลูกตุ้มเปลี่ยนแปลงหรือไม่
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
.................................................................................................................................
...................................................................................................................................
3. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ได้ทําให้วัตถุมีการเคลื่อนที่แบบอาร์มอนิกส์อย่างง่าย
1). แขวนลูกตุ้มด้วยเชือกในแนวดิ่ง
ผลักลูกตุ้มให้แกว่งเป็นวงกลมโดยเส้นเชือกทํามุมคงตัวกับแนวดิ่ง
...................................................................................................................................
2). แขวนลูกตุ้มด้วยเชือกในแนวดิ่ง
ดึงลูกตุ้มออกมาจนเชือกทํามุมกับแนวดิ่งเล็กน้อยแล้วปล่อยมือ
...................................................................................................................................
3).ผูกวัตถุกับปลายสปริงในแนวระดับ
ตรึงอีกด้านของสปริงไว้ดึงวัตถุให้สปริงยืดออกเล็กน้อย แล้วปล่อยมือ
...................................................................................................................................
4). ผูกวัตถุกับปลายสปริงในแนวดิ่ง ตรึงอีกด้านของสปริงไว้ ดึง
วัตถุให้สปริงยืดออกเล็กน้อยแล้วปล่อยมือ
...................................................................................................................................
ห น้ า !|"16"
!
!
ใบกิจกรรมที่ 5
ผังความคิด
คําสั่ง ให้นักเรียนเขียนผังความคิด เรื่อง การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกส์อย่างง่าย

More Related Content

What's hot

Manual proteus (thai)
Manual proteus (thai)Manual proteus (thai)
Manual proteus (thai)Apple Nongmui
 
เค้าโครงโครงงานชีววิทยา
เค้าโครงโครงงานชีววิทยาเค้าโครงโครงงานชีววิทยา
เค้าโครงโครงงานชีววิทยาWichai Likitponrak
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 20
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 20สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 20
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 20Tongsamut vorasan
 
การเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่แนวตรงการเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่แนวตรง
MaMuiiApinya
 
3.parabola
3.parabola3.parabola
3.parabola
Kuntoonbut Wissanu
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6Jaar Alissala
 
วงจรไอซีและการประยุคใช้งาน 3.1ผ 2551
วงจรไอซีและการประยุคใช้งาน 3.1ผ 2551วงจรไอซีและการประยุคใช้งาน 3.1ผ 2551
วงจรไอซีและการประยุคใช้งาน 3.1ผ 2551guest1cd0265
 
ใบกิจกรรมที่ 4 (ฝากไฟล์)
ใบกิจกรรมที่ 4 (ฝากไฟล์)ใบกิจกรรมที่ 4 (ฝากไฟล์)
ใบกิจกรรมที่ 4 (ฝากไฟล์)
บุษรากร ขนันทอง
 
Dhamma.kancana.52
Dhamma.kancana.52Dhamma.kancana.52
Dhamma.kancana.52dararat jim
 

What's hot (10)

Order gsp
Order gspOrder gsp
Order gsp
 
Manual proteus (thai)
Manual proteus (thai)Manual proteus (thai)
Manual proteus (thai)
 
เค้าโครงโครงงานชีววิทยา
เค้าโครงโครงงานชีววิทยาเค้าโครงโครงงานชีววิทยา
เค้าโครงโครงงานชีววิทยา
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 20
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 20สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 20
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 20
 
การเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่แนวตรงการเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่แนวตรง
 
3.parabola
3.parabola3.parabola
3.parabola
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
 
วงจรไอซีและการประยุคใช้งาน 3.1ผ 2551
วงจรไอซีและการประยุคใช้งาน 3.1ผ 2551วงจรไอซีและการประยุคใช้งาน 3.1ผ 2551
วงจรไอซีและการประยุคใช้งาน 3.1ผ 2551
 
ใบกิจกรรมที่ 4 (ฝากไฟล์)
ใบกิจกรรมที่ 4 (ฝากไฟล์)ใบกิจกรรมที่ 4 (ฝากไฟล์)
ใบกิจกรรมที่ 4 (ฝากไฟล์)
 
Dhamma.kancana.52
Dhamma.kancana.52Dhamma.kancana.52
Dhamma.kancana.52
 

Similar to การเคลื่อนที่แบบซิมเปอร์ฮาร์มอนิกส์อย่างง่าย

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10watdang
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9watdang
 
แผนปฐมนิเทศ 1
แผนปฐมนิเทศ  1แผนปฐมนิเทศ  1
แผนปฐมนิเทศ 1watdang
 
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555ทับทิม เจริญตา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11watdang
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11watdang
 
แผนคอมฯ ม.2 2
แผนคอมฯ ม.2 2แผนคอมฯ ม.2 2
แผนคอมฯ ม.2 2Surapong Jakang
 
Pisa
PisaPisa
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timssNirut Uthatip
 
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timssNaughtily NaRee
 
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timssNirut Uthatip
 
ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSS
ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSSตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSS
ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSSkunkrooyim
 
Scireleaseditem pisa-timss
Scireleaseditem pisa-timssScireleaseditem pisa-timss
Scireleaseditem pisa-timssBiobiome
 
14 ตัวอย่างการประเมินผลนานาชาติ คณิตศาสตร์
14 ตัวอย่างการประเมินผลนานาชาติ คณิตศาสตร์14 ตัวอย่างการประเมินผลนานาชาติ คณิตศาสตร์
14 ตัวอย่างการประเมินผลนานาชาติ คณิตศาสตร์Nirut Uthatip
 
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการแบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
Kittiphat Chitsawang
 
09+heap6+dltv54+แบบทดสอบเรื่อง สมรรถภาพของร่างกาย
09+heap6+dltv54+แบบทดสอบเรื่อง สมรรถภาพของร่างกาย09+heap6+dltv54+แบบทดสอบเรื่อง สมรรถภาพของร่างกาย
09+heap6+dltv54+แบบทดสอบเรื่อง สมรรถภาพของร่างกาย
Prachoom Rangkasikorn
 
09+heap4+dltv54+แบบทดสอบเรื่อง สมรรถภาพของร่างกาย
09+heap4+dltv54+แบบทดสอบเรื่อง สมรรถภาพของร่างกาย09+heap4+dltv54+แบบทดสอบเรื่อง สมรรถภาพของร่างกาย
09+heap4+dltv54+แบบทดสอบเรื่อง สมรรถภาพของร่างกาย
Prachoom Rangkasikorn
 
ชิ้นงานแอนิเมชั่น
ชิ้นงานแอนิเมชั่นชิ้นงานแอนิเมชั่น
ชิ้นงานแอนิเมชั่นfon_parichat
 

Similar to การเคลื่อนที่แบบซิมเปอร์ฮาร์มอนิกส์อย่างง่าย (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
 
แผนปฐมนิเทศ 1
แผนปฐมนิเทศ  1แผนปฐมนิเทศ  1
แผนปฐมนิเทศ 1
 
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
 
แผนคอมฯ ม.2 2
แผนคอมฯ ม.2 2แผนคอมฯ ม.2 2
แผนคอมฯ ม.2 2
 
Pisa
PisaPisa
Pisa
 
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
 
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss
 
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
 
ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSS
ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSSตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSS
ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSS
 
Scireleaseditem pisa-timss
Scireleaseditem pisa-timssScireleaseditem pisa-timss
Scireleaseditem pisa-timss
 
14 ตัวอย่างการประเมินผลนานาชาติ คณิตศาสตร์
14 ตัวอย่างการประเมินผลนานาชาติ คณิตศาสตร์14 ตัวอย่างการประเมินผลนานาชาติ คณิตศาสตร์
14 ตัวอย่างการประเมินผลนานาชาติ คณิตศาสตร์
 
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการแบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
 
Opac exam
Opac examOpac exam
Opac exam
 
09+heap6+dltv54+แบบทดสอบเรื่อง สมรรถภาพของร่างกาย
09+heap6+dltv54+แบบทดสอบเรื่อง สมรรถภาพของร่างกาย09+heap6+dltv54+แบบทดสอบเรื่อง สมรรถภาพของร่างกาย
09+heap6+dltv54+แบบทดสอบเรื่อง สมรรถภาพของร่างกาย
 
09+heap4+dltv54+แบบทดสอบเรื่อง สมรรถภาพของร่างกาย
09+heap4+dltv54+แบบทดสอบเรื่อง สมรรถภาพของร่างกาย09+heap4+dltv54+แบบทดสอบเรื่อง สมรรถภาพของร่างกาย
09+heap4+dltv54+แบบทดสอบเรื่อง สมรรถภาพของร่างกาย
 
แผนการสอน..
แผนการสอน..แผนการสอน..
แผนการสอน..
 
ชิ้นงานแอนิเมชั่น
ชิ้นงานแอนิเมชั่นชิ้นงานแอนิเมชั่น
ชิ้นงานแอนิเมชั่น
 

Recently uploaded

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (9)

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 

การเคลื่อนที่แบบซิมเปอร์ฮาร์มอนิกส์อย่างง่าย

  • 1. ห น้ า !|"5" ! ! ใบกิจกรรมที่ 1 แกว่งลูกตุ้ม คําชี้แจง ให้นักเรียนดูวีดีทัศน์ แกว่งลูกตุ้ม พร้อมตอบคําถามท้ายกิจกรรม อ้างอิงมาจาก https://youtu.be/ip0PvOSj2AI! 1. นักเรียนคิดว่าการเคลื่อนที่ของลูกตุ้มมีลักษณะแตกต่างกับการเคลื่อนที่แนวตรงอย่างไร ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ......................................................................................................................................
  • 2. ห น้ า !|"6" ! ! ใบกิจกรรมที่ 2 การเคลื่อนที่แบบแกว่ง คําสั่ง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทํากิจกรรมที่ 1.5 ตามหนังสือเรียนหน้า 37 โดยสังเกตผล และอภิปรายร่วมกัน จนได้ข้อสรุป กิจกรรมที่ 1.5 การเคลื่อนที่แบบแกว่ง จุดประสงค์ เพื่อให้นักเรียนศึกษาหาความสัมพันธ์ของคาบ มวลของวัตถุ ความยาวเชือก ในการแกว่งลูกตุ้ม วัสดุอุปกรณ์ 1. เชือก 2. นอต 3. ขาตั้งพร้อมฐาน วิธีทํา ตอนที่ 1 1. จัดอุปกรณ์ดังภาพ ผลักนอตให้แกว่งตั้งต้นโดยให้เส้นเชือกทํามุมประมาณ 10 องศา ตลอดการทดลองกับแนวดิ่ง จับเวลาที่นอตแกว่ง ครบ 10 รอบ คํานวณหาคาบการแกว่ง ตอนที่ 2 2. ทํากิจกรรมเหมือนตอนที่ 1 แต่ ศึกษาว่ามวลของนอตมีผลต่อคาบหรือไม่ อย่างไร โดยใช้ความยาวเชือกคงตัว ตอนที่ 3 3. ทํากิจกรรมเหมือนตอนที่ 1 แต่ ศึกษาว่าความยาวของเชือกมีผลต่อคาบหรือไม่อย่างไร โดยใช้มวลคงตัว
  • 3. ห น้ า !|"7" ! ! ตารางบันทึกผลการทดลอง ตอนที่ 1 ศึกษาคาบเวลาในการแกว่งนอต จํานวนนอต (ตัว) ความยาวเชือก (เซนติเมตร) เวลาที่ใช้ 10 รอบ (วินาที) คาบเวลา (วินาที) ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 เฉลี่ย 1 ตัว 60 ตารางบันทึกผลการทดลอง ตอนที่ 2 ศึกษาคาบเวลาที่สัมพันธ์กับมวลนอต จํานวนนอต (ตัว) ความยาวเชือก (เซนติเมตร) เวลาที่ใช้ 10 รอบ (วินาที) คาบเวลา (วินาที) ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 เฉลี่ย 1 ตัว 60 2 ตัว 60 3 ตัว 60 ตารางบันทึกผลการทดลอง ตอนที่ 3 ศึกษาคาบเวลาที่สัมพันธ์กับความยาวเชือก จํานวนนอต (ตัว) ความยาวเชือก (เซนติเมตร) เวลาที่ใช้ 10 รอบ (วินาที) คาบเวลา (วินาที) ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 เฉลี่ย 1 ตัว 60 1 ตัว 40 1 ตัว 20 คําถามท้ายการทดลอง 1. เหตุใด การหาคาบการแกว่งจึงต้องจับเวลาในการเคลื่อนที่หลายๆ รอบ 2. เมื่อความยาวเชือกคงตัว แต่มวลของนอตไม่คงตัว คาบการแกว่งเปลี่ยนแปลงหรือไม่ 3. เมื่อมวลของนอตคงตัว แต่ความยาวเชือกไม่คงตัว คาบการแกว่งเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร 4. สรุปผลกิจกรรมนี้ได้อย่างไร
  • 4. ห น้ า !|"8" ! ! แบบบันทึกกิจกรรมที่ 1.5 การเคลื่อนที่แบบแกว่ง กลุ่มที่.................ชื่อกลุ่ม.......................................................................................................... วันที่ทํากิจกรรม วันที่...............เดือน.................................................พ.ศ.................... กิจกรรมที่ 1.5 การเคลื่อนที่แบบแกว่ง จุดประสงค์ เพื่อให้นักเรียนศึกษาหาความสัมพันธ์ของคาบ มวลของวัตถุ ความยาวเชือก ในการแกว่งลูกตุ้ม วัสดุอุปกรณ์ ................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ................................................................................................................................................ ตารางบันทึกผลการทดลอง ตอนที่ 1 ศึกษาคาบเวลาในการแกว่งนอต จํานวนนอต (ตัว) ความยาวเชือก (เซนติเมตร) เวลาที่ใช้ 10 รอบ (วินาที) คาบเวลา (วินาที) ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 เฉลี่ย 1 ตัว 60 ตารางบันทึกผลการทดลอง ตอนที่ 2 ศึกษาคาบเวลาที่สัมพันธ์กับมวลนอต จํานวนนอต (ตัว) ความยาวเชือก (เซนติเมตร) เวลาที่ใช้ 10 รอบ (วินาที) คาบเวลา (วินาที) ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 เฉลี่ย 1 ตัว 60 2 ตัว 60 3 ตัว 60
  • 5. ห น้ า !|"9" ! ! ตารางบันทึกผลการทดลอง ตอนที่ 3 ศึกษาคาบเวลาที่สัมพันธ์กับความยาวเชือก จํานวนนอต (ตัว) ความยาวเชือก (เซนติเมตร) เวลาที่ใช้ 10 รอบ (วินาที) คาบเวลา (วินาที) ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 เฉลี่ย 1 ตัว 60 1 ตัว 40 1 ตัว 20 คําถามท้ายการทดลอง 1. เหตุใด การหาคาบการแกว่งจึงต้องจับเวลาในการเคลื่อนที่หลายๆ รอบ ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... 2. เมื่อความยาวเชือกคงตัว แต่มวลของนอตไม่คงตัว คาบการแกว่งเปลี่ยนแปลงหรือไม่ ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... 3. เมื่อมวลของนอตคงตัว แต่ความยาวเชือกไม่คงตัว คาบการแกว่งเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... 4. สรุปผลกิจกรรมนี้ได้อย่างไร ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ......................................................................................................................................
  • 6. ห น้ า !|"10" ! ! ใบความรู้ที่ 1 การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกส์อย่างง่าย ถ้านักเรียนนั่งชิงช้าแล้วทําให้ชิงช้าแกว่ง นักเรียนจะเคลื่อนที่กลับไป กลับมาซ้ําทางเดิม หลายครั้ง โดยขณะแกว่งออกไปถึงตําแหน่งหนึ่งก็จะหยุด แล้วแกว่งกลับไปสู่อีกทางหนึ่งทันที และเมื่อถึงอีกตําแหน่งหนึ่ง ก็จะหยุดชั่วขณะ แล้วแกว่งกลับมาซ้ําทางเดิม พิจารณาภาพ เมื่อนอตเคลื่อนที่จาก A ไปหยุดที่ B กลับมาที่ A ไปหยุดที่ C แล้วกลับมาที่ A อีกครั้งหนึ่ง เป็นการเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ ในการเคลื่อนที่กลับไปกลับมาครบ 1 รอบ เรียกว่า คาบ จํานวนรอบของการเคลื่อนที่ใน 1 วินาที เรียกว่าความถี่ มีหน่วย รอบต่อวินาที หรือเฮิรตซ์ การเคลื่อนที่จาก A ไป B หรือ A ไป C ซึ่งมีการกระจัดสูงสุดจากแนวสมดุล เรียกว่า แอมพลิจูด (Amplitude) การเคลื่อนที่กลับไปมาซ้ําทางเดิมของวัตถุโดยมุมที่เบนจากแนวดิ่งหรือแนวสมดุลไปถึงแ นวที่วัตถุหยุดมีค่าคงตัว และด้วยความถี่ค่าเดียว เรียกว่า การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกส์อย่างง่าย (simple harmonic motion)
  • 7. ห น้ า !|"11" ! ! ใบกิจกรรมที่ 3 ฮาร์มอนิกส์อย่างง่าย คําสั่ง ให้นักเรียนเขียนอธิบายคําตอบที่โจทย์ต้องการโดยสังเขป 1. การแกว่งชิงช้าเป็นการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกส์อย่างง่าย หรือไม่ อธิบายประกอบ ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... 2. ขณะที่นอตแกว่งไป มา ครบ 1 รอบ มีปริมาณอะไรบ้างที่เกิดขึ้น ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ......................................................................................................................................
  • 8. ห น้ า !|"12" ! ! ใบความรู้ที่ 2 การสั่นของมวลติดสปริง นอกจากการแกว่งของนอตที่ผูกติดปลายเชือกแล้ว ถ้านําลูกตุ้มมาติดกับปลายลวดสปริงในแนวดิ่ง สปริงจะยืดออกจนหยุดนิ่ง เรียกว่า สปริงอยู่ในภาวะสมดุล ถ้ามีแรงภายนอกมาดึงลูกตุ้ม แล้วปล่อยให้ลูกตุ้มเคลื่อนที่ ขึ้น – ลง ในแนวดิ่ง ดังภาพ ในช่วงเวลาหนึ่งลูกตุ้มเคลื่อนที่ขึ้น - ลง ผ่านตําแหน่งสมดุลซ้ํารอบเดิมและมีระยะห่างจากตําแหน่งสมดุลคงตัว ซึ่งเป็นค่าสูงสุดเรียกว่า แอมพลิจูด แสดงว่าลูกตุ้มเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกส์อย่างง่าย
  • 9. ห น้ า !|"13" ! ! แบบฝึกทักษะที่ 1 นาฬิกาลูกตุ้ม คําสั่ง ให้นักเรียนเขียนอธิบายคําตอบที่โจทย์ต้องการโดยสังเขป 1. ส่วนใดของนาฬิกาที่มีการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกส์อย่างง่าย ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... 2. ถ้ามวลของวัตถุเปลี่ยนจะมีผลต่อคาบของการเคลื่อนที่กลับไป กลับมาหรือไม่ ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... .....................................................................................................................................
  • 10. ห น้ า !|"14" ! ! ใบกิจกรรมที่ 4 การนําไปใช้ประโยชน์ คําชี้แจง ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายในกลุ่ม แล้วนําเสนอ ตัวอย่างการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกส์อย่างง่ายในชีวิตประจําวันของเรา หน้าชั้นเรียน กลุ่มที่.................ชื่อกลุ่ม.......................................................................................................... วันที่ทํากิจกรรม วันที่...............เดือน.................................................พ.ศ.................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ...................................................................................................................................
  • 11. ห น้ า !|"15" ! ! แบบฝึกทักษะที่ 2 การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกส์ คําสั่ง ให้นักเรียนเขียนอธิบายคําตอบที่โจทย์ต้องการโดยสังเขป 1. การทดลองเรื่องการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกส์อย่างง่าย ถ้าลูกตุ้มเคลื่อนที่จาก A ไป B ไป C แล้วกลับมา B ดังภาพ ใช้เวลา 3 วินาที คาบของการเคลื่อนที่มีค่าเท่าใด ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... 2. ในการสั่นของลูกตุ้มติดปลายสปริงขึ้น - ลง หนึ่งรอบ อัตราเร็วของลูกตุ้มเปลี่ยนแปลงหรือไม่ ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................. ................................................................................................................................... 3. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ได้ทําให้วัตถุมีการเคลื่อนที่แบบอาร์มอนิกส์อย่างง่าย 1). แขวนลูกตุ้มด้วยเชือกในแนวดิ่ง ผลักลูกตุ้มให้แกว่งเป็นวงกลมโดยเส้นเชือกทํามุมคงตัวกับแนวดิ่ง ................................................................................................................................... 2). แขวนลูกตุ้มด้วยเชือกในแนวดิ่ง ดึงลูกตุ้มออกมาจนเชือกทํามุมกับแนวดิ่งเล็กน้อยแล้วปล่อยมือ ................................................................................................................................... 3).ผูกวัตถุกับปลายสปริงในแนวระดับ ตรึงอีกด้านของสปริงไว้ดึงวัตถุให้สปริงยืดออกเล็กน้อย แล้วปล่อยมือ ................................................................................................................................... 4). ผูกวัตถุกับปลายสปริงในแนวดิ่ง ตรึงอีกด้านของสปริงไว้ ดึง วัตถุให้สปริงยืดออกเล็กน้อยแล้วปล่อยมือ ...................................................................................................................................
  • 12. ห น้ า !|"16" ! ! ใบกิจกรรมที่ 5 ผังความคิด คําสั่ง ให้นักเรียนเขียนผังความคิด เรื่อง การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกส์อย่างง่าย