SlideShare a Scribd company logo
พะยูน DUGONG OR SEA COW
ชื่อทางวิทยาศาสตร์ Dugong dugon อันดับหรือวงศ์ Dogongidae ชื่อเรียกอื่นๆ หมูน้ำ หรือ ปลาดูหยง
ประวัติความเป็นมา ถูกค้นพบครั้งแรกปี พ.ศ. 2319ต้นแบบที่จับได้จากน่านน้ำแหลมกู๊ดโฮปถึงฟิลิปปินส์ มีรูปร่างคล้ายวาฬ  จึงถูกจัดรวมอยู่ในอันดับเดียวกันคือ Cetaceaแต่จากการศึกษาลักษณะโครงสร้างโดยละเอียดพบว่าแตกต่างกันมาก ขนาดเล็กกว่า หัวกลม รูจมูกแยกจากกัน เป็นปลาเล็ก มีฟันหน้าและฟันกรามพัฒนาดี ไม่เป็นฟันยอดแหลมธรรมดาเหมือน ๆ กันอย่างวาฬ และมีเส้นขนที่ริมฝีปากตลอดชีวิต จึงมีการจำแนกออกตั้งเป็นอันดับใหม่ คือ Sirenia
[object Object]
 พะยูนไม่มีครีบหลังหาง ซึ่งแผ่แบนแยกเป็นสองแฉกคล้ายหางปลา      ในแนวราบ ไม่มีแกนกระดูก ,[object Object],      หรือพะยูนแถบทวีปอเมริกา ,[object Object],      ลักษณะคล้ายงาช้างยื่นมาชัดเจน ,[object Object],      ริมฝีปากบนหนา มีขนหนวดขึ้นประปรายเมื่อโตเต็มที่  ,[object Object],      ขนาดของครีบหางกว้าง ~0.75 - 0.85 ขนาดวัดรอบอก ~1.6 - 2.5 ม.        ครีบอกหรือขาหน้ายาว ~0.35 - 0.45 ม. น้ำหนักตัว ~280 กก.  ลักษณะเด่น
การกระจายพันธุ์ 	พบอาศัยอยู่ตามชายฝั่งมหาสมุทรอินเดียและแปซิฟิก และตอนเหนือของทวีปออสเตรเลีย  	ในประเทศไทยเคยมีพะยูนอาศัยอยู่ตามชายฝั่งทะเลทั้ง 2 ด้านของประเทศ แต่ปัจจุบันคาดว่าจะมีพะยูนเหลืออยู่ไม่เกิน 70 ตัวในประเทศไทย
อุปนิสัยและการสืบพันธุ์ ,[object Object]
 ดำน้ำได้ไม่ลึก
 อยู่ใต้น้ำได้ไม่นานอย่างกับโลมาและวาฬ
 ต้องโผล่ขึ้นมาหายใจเหนือผิวน้ำอยู่เสมอ
 ลักษณะการแทะเล็มหญ้าทะเลของพะยูน ดูคล้ายการกินหญ้าของวัว
 ระยะตั้งท้องประมาณ 1 ปี
 ปกติออกลูกท้องละ 1 ตัว
 คลอกลูกใต้น้ำ
 ลูกพะยูนแรกเกิดจะต้องรีบโผล่ขึ้นมาหายใจเหนือผิวน้ำทันที
 ต่อจากนั้นจะว่ายน้ำติดตามกินนมแม่ ซึ่งมีเต้านมอยู่ใต้ครีบอกประมาณ 1 ปี       จึงจะหย่านม  ,[object Object]
 อายุยืนประมาณ 40 ปี ,[object Object]
พะยูนมีบรรพบุรุษเดียวกับช้าง? ในปี ค.ศ. 1816 De Blainvilleเป็นบุคคลแรกที่ทำการแยก ความแตกต่างระหว่างพะยูนกับโลมาและวาฬ ออกจากกัน และจัดพะยูนเข้าไว้ในกลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีกีบ (ungulates)  ในอันดับ Sireniaโดยนับว่าพะยูนมีบรรพบุรุษร่วมกัน กับช้างมาก่อน
พะยูนมีบรรพบุรุษเดียวกับช้าง? 	การศึกษาซากโบราณของพะยูนชื่อ Eotheroidesในประเทศอียิปต์ พบว่า มีลักษณะบางอย่างเหมือนและใกล้เคียงกันกับ Moeritheriumซึ่งเป็นต้น ตระกูลของช้างยุคอีโอซีนตอนต้น (Upper Eocene) หรือเมื่อ ~40 ล้านปี มาแล้ว Eotheroidesเป็นสัตว์มี 4 ขา มีฟันครบและอาศัยอยู่ในน้ำ ต่อมามี วิวัฒนาการเพื่อให้อาศัยอยู่ในน้ำได้ดีขึ้น โดยที่ขาหลังจะลดขนาดลงและ หายไปในที่สุดส่วนขาหน้าจะเปลี่ยนแปลงไปมีลักษณะคล้ายใบพายเพื่อให้ เหมาะสมกับการว่ายน้ำ
พะยูนอาศัยอยู่ที่ไหนบ้าง? ชายฝั่งทะเลในเขตร้อนและเขตกึ่งร้อนทั่วโลก  พบบริเวณมหาสมุทรอินเดียตั้งแต่ชายฝั่งตะวันออกของทวีปแอฟริกาไปจนถึงทะเลแดง  รอบๆเกาะมาดากัสการ์และอีกหลายเกาะในมหาสมุทรอินเดีย  บริเวณชายฝั่งตะวันตกของประเทศอินเดีย ศรีลังกา ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์  ลงมาถึงมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ เช่น นิวกินี บริเวณชายฝั่งทางตอนเหนือของทวีปออสเตรเลีย และหมู่เกาะต่างๆในมหาสมุทรแปซิฟิกเช่น หมู่เกาะโซโลมอน หมู่เกาะมาร์แชลล์ ตอนเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิกที่ หมู่เกาะริวกิว รวมถึงชายฝั่งตะวันออกของประเทศจีน
ปัจจุบันประเทศไทยมีพะยูนเหลือแต่ทางด้าน ทะเลอันดามันชายฝั่งด้านตะวันตกของประเทศ แหล่งที่อยู่ที่สำคัญคือบริเวณชายฝั่งทะเลอุทยานแห่งชาติเจ้าไหมและเกาะลิบง จังหวัดตรัง คาดว่ามีพะยูนเหลืออยู่ไม่เกิน 10 ตัว
ลักษณะและรูปร่างโดยทั่วไปของพะยูน น้ำหนัก: พะยูนที่พบโดยทั่วไปมีน้ำหนัก ~  200-900 กิโลกรัม  ลูกพะยูนแรกเกิดจะมีน้ำหนัก ~ 15-20 กก. ความยาว : ลำตัวของพะยูนจะวัดจากปลายสุดของริมฝีปากถึงกลางแพนหางโดยทั่วไปมีความยาว ~ 2.2-3.5 ม. ขนาดวัดรอบอก ~ 1.6-2.5 ม. ขนาดของลูกพะยูนแรกเกิดจะมีความยาวลำตัว ~ 1 ม. รูปร่างลำตัว : พะยูนจะมีลักษณะลำตัวคล้ายโลมาแต่ไม่มีครีบหลัง ลักษณะรูปร่างอ้วน ลำตัวเป็นรูปกระสวยเรียวทั้งส่วนหัวและส่วนหางทำให้ช่วยในการเคลื่อนที่ในน้ำได้สะดวก
สีผิว: พะยูนมีผิวสีน้ำตาลปนเทา บริเวณด้านบนของลำตัวเช่น หัว คอ ด้านบนของขาคู่หน้าและแพนหางจะมีสีเข้มกว่าทางด้านล่าง ผิวหนัง: หนามากและมีเส้นขนหยาบแข็งลักษณะเป็นเส้นสั้นๆ ขึ้นกระจายอยู่ทั่วลำตัวเช่นเดียวกับหนังของช้าง เส้นขนจะรวมกันเป็นกระจุกรอบๆปากทางด้านล่าง  ขนรอบปากมีส่วนช่วยในการรับความรู้สึก ขณะที่พะยูนหาอาหารและอาจใช้ค้นหาหรือคัดเลือกอาหารด้วย  หู : ของพะยูนมีขนาดเล็กและไม่มีใบหู มีลักษณะเป็นรูเปิดเล็กๆอยู่ 2 ข้างของหัวหลังลูกตา หูพะยูนสามารถรับเสียงได้ดีเมื่ออยู่ใต้น้ำ ซึ่งพะยูนเป็นสัตว์อีกชนิดหนึ่งที่มีการติดต่อสื่อสารกันใต้น้ำ
ตา: พะยูนมีขนาดเล็กอยู่ 2 ข้างของส่วนหัว สามารถรับภาพได้ดีทั้งในน้ำและบนบก ตลอดจนสามารถมองเห็นได้ดีในขณะที่มีแสงน้อย พะยูนมีหนังตาบางๆเปิดปิดได้ เมื่อพะยูนอยู่เหนือน้ำนานๆจะขับเกลือแร่ออกจากร่างกายเพื่อรักษาระดับความสมดุลของเกลือแร่ในร่างกาย โดยเกลือแร่ส่วนเกินจะถูกขับออกมาในรูปของน้ำเมือกออกมาทางลูกตา จึงคล้ายกับพะยูนมีการร้องไห้เมื่อถูกจับได้ ปาก : ของพะยูนจะอยู่ทางด้านล่างของส่วนหน้า ริมฝีปากบนเป็นก้อนเนื้อใหญ่และหนาลักษณะเป็นเหลี่ยมทู่ๆคล้ายจมูกหมู (snout) กล้ามเนื้อสามารถบังคับได้ดี ใช้ช่วยในการรวบหญ้าเข้าปากในการกินอาหารได้ดีเยี่ยม เพดานปากล่างมีลักษณะพิเศษเป็นแท่งกระดูกอ่อนหุ้มด้วยเนื้อเยื่อนิ่ม ช่วยในการขุดไถดินทรายเพื่อกินหญ้าทะเล
จมูก : ของพะยูนอยู่ปลายสุดทางส่วนบนของหัวมีจำนวน 2 รู รูเปิดของจมูกมีแผ่นเยื้อหนาเปิดและปิดได้สนิทเมื่อดำอยู่ใต้น้ำ รูจมูกจะถูกปิดขณะดำน้ำและเปิดออกเมื่อโผล่ขึ้นมาหายใจ ในขณะที่พะยูนโผล่ขึ้นมาหายใจเหนือน้ำจะโผล่เพียงส่วนจมูก ลำตัวส่วนอื่นๆจะจมอยู่ใต้น้ำตลอดเวลา ตำแหน่งของรูจมูกจะช่วยให้พะยูนโผล่ขึ้นมาเฉพาะส่วนบนของหัวเท่านั้น การหายใจใช้เวลาเร็วมากเวลาโผล่ขึ้นมาพ่นอากาศออกและสูดอากาศใหม่เข้าไปจะใช้เวลาเพียง 3 นาทีเท่านั้น นักวิทยาศาสตร์ได้ทำการตรวจสอบคุณสมบัติของ Haemoglobinในเซลเม็ดเลือดแดงของพะยูนพบว่ามีคุณสมบัติพิเศษในการดึงเอาออกซิเจนได้อย่างรวดเร็ว พบว่าพะยูนจะมีปัญหายุ่งยากในการหายใจเป็นอย่างมากเมื่ออยู่ในทะเลที่มีคลื่นลมแรง เพราะพะยูนโผล่ส่วนหัวขึ้นมาหายใจจากน้ำเพียง 3 - 4 เซนติเมตรคลื่นจะทำให้พะยูนพยายามโผล่ขึ้นมามากกว่านั้นเพื่อไม่ให้สำลักน้ำทะเลเวลาหายใจพะยูนจึงต้องใช้พลังงานมากกว่าเดิม ในออสเตรเลียมีนักวิทยาศาสตร์เคยวัดเวลาดำน้ำนานที่สุดของพะยูนที่นำมาเลี้ยงคือ 8 นาที 26 วินาที ในทะเลเวลาดำน้ำเฉลี่ยประมาณ 1 นาที 30 วินาทีและเคยวัดเวลาที่ดำน้ำนานที่สุดในทะเลประมาณ 6 นาที 40 วินาที

More Related Content

Viewers also liked

The Connection Currency
The Connection CurrencyThe Connection Currency
The Connection Currency
Linda Coles
 
Festejo Dia D La Madre.Pps 2
Festejo Dia D La Madre.Pps 2Festejo Dia D La Madre.Pps 2
Festejo Dia D La Madre.Pps 2Andres Cuestas
 
Ingenieros con ingenio coaching para ingenieros
Ingenieros con ingenio   coaching para ingenierosIngenieros con ingenio   coaching para ingenieros
Ingenieros con ingenio coaching para ingenieros
Aaron Perez Becerril
 
Blog Presentation
Blog PresentationBlog Presentation
Blog Presentationguest11f14a
 
Royal Artist Club
Royal Artist ClubRoyal Artist Club
Royal Artist Club
Anssi Mäkelä
 
The Shadow
The ShadowThe Shadow
The Shadow
Sean Cubitt
 
Conversion to gif
Conversion to gifConversion to gif
Conversion to gif
miko1808
 
Geraldo Abranches
Geraldo Abranches Geraldo Abranches
Geraldo Abranches
Diário do Comércio - MG
 
Mejores Jugadores Del Futbol Argentino
Mejores Jugadores Del Futbol ArgentinoMejores Jugadores Del Futbol Argentino
Mejores Jugadores Del Futbol Argentino
guest03364c6
 
2008 Pictures Of Earth
2008 Pictures  Of  Earth2008 Pictures  Of  Earth
2008 Pictures Of Earthteandson
 
School Mandates and How They are Paid
School Mandates and How They are PaidSchool Mandates and How They are Paid
School Mandates and How They are PaidUnshackle Upstate
 
North Country Chamber Results
North Country Chamber ResultsNorth Country Chamber Results
North Country Chamber Results
Unshackle Upstate
 
POWER POINT cargols 2011-12
POWER POINT cargols 2011-12 POWER POINT cargols 2011-12
POWER POINT cargols 2011-12 Cucaferatona
 

Viewers also liked (16)

The Connection Currency
The Connection CurrencyThe Connection Currency
The Connection Currency
 
Festejo Dia D La Madre.Pps 2
Festejo Dia D La Madre.Pps 2Festejo Dia D La Madre.Pps 2
Festejo Dia D La Madre.Pps 2
 
Ingenieros con ingenio coaching para ingenieros
Ingenieros con ingenio   coaching para ingenierosIngenieros con ingenio   coaching para ingenieros
Ingenieros con ingenio coaching para ingenieros
 
Not Nineteen Forever
Not Nineteen ForeverNot Nineteen Forever
Not Nineteen Forever
 
Blog Presentation
Blog PresentationBlog Presentation
Blog Presentation
 
Royal Artist Club
Royal Artist ClubRoyal Artist Club
Royal Artist Club
 
Hardware
HardwareHardware
Hardware
 
The Shadow
The ShadowThe Shadow
The Shadow
 
Conversion to gif
Conversion to gifConversion to gif
Conversion to gif
 
Geraldo Abranches
Geraldo Abranches Geraldo Abranches
Geraldo Abranches
 
Mejores Jugadores Del Futbol Argentino
Mejores Jugadores Del Futbol ArgentinoMejores Jugadores Del Futbol Argentino
Mejores Jugadores Del Futbol Argentino
 
2008 Pictures Of Earth
2008 Pictures  Of  Earth2008 Pictures  Of  Earth
2008 Pictures Of Earth
 
School Mandates and How They are Paid
School Mandates and How They are PaidSchool Mandates and How They are Paid
School Mandates and How They are Paid
 
North Country Chamber Results
North Country Chamber ResultsNorth Country Chamber Results
North Country Chamber Results
 
Untitled
UntitledUntitled
Untitled
 
POWER POINT cargols 2011-12
POWER POINT cargols 2011-12 POWER POINT cargols 2011-12
POWER POINT cargols 2011-12
 

Similar to พะยูน

Under the sea
Under the seaUnder the sea
Under the sea
MICKY_JS
 
Sea animals in Thailand
 Sea animals in Thailand Sea animals in Thailand
Sea animals in Thailand
newja
 
Biomapcontest2014 boxbox
Biomapcontest2014 boxboxBiomapcontest2014 boxbox
Biomapcontest2014 boxbox
Wichai Likitponrak
 
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทยพันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทยcahtchai
 
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทยพันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทยcahtchai
 
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทยพันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทยcahtchai
 
แมวเปอร์เซีย
แมวเปอร์เซียแมวเปอร์เซีย
แมวเปอร์เซีย
Jobzaza
 
แมวเปอร์เซีย1
แมวเปอร์เซีย1แมวเปอร์เซีย1
แมวเปอร์เซีย1
POom'z RCz
 
นกเงือก-พี.pdf
นกเงือก-พี.pdfนกเงือก-พี.pdf
นกเงือก-พี.pdf
WarongWonglangka
 
019aebe7d3cd73952e3b11800a792157 by docs88.com
019aebe7d3cd73952e3b11800a792157 by docs88.com019aebe7d3cd73952e3b11800a792157 by docs88.com
019aebe7d3cd73952e3b11800a792157 by docs88.comRungniRan Jitdee
 
Stingrays
StingraysStingrays
Stingrays
architechture
 
นวัตกรรมเพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางการเรียนรู้สู่วิถีใหม่ (New Normal)
นวัตกรรมเพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางการเรียนรู้สู่วิถีใหม่ (New Normal)นวัตกรรมเพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางการเรียนรู้สู่วิถีใหม่ (New Normal)
นวัตกรรมเพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางการเรียนรู้สู่วิถีใหม่ (New Normal)
boyunsree
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง 56030549
ตำแหน่งการเกิดเสียง 56030549ตำแหน่งการเกิดเสียง 56030549
ตำแหน่งการเกิดเสียง 56030549
Wilipda Wongsakul
 
โครงงาน ส น ข และ การเล__ยงด_
โครงงาน ส น ข และ การเล__ยงด_โครงงาน ส น ข และ การเล__ยงด_
โครงงาน ส น ข และ การเล__ยงด_Bo N'Roll
 
แมวเปอร์เซียจ้า
แมวเปอร์เซียจ้าแมวเปอร์เซียจ้า
แมวเปอร์เซียจ้า
Jobzaza
 
แมวเปอร์เซีย
แมวเปอร์เซียแมวเปอร์เซีย
แมวเปอร์เซีย
POom'z RCz
 

Similar to พะยูน (20)

Under the sea
Under the seaUnder the sea
Under the sea
 
Doc1
Doc1Doc1
Doc1
 
Chaingmai zoo
Chaingmai zooChaingmai zoo
Chaingmai zoo
 
ระบบเสียงและอวัยวะในการออกเสียงในภาษาไทย
ระบบเสียงและอวัยวะในการออกเสียงในภาษาไทยระบบเสียงและอวัยวะในการออกเสียงในภาษาไทย
ระบบเสียงและอวัยวะในการออกเสียงในภาษาไทย
 
Sea animals in Thailand
 Sea animals in Thailand Sea animals in Thailand
Sea animals in Thailand
 
Biomapcontest2014 boxbox
Biomapcontest2014 boxboxBiomapcontest2014 boxbox
Biomapcontest2014 boxbox
 
งานแก้ตัวสำหรับนักเรียนติด มส.
งานแก้ตัวสำหรับนักเรียนติด มส.งานแก้ตัวสำหรับนักเรียนติด มส.
งานแก้ตัวสำหรับนักเรียนติด มส.
 
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทยพันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
 
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทยพันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
 
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทยพันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
 
แมวเปอร์เซีย
แมวเปอร์เซียแมวเปอร์เซีย
แมวเปอร์เซีย
 
แมวเปอร์เซีย1
แมวเปอร์เซีย1แมวเปอร์เซีย1
แมวเปอร์เซีย1
 
นกเงือก-พี.pdf
นกเงือก-พี.pdfนกเงือก-พี.pdf
นกเงือก-พี.pdf
 
019aebe7d3cd73952e3b11800a792157 by docs88.com
019aebe7d3cd73952e3b11800a792157 by docs88.com019aebe7d3cd73952e3b11800a792157 by docs88.com
019aebe7d3cd73952e3b11800a792157 by docs88.com
 
Stingrays
StingraysStingrays
Stingrays
 
นวัตกรรมเพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางการเรียนรู้สู่วิถีใหม่ (New Normal)
นวัตกรรมเพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางการเรียนรู้สู่วิถีใหม่ (New Normal)นวัตกรรมเพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางการเรียนรู้สู่วิถีใหม่ (New Normal)
นวัตกรรมเพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางการเรียนรู้สู่วิถีใหม่ (New Normal)
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง 56030549
ตำแหน่งการเกิดเสียง 56030549ตำแหน่งการเกิดเสียง 56030549
ตำแหน่งการเกิดเสียง 56030549
 
โครงงาน ส น ข และ การเล__ยงด_
โครงงาน ส น ข และ การเล__ยงด_โครงงาน ส น ข และ การเล__ยงด_
โครงงาน ส น ข และ การเล__ยงด_
 
แมวเปอร์เซียจ้า
แมวเปอร์เซียจ้าแมวเปอร์เซียจ้า
แมวเปอร์เซียจ้า
 
แมวเปอร์เซีย
แมวเปอร์เซียแมวเปอร์เซีย
แมวเปอร์เซีย
 

พะยูน

  • 2. ชื่อทางวิทยาศาสตร์ Dugong dugon อันดับหรือวงศ์ Dogongidae ชื่อเรียกอื่นๆ หมูน้ำ หรือ ปลาดูหยง
  • 3. ประวัติความเป็นมา ถูกค้นพบครั้งแรกปี พ.ศ. 2319ต้นแบบที่จับได้จากน่านน้ำแหลมกู๊ดโฮปถึงฟิลิปปินส์ มีรูปร่างคล้ายวาฬ จึงถูกจัดรวมอยู่ในอันดับเดียวกันคือ Cetaceaแต่จากการศึกษาลักษณะโครงสร้างโดยละเอียดพบว่าแตกต่างกันมาก ขนาดเล็กกว่า หัวกลม รูจมูกแยกจากกัน เป็นปลาเล็ก มีฟันหน้าและฟันกรามพัฒนาดี ไม่เป็นฟันยอดแหลมธรรมดาเหมือน ๆ กันอย่างวาฬ และมีเส้นขนที่ริมฝีปากตลอดชีวิต จึงมีการจำแนกออกตั้งเป็นอันดับใหม่ คือ Sirenia
  • 4.
  • 5.
  • 6. การกระจายพันธุ์ พบอาศัยอยู่ตามชายฝั่งมหาสมุทรอินเดียและแปซิฟิก และตอนเหนือของทวีปออสเตรเลีย ในประเทศไทยเคยมีพะยูนอาศัยอยู่ตามชายฝั่งทะเลทั้ง 2 ด้านของประเทศ แต่ปัจจุบันคาดว่าจะมีพะยูนเหลืออยู่ไม่เกิน 70 ตัวในประเทศไทย
  • 7.
  • 16.
  • 17.
  • 18. พะยูนมีบรรพบุรุษเดียวกับช้าง? ในปี ค.ศ. 1816 De Blainvilleเป็นบุคคลแรกที่ทำการแยก ความแตกต่างระหว่างพะยูนกับโลมาและวาฬ ออกจากกัน และจัดพะยูนเข้าไว้ในกลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีกีบ (ungulates) ในอันดับ Sireniaโดยนับว่าพะยูนมีบรรพบุรุษร่วมกัน กับช้างมาก่อน
  • 19. พะยูนมีบรรพบุรุษเดียวกับช้าง? การศึกษาซากโบราณของพะยูนชื่อ Eotheroidesในประเทศอียิปต์ พบว่า มีลักษณะบางอย่างเหมือนและใกล้เคียงกันกับ Moeritheriumซึ่งเป็นต้น ตระกูลของช้างยุคอีโอซีนตอนต้น (Upper Eocene) หรือเมื่อ ~40 ล้านปี มาแล้ว Eotheroidesเป็นสัตว์มี 4 ขา มีฟันครบและอาศัยอยู่ในน้ำ ต่อมามี วิวัฒนาการเพื่อให้อาศัยอยู่ในน้ำได้ดีขึ้น โดยที่ขาหลังจะลดขนาดลงและ หายไปในที่สุดส่วนขาหน้าจะเปลี่ยนแปลงไปมีลักษณะคล้ายใบพายเพื่อให้ เหมาะสมกับการว่ายน้ำ
  • 20. พะยูนอาศัยอยู่ที่ไหนบ้าง? ชายฝั่งทะเลในเขตร้อนและเขตกึ่งร้อนทั่วโลก พบบริเวณมหาสมุทรอินเดียตั้งแต่ชายฝั่งตะวันออกของทวีปแอฟริกาไปจนถึงทะเลแดง รอบๆเกาะมาดากัสการ์และอีกหลายเกาะในมหาสมุทรอินเดีย บริเวณชายฝั่งตะวันตกของประเทศอินเดีย ศรีลังกา ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ ลงมาถึงมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ เช่น นิวกินี บริเวณชายฝั่งทางตอนเหนือของทวีปออสเตรเลีย และหมู่เกาะต่างๆในมหาสมุทรแปซิฟิกเช่น หมู่เกาะโซโลมอน หมู่เกาะมาร์แชลล์ ตอนเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิกที่ หมู่เกาะริวกิว รวมถึงชายฝั่งตะวันออกของประเทศจีน
  • 22. ลักษณะและรูปร่างโดยทั่วไปของพะยูน น้ำหนัก: พะยูนที่พบโดยทั่วไปมีน้ำหนัก ~ 200-900 กิโลกรัม ลูกพะยูนแรกเกิดจะมีน้ำหนัก ~ 15-20 กก. ความยาว : ลำตัวของพะยูนจะวัดจากปลายสุดของริมฝีปากถึงกลางแพนหางโดยทั่วไปมีความยาว ~ 2.2-3.5 ม. ขนาดวัดรอบอก ~ 1.6-2.5 ม. ขนาดของลูกพะยูนแรกเกิดจะมีความยาวลำตัว ~ 1 ม. รูปร่างลำตัว : พะยูนจะมีลักษณะลำตัวคล้ายโลมาแต่ไม่มีครีบหลัง ลักษณะรูปร่างอ้วน ลำตัวเป็นรูปกระสวยเรียวทั้งส่วนหัวและส่วนหางทำให้ช่วยในการเคลื่อนที่ในน้ำได้สะดวก
  • 23. สีผิว: พะยูนมีผิวสีน้ำตาลปนเทา บริเวณด้านบนของลำตัวเช่น หัว คอ ด้านบนของขาคู่หน้าและแพนหางจะมีสีเข้มกว่าทางด้านล่าง ผิวหนัง: หนามากและมีเส้นขนหยาบแข็งลักษณะเป็นเส้นสั้นๆ ขึ้นกระจายอยู่ทั่วลำตัวเช่นเดียวกับหนังของช้าง เส้นขนจะรวมกันเป็นกระจุกรอบๆปากทางด้านล่าง ขนรอบปากมีส่วนช่วยในการรับความรู้สึก ขณะที่พะยูนหาอาหารและอาจใช้ค้นหาหรือคัดเลือกอาหารด้วย หู : ของพะยูนมีขนาดเล็กและไม่มีใบหู มีลักษณะเป็นรูเปิดเล็กๆอยู่ 2 ข้างของหัวหลังลูกตา หูพะยูนสามารถรับเสียงได้ดีเมื่ออยู่ใต้น้ำ ซึ่งพะยูนเป็นสัตว์อีกชนิดหนึ่งที่มีการติดต่อสื่อสารกันใต้น้ำ
  • 24. ตา: พะยูนมีขนาดเล็กอยู่ 2 ข้างของส่วนหัว สามารถรับภาพได้ดีทั้งในน้ำและบนบก ตลอดจนสามารถมองเห็นได้ดีในขณะที่มีแสงน้อย พะยูนมีหนังตาบางๆเปิดปิดได้ เมื่อพะยูนอยู่เหนือน้ำนานๆจะขับเกลือแร่ออกจากร่างกายเพื่อรักษาระดับความสมดุลของเกลือแร่ในร่างกาย โดยเกลือแร่ส่วนเกินจะถูกขับออกมาในรูปของน้ำเมือกออกมาทางลูกตา จึงคล้ายกับพะยูนมีการร้องไห้เมื่อถูกจับได้ ปาก : ของพะยูนจะอยู่ทางด้านล่างของส่วนหน้า ริมฝีปากบนเป็นก้อนเนื้อใหญ่และหนาลักษณะเป็นเหลี่ยมทู่ๆคล้ายจมูกหมู (snout) กล้ามเนื้อสามารถบังคับได้ดี ใช้ช่วยในการรวบหญ้าเข้าปากในการกินอาหารได้ดีเยี่ยม เพดานปากล่างมีลักษณะพิเศษเป็นแท่งกระดูกอ่อนหุ้มด้วยเนื้อเยื่อนิ่ม ช่วยในการขุดไถดินทรายเพื่อกินหญ้าทะเล
  • 25. จมูก : ของพะยูนอยู่ปลายสุดทางส่วนบนของหัวมีจำนวน 2 รู รูเปิดของจมูกมีแผ่นเยื้อหนาเปิดและปิดได้สนิทเมื่อดำอยู่ใต้น้ำ รูจมูกจะถูกปิดขณะดำน้ำและเปิดออกเมื่อโผล่ขึ้นมาหายใจ ในขณะที่พะยูนโผล่ขึ้นมาหายใจเหนือน้ำจะโผล่เพียงส่วนจมูก ลำตัวส่วนอื่นๆจะจมอยู่ใต้น้ำตลอดเวลา ตำแหน่งของรูจมูกจะช่วยให้พะยูนโผล่ขึ้นมาเฉพาะส่วนบนของหัวเท่านั้น การหายใจใช้เวลาเร็วมากเวลาโผล่ขึ้นมาพ่นอากาศออกและสูดอากาศใหม่เข้าไปจะใช้เวลาเพียง 3 นาทีเท่านั้น นักวิทยาศาสตร์ได้ทำการตรวจสอบคุณสมบัติของ Haemoglobinในเซลเม็ดเลือดแดงของพะยูนพบว่ามีคุณสมบัติพิเศษในการดึงเอาออกซิเจนได้อย่างรวดเร็ว พบว่าพะยูนจะมีปัญหายุ่งยากในการหายใจเป็นอย่างมากเมื่ออยู่ในทะเลที่มีคลื่นลมแรง เพราะพะยูนโผล่ส่วนหัวขึ้นมาหายใจจากน้ำเพียง 3 - 4 เซนติเมตรคลื่นจะทำให้พะยูนพยายามโผล่ขึ้นมามากกว่านั้นเพื่อไม่ให้สำลักน้ำทะเลเวลาหายใจพะยูนจึงต้องใช้พลังงานมากกว่าเดิม ในออสเตรเลียมีนักวิทยาศาสตร์เคยวัดเวลาดำน้ำนานที่สุดของพะยูนที่นำมาเลี้ยงคือ 8 นาที 26 วินาที ในทะเลเวลาดำน้ำเฉลี่ยประมาณ 1 นาที 30 วินาทีและเคยวัดเวลาที่ดำน้ำนานที่สุดในทะเลประมาณ 6 นาที 40 วินาที
  • 26. ฟัน : ของพะยูนมีจำนวนเท่ากันและมีลักษณะเหมือนกันทั้งขากรรไกรบนและล่าง แต่จะมีฟันลักษณะคล้ายงาอยู่ตรงปลายหน้าสุดเฉพาะขากรรไกรบน จะมี 2 คู่ในวัยเด็กคู่นอกเล็กกว่าและถูกย่อยสลายไปเมื่อพะยูนมีอายุมากขึ้น คู่ที่เหลือจะโตขึ้นเรียกว่างา จะงอกโผล่ออกมาในพะยูนเพศผู้ที่มีอายุมากๆส่วนเพศเมียจะยังคงฝังอยู่ใต้แผ่นหนัง ฟันที่ขากรรไกรของพะยูนจะขึ้นไม่พร้อมกัน ชุดแรกพบในพะยูนวัยเด็กและสึกกร่อนไปเมื่อโตขึ้น ถัดไปเป็นฟันบด (Premolar) อีก 3 คู่ ฟันบดคู่หน้าจะสึกกร่อนไปและหลุดร่วงไป ฟันบดคู่ในจะขยายเป็นฟันกรามและฟันกรามคู่ที่ 1 เริ่มงอกอยู่ในสุดของขากรรไกร พะยูนที่อายุมากๆฟันกรามคู่ที่ 4 และคู่ที่ 1 จะหลุดร่วงหรือสลายไปเหลือเพียงฟันกรามคู่ที่ 2 และ 3 เพียง 2 คู่เท่านั้น ดังนั้นพะยูนที่มีอายุน้อยจะมีฟัน 4-5 คู่ พะยูนขนาดกลางจะมีฟันอยู่ 3 คู่และในพะยูนที่มีขนาดใหญ่อายุมากๆจะมีฟันอยู่เพียง 2 คู่เท่านั้น
  • 27. ขาพะยูน: ขาคู่หน้าแต่ละข้างมี 5 นิ้ว พัฒนารูปร่างเรียงติดกันมีลักษณะคล้ายใบพายและไม่มีขาหลัง ขาคู่หน้าของพะยูนไม่ได้ช่วยในการว่ายน้ำมากนัก ขณะที่พะยูนว่ายน้ำเร็วๆขาคู่หน้าจะแนบติดไปกับด้านข้างของลำตัว แต่ขาคู่หน้าส่วนใหญ่จะใช้ในการพุ้ยน้ำเวลาว่ายน้ำหรือใช้เดินแทนเท้าขณะคืบคลานไปตามพื้นเพื่อหาอาหารและทำหน้าที่กอบอาหารเข้าปาก ขาคู่หน้ายาวประมาณ 0.35 - 0.45 เมตร แพนหาง : ของพะยูนแบนหกว้างแยกออกเป็น 2 แฉก ขนานกับพื้นในแนวราบ แพนหางไม่มีโครงกระดูกจะประกอบด้วยแผงกล้ามเนื้อและเอ็นยึดที่แข็งแรงใช้โบกขึ้นลงเพื่อว่ายน้ำเคลื่อนตัวไปข้างหน้า ขนาดของแพนหางกว้างประมาณ 0.75-0.85 เมตร ลักษณะรูปร่างทั่วไปของพะยูน
  • 28. อวัยวะเพศ : เป็นการยากที่จะจำแนกเพศของพะยูนจากการดูอวัยวะเพศ เนื่องจากอวัยวะเพศของพะยูนเพศผู้จะซ่อนอยู่ภายในลำตัว แต่สามารถสังเกตได้จากระยะห่างระหว่างช่องก้นกับช่องเพศ โดยพะยูนเพศผู้ระยะห่างระหว่างช่องก้นกับช่องเพศจะอยู่ห่างกัน ส่วนในเพศเมียช่องก้นกับช่องเพศจะอยู่ชิดกันมาก นอกจากนั้นสามารถสังเกตได้จากลักษณะของเต้านมที่มีขนาดใหญ่และหัวนมยื่นยาวในพะยูนเพศเมียที่มีอายุมากๆหรือกำลังมีลูกอ่อน เต้านม : เต้านมและหัวนมของพะยูนจะอยู่ตรงโคนขาคู่หน้าทั้ง 2 ข้าง ซึ่งจะพบได้ทั้งพะยูนเพศผู้และพะยูนเพศเมีย ในเพศเมียขณะที่ยังตัวเล็กอยู่หัวนมจะมีลักษณะเป็นติ่งเล็กๆและเมื่อพะยูนมีลูกอ่อนเต้านมและหัวนมจะขยายใหญ่ขึ้น
  • 29. ลักษณะที่แตกต่างระหว่างพะยูนและมานาที พะยูน มานาที อยู่ที่หาง พะยูนจะมีหางเป็น 2 แฉก คล้ายกับหางของพวก Cetaceans เช่น วาฬและโลมา คือตรงกลางมีลักษณะเป็นร่องหรือรอยบากและโคนหางจะแบนจากบนลงล่าง ส่วนหางของมานาทีมีลักษณะกลมไม่มีรอยบากตรงกลางและโคนหางจะไม่แบนจากบนลงล่าง ส่วนรูจมูกพะยูนจะมีรูจมูกอยู่บนส่วนยอดของริมฝีปากบนที่มีลักษณะเป็นก้อนเนื้อใหญ่และหนาหรือ Snout และเพศผู้มีงายื่นออกมาสามารถเห็นได้ชัด แต่ในพวกมานาทีรูจมูกจะอยู่ตรงส่วนหน้าของ Snout และในตัวเต็มวัยก็จะไม่มีงา และที่สำคัญมานาทีไม่สามารถพบในประเทศไทยได้จะพบได้ในทวีปอเมริกา
  • 30. พฤติกรรมของพะยูน พะยูนมีการรวมเป็นฝูงและอยู่โดดเดี่ยวทั้งเมื่อน้ำขึ้นและน้ำลง มีการรวมเป็นฝูง ฝูงละ 2-3 ตัว อาจจะพบพะยูนเป็นฝูงใหญ่ และมีลูกพะยูนอยู่ด้วย ในปัจจุบันจะพบพะยูนมากที่สุด คือ ประเทศออสเตรเลีย
  • 31.
  • 33.
  • 34. พะยูนระหว่างแม่กับลูกนั้นมีความสัมพันธ์กันมาก ทั้งในขณะหากินและในขณะที่ว่ายน้ำ ลูกพะยูนและแม่จะว่ายน้ำหากินอยู่ใกล้ๆกัน บางครั้งอาจจะห่างกันแต่จะอยู่ในรัศมี ~1 เมตร ลูกพะยูนโผล่ขึ้นมาหายใจ 2-3 ครั้ง แล้วแม่พะยูนจึงโผล่ขึ้นมาหายใจครั้งหนึ่ง พะยูนอาจจะกินหญ้าทะเลในช่วงน้ำขึ้นทั้งกลางวันและกลางคืน พะยูนที่เกาะปาเลาส่วนใหญ่จะเข้ามากินหญ้าทะเลในตอนกลางคืน เพื่อหลีกเลี่ยงอันตรายจากคนและสิ่งแวดล้อมอย่างอื่น ที่ตอนเหนือของรัฐควีนแลนด์ประเทศออสเตรเลีย พะยูนจะเข้ามากินหญ้าทะเลในตอนกลางวัน พะยูนกินหญ้าทะเลวันละประมาณ 30 กิโลกรัม แต่บางตำราระบุว่า กินอาหารประมาณ วันละ 8 กิโลกรัม โดยใช้ปากเล็มหรืองับทั้งต้นพืชแล้วส่ายล้างสิ่งเกาะติดอื่นๆ แล้วกลืนทันทีโดยไม่เคี้ยว
  • 35. แนวทางในการอนุรักษ์ 1.รักษาสภาพที่อยู่อาศัยแหล่งอาหาร ให้คงสภาพธรรมชาติมากที่สุด 2.ส่งเสริมชี้แจงให้มีความเข้าใจเกี่ยวกับพะยูนอย่างถูกต้องรวมถึงแก้ไขความคิดที่ผิดตามความเชื่อ 3.ศึกษาพฤติกรรม ลักษณะการดำรงชีวิตเพื่อเป็นแนวทางอนุรักษ์อย่างแท้จริง 4.ทำให้กฎหมายมีความเด็ดขาดและมีบทลงโทษที่เข็มงวดต่อการล่าพะยูน 5.พัฒนาบุคลากรและรวบรวมความรู้ต่างๆ และศึกษาวิจัยข้อมูล เรื่องพะยูนและหญ้าทะเลให้มีความใหม่ทันต่อเหตุการณ์เสมอ