SlideShare a Scribd company logo
1


           แบบเสนอโครงร่ างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร 5
                       ปี การศึกษา 2555

                         ชื่อโครงงาน
         Festival of Japan (เทศกาลของประเทศญี่ปุ่น)




                   ชื่อผู้ทาโครงงาน
      1น.ส.ยูคะริ สมณะ เลขที่ 23 ชั้น ม.6 ห้อง 3
      2น.ส.สุชานาถ จิตหัตถะ เลขที่ 33 ชั้น ม.6 ห้อง 3
      3น.ส.ชลฑิญา ยะปัญญา เลขที่ 38 ชั้นม.6 ห้อง 3




   ชื่ออาจารย์ที่ปรึ กษาโครงงาน นางเขื่อนทอง มูลวรรณ์


 ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปี การศึกษา 2555




       โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
     สานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
                   ้ ่
2




                                               ใบงาน
                                การจัดทาข้ อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์

   สมาชิกในกลุ่ม
   1. น.ส.ยูคะริ สมณะ เลขที่ 23
   2.น.ส. สุ ชานาถ จิตหัตถะ เลขที่ 33
   3.น.ส. ชลฑิญา ยะปัญญา เลขที่ 38


ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) เทศกาลของประเทศญี่ปน ุ่
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Festival of Japan
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1.                มณ
2.
3. น.ส. ชลฑิญา ยะปัญญา

ชื่อที่ปรึกษา นางเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรี ยนที่ 1-2 ปี การศึกษา 2555
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
          เนื่องจากในปัจจุบนประเทศไทยกาลังเตรี ยมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียนที่กาลังจะเริ่ มขึ้นในปี
                            ั
2558 นี้ ซึ่งทาให้คนไทยทุกคนเริ่ มให้ความสนใจวัฒนธรรม ภาษา ของชาติอื่นๆมากขึ้น และยิงมีประเทศที่พฒนา
                                                                                            ่           ั
แล้วเข้ามาร่ วมเป็ นสมาชิกอาเซียนมากขึ้น คนไทยก็ตองยิงมีความกระตือรื อร้นในการเตรี ยมความพร้อมมากยิงขึ้น
                                                      ้ ่                                                 ่
ไม่ว่าจะเป็ นในเรื่ องการใช้ภาษา เพื่อเตรี ยมตัวไปใช้ในต่างแดนเนื่องจากจะมีการเปิ ดเสรี ทางอาชีพนันเอง
                                                                                                  ่
        ดังนั้นจึงทาให้คนไทยมีความสนใจในเรื่ องราวต่างๆของต่างชาติมากยิงขึ้น รวมทั้งวัฒนธรรมต่างๆของชาติ
                                                                          ่
นั้นรวมถึงเทศกาลที่สาคัญๆในประเทศนั้นๆด้วย
3



วัตถุประสงค์
    1. เพื่อเป็ นแหล่งในการศึกษาค้นคว้าของผูที่มความสนใจอยากรู้เกี่ยวกับเทศกาลที่น่าสนใจของประเทศญี่ปน
                                             ้ ี                                                     ุ่
    2. เพือเป็ นการเตรี ยมพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
           ่
    3. เพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในชีวตประจาวัน
                                  ิ
    4. เพื่อเป็ นแนวทางให้กบผูที่ตองการศึกษาเกี่ยวกับเรื่ องเทศกาลของประเทศญี่ปุ่น
                            ั ้ ้

หลักการและทฤษฎี
เทศกาลที่สาคัญของประเทศญี่ปุ่น
    1. เทศกาลปี ใหม่
    2. เทศกาลเซ็ตสึบุน
    3. เทศกาลแห่งดวงดาว(Tanabata)
    4. เทศกาลฮานามิ (Hanami Festival)
    5. เทศกาลโอบง(Obon)
    6. เทศกาลกิออน (Gion Matsuri)
    7. เทศกาลยามค่าคืน (Chichibu Night Festival)
    8. เทศกาลหิมะ Snow Festival
    9. เทศกาลตุ๊กตา
    10. เทศกาลวันเด็กผูชาย
                       ้

1.เทศกาลปี ใหม่ : ชาวญี่ปุ่นเฉลิมฉลองการผ่านไปของหนึ่งปี และการมาถึงของปี ต่อไปด้วยศรัทธาแรงกล้า
ระยะเวลาแห่งการเฉลิมฉลองเรี ยกว่า "โชงัท สึ "(しょうがつ) หมายถึง เดือนแรกของปี ประชาชนจะ
ประดับประดาทางเข้าบ้านด้วยกิ่งสนและพู่ระย้าที่ทาจากฟาง ซึ่งเป็ นสัญลักษณ์ป้องกันมิให้สิ่งมัวหมองเข้ามาแผ้ว
พาน ของตกแต่งในวันปี ใหม่ของชาวญี่ปุ่นเริ่ มที่ “คาโดมัทสึ ” (かどまつ)(門松) ซึ่งชื่ออาจฟังดูเข้าใจยาก
สักหน่อย แต่เจ้าสิ่งนี้น้ นถูกนามาเพื่อใช้ตอนรับวิญญาณบรรพบุรุษและเทพเจ้าแห่งปี เพื่อเป็ นการขอพรให้มีอายุยน
                          ั                  ้                                                                  ื
ยาว มีความเจริ ญรุ่ งเรื อง และให้มีความมันคงในชีวิต โดยเจ้าสิ่งนี้จะวางไว้ที่หน้าประตูบาน อาจจะข้างเดียวหรื อ 2
                                           ่                                            ้
ข้างของประตูก็ได้ (ความเชื่อแฝงเกี่ยวกับฮวงจุย) คาโดมัทสึน้ นประกอบด้วยกิ่งสนใหญ่ ไม้ไผ่และช่อดอกบ๊วย ซึ่ง
                                                ้            ั
ช่อดอกบ๊วยถือเป็ นที่สิงสถิตของเทพเจ้าแห่งปี ซึ่งขอย้อนมาทาความเข้าใจเกี่ยวกับคะโดะมัทซึอีกสักเล็กน้อย
ค่อนข้างแฝงความเชื่อที่ว่าประตูจะมีมุมประตู เป็ นเหลี่ยมๆ การใช้ดอกไม้ไปประดับตรงแต่ละมุมทั้งสองมุมนั้น จะ
เป็ นการลบมุม ลบเหลี่ยมประตูตรงนั้นด้วย ซึ่งจะเปลี่ยนเป็ นทาให้ความหมายดี ก็ทานองคล้ายๆแนวฮวงจุย        ้

2. เทศกาลเซ็ตสึบุน : เซ็ตสึบุน หมายถึงวันที่ 3 หรื อ 4 กุมภาพันธ์ ซึ่งเป็ นการเริ่ มต้นของฤดูใบไม้ผลิตามประเพณี มี
การหว่านถัวแดงอะซุกิ(あすき) ซึ่งเป็ นสัญลักษณ์แห่งความโชคดีเพื่อขับไล่สิ่งอัปมงคลออกจากบ้านซึ่งมีการ
          ่
4

จัดพิธีน้ ีตามวัดและศาลเจ้าด้วย ประวัติคราวๆ คือเริ่ มมีมาตั้งแต่สมัย มุโรมาจิจิได(ประมาณคริ สศตวรรษที่ 17) และ
ก็กระทาติดต่อเรื่ อยมาจนถึงปัจจุบนนี้ เมื่อถึงวันนี้ในแต่ละบ้านจะให้พวกผูชาย คือ พ่อและก็ลกชาย ใส่หน้ากาก
                                   ั                                        ้                ู
ผี ปี ศาจ ซึ่งถือว่าเป็ นตัวแทนของความชัวร้าย แล้วก็เอาถัวหว่านเข้าไป แล้วก็พดว่า “โอนิวะโซโตะ” 鬼は外 (
                                        ่                 ่                      ู
おに はそと)แปลว่าสิ่งอัปมงคลทั้งหลายจงออกไปและจะโปรยถัวจากข้างนอกเข้าไปในบ้านและตะโกนว่า
                                                                          ่
“ฟุกุสะอุจิ” 福は内 ( ふくはうち) แปลว่าความเป็ นสิริมงคลจงเข้ามานอกจากนี้ยงมีความเชื่ออีกว่า          ั
ให้กินถัวจานวนเม็ดเท่ากับอายุของตัวเอง จะทาให้มีสุขภาพที่แข็งแรงไม่เจ็บป่ วยไปตลอดปี
           ่

3. เทศกาลแห่งดวงดาว(Tanabata) : ตามตานานกล่าวว่าดวงดาววีกา(Orihime) ที่อยูทางทิศตะวันออกคือเจ้าหญิง
                                                                ้                ่
ทอผ้าธิดาของเจ้าครองฟ้ าและดวงดาวอัลแทร์ (Hikohoshi) ที่อยูทางทิศตะวันตกคือหนุ่มเลี้ยงวัวด้วยความรักอันดื่ม
                                                            ่
ด่าที่ท้งสองคนมีให้แก่กนเป็ นเหตุให้เจ้าหญิงละวางงานทอผ้าที่เคยใส่ใจเป็ นเหตุให้พระบิดาขุ่นเคืองจึงกั้นขวางดาว
        ั                ั
ทั้งสองไว้คนละฝั่งฟ้ าด้วยทางช้างเผือกและในคืนวันที่7 เดือน7 ของทุกปี คือคืนที่ดาวทั้งสองดวงจะโคจรมาใกล้
กันมากที่สุดชาวเมืองเซนไดจึงเฉลิมฉลองด้วยการประดับประดาดาวกระดาษดวงใหญ่ให้ปลิวไสวไปทัวทั้งเมืองมี   ่
การนากระดาษ5 สีหรื อ(Tanzaku)มาเขียนคาอธิษฐานทั้งเรื่ องความรักและตัดกระดาษเป็ นรู ปคล้ายๆโซ่แทน
สัญลักษณ์ของทางช้างเผือกนาไปแขวนไว้ที่ตนไผ่และยังมีขบวนพาเหรดใหญ่โตสวยงามเทศกาลนี้จึงมี
                                             ้
นักท่องเที่ยวให้ความสนใจมากที่สุดอีกเทศกาลหนึ่งโดยเฉพาะจังหวัดมิยากิและจังหวัดคานางาวะ เมืองฮิระสึกะ



4. เทศกาลฮานามิ (Hanami Festival) : 1-15 เดือนเมษายนของทุกปี เทศกาลชมดอกซากุระบาน ช่วงเวลาแห่ง
ความสุข ประจาฤดูใบไม้ผลิ เริ่ มต้นมาตั้งแต่สมัย“เฮอัน” แต่ยคนั้นจากัดไว้ในหมูขุนนางชั้นสูง และชนชั้นผูดี
                                                           ุ                 ่                        ้
โดยเฉพาะ มีการประกวดแต่งกลอน“ไฮกุ” กลอนไฮกุมี 17 พยางค์ บรรทัดแรก 5 พยางค์ บรรทัดต่อมามี 7 พยางค์
บรรทัดสุดท้าย มี 5 พยางค์ ใช้ภาษาเรี ยบง่าย สั้นๆได้ใจความ บรรทัดสุดท้าย ทิ้งท้ายให้คิด หรื อจบแบบพลิกความ
คาดหมาย และร้องราทาเพลงต่อมาจึงเริ่ มแพร่ หลายไปสู่ชาวบ้าน ทุกวันนี้เมื่อถึงช่วงเวลาที่ซากุระออกดอกทุกคน
จะพากันออกมาชมความงามสะพรั่ง สถานที่ต่างๆที่เป็ นจุดชมดอกซากุระบาน จะมีการออกร้านขายของกันอย่าง
สนุกสนาน ครอบครัว เพื่อนฝูง จะนัดกันออกมาปิ กนิก ปิ้ งบาร์บีคิว ดื่มสาเกตามสวนสาธารณะ

5.เทศกาลโอบง(Obon): จัดทุกวันที่ 13-16 เดือนสิงหาคมของทุกปี ชาวญี่ปุ่นเดินทางกลับบ้านเกิดในช่วงนี้ เพื่อทา
ความสะอาดหลุมฝังศพและเซ่นไหว้ดวงวิญญาณบรรพบุรุษ เพราะเชื่อกันว่าดวงวิญญาณคนตายจะกลับลงมาเยียม                   ่
โลกตามบ้านเรื อน จึงมีการจุดตะเกียงหรื อคบเพลิงเพื่อส่องนาทางดวงวิญญาณให้กลับบ้านถูก ในเทศกาลมีการร่ าย
ราพื้นบ้านโบราณบงโอโดริ (Bon Odori)อยูทวทุกหนทุกแห่ง โดยชาวญี่ปุ่นจะสวมยูกาตะ และต้องสวมถุงเท้าที่
                                              ่ ่ั
เรี ยกว่า“Zori” และรองเท้าเกี๊ยะ ที่เรี ยก “Geta”เท่านั้น ถึงจะถูกต้องประเพณี ในวันที่ 13-15 สิงหาคม ก็มีการจัด
พิธีกรรมเพื่อบูชาบรรพบุรุษ โดยการจุดไฟต้อนรับที่หน้าประตูบาน และถวายผักหน้าแท่นบูชา เอาปักไว้บน
                                                                     ้
ตะเกียบ แล้วในตอนเย็นของวันที่ 15 ก็มการส่งวิญญาณบรรพบุรุษด้วยการจุดไฟที่ เรี ยกว่า โทโรนางาชิ เป็ นโคม
                                            ี
5

กระดาษมีเทียนจุดไฟอยูภายใน แล้วนาไปลอยในแม่น้ า เพื่อนาทางให้วิญญาณบรรพบุรุษลอยออกสู่ทะเล แต่พธี
                    ่                                                                         ิ
การลอยโคมไฟของแต่ละท้องถินก็แตกต่างกันไป
                           ่

 6.เทศกาลกิออน (Gion Matsuri) : จัดที่เกียวโต ในวันที่ 1-15 กรกฎาคมของทุกปี งานเทศกาลของศาลเจ้า Yasaka
เป็ นหนึ่งใน 3 เทศกาลที่ยงใหญ่ของเกียวโต และยังเป็ น 1 ในเทศกาลที่ยงใหญ่ที่สุดในประเทศญี่ปุ่น ที่มีมาตั้งแต่
                         ิ่                                          ิ่
ศตวรรษที่19 จุดประสงค์ด้งเดิมของเทศกาลนี้ก็คือ การขับไล่ปิศาจที่เป็ นต้นเหตุให้เกิดโรคภัย ขบวนพาเหรด
                            ั
บอลลูนหรู หราตระการตา 12 ลูก ถูกแห่รอบเมืองเกียวโต ในงานมีการโชว์ Kasahoko ลักษณะคล้ายลูกโป่ งขนาด
ใหญ่ หลากหลายรู ปร่ าง บางลูกมีความสูงถึง 6 เมตร นี่คือเทศกาลที่ชาวเมืองเกียวโตให้ความสาคัญและโด่งดังไป
ทัวโลก
  ่

7. เทศกาลหิมะ Snow Festival : จัดที่ Sapporo ทุกเดือนกุมภาพันธ์ อากาศที่หนาวเย็น ดึงดูดให้นกท่องเที่ยวมุ่งหน้า
                                                                                               ั
สู่เมืองซับโปโร บนเกาะฮอกไกโด เพื่อร่ วมสนุกสนานกับเทศกาลหิมะ ซึ่งเริ่ มจัดตั้งแต่ปี 1950 ซึ่งจัดขึ้นที่ Odori
Park ประกอบด้วยจุดเยียมชม 3 จุด ได้แก่ Odori site, Sato-Land site และ Susukino site โดยจุดเด่นของงานอยูที่รูป
                         ่                                                                                  ่
สลักน้ าแข็งสถาปัตยกรรมสาคัญต่างๆ และในงาน Sapporo Snow Festival ครั้งที่ 58 มีจุดเด่นที่พระที่นงจักรี มหา
                                                                                                     ั่
ปราสาทของไทย สลักจากหิมะสามพันลูกบาศก์เมตร ระดมทหารญี่ปุ่นราว 3,000 คน มาช่วยกันแกะสลัก ใช้เวลา 1
เดือน เพื่อเป็ นการให้เกียรติประเทศไทยในโอกาสฉลอง 120 ปี ความสัมพันธ์ไทย-ญี่ปุ่น โดยมีนกท่องเที่ยวเดินทาง
                                                                                             ั
ไปชมกว่า 2 ล้านคน
9. เทศกาลตุ๊กตา : เทศกาลตุ๊กตาหรื อ "ฮินะมัทสึริ"(ひなまつり) มีข้ ึนในวันที่3 มีนาคมของทุกปี ฮินะมัทสึริ
หรื อเทศกาลสาหรับเด็กผูหญิง เริ่ มมีมาตั้งแต่สมัยเอโดะ หรื อประมาณปี ค.ศ. 1603-1867 ในอดีตชาวญี่ปุ่นเรี ยก
                           ้
เทศกาลนี้ว่า เทศกาลลูกท้อหรื อ Momo-no-Sekku หากบ้านใดที่มีลกสาว พ่อแม่ตองเตรี ยมทาชั้นวางตุ๊กตาฮินะ
                                                                ู            ้
ประกอบด้วยตุ๊กตาจักรพรรดิและจักรพรรดินี นางสนองพระโอษฐ์ 5 คน นักดนตรี 5 คน แต่งตัวอย่างสวยงามเต็ม
ยศพร้อมข้าวของเครื่ องใช้นาไปวางไว้กบลูกท้อ เค้กที่ทาจากข้าว ขนมที่มีสีขาว-แดง และสาเก วันนั้นจะมีการเฉลิม
                                       ั
ฉลองกันอย่างเบิกบาน โดยพ่อแม่จะอธิษฐานขอพรให้กบลูกสาวโตขึ้นอย่างมีความสุข ข้อดีของเทศกาลนี้ คือ การ
                                                       ั
ยกย่องเพศหญิงซึ่งในอนาคตจะต้องดูแลบุตรให้เติบโตต่อไป

10. เทศกาลวันเด็กผู้ชาย : คือวันที่ 5 พฤษภาคม เทศกาลนี้จดขี้นสาหรับเด็กผูชายเท่านั้น บ้านไหนที่มีลกชายจะ
                                                        ั                    ้                     ู
ประดับว่าวปลาคาร์ฟยาว 1-2 เมตรให้ปลิวไสวตามจานวนบุตรชาย ในบ้านมีการจัดพิธีบูชาตุ๊กตานักรบ ซึ่ง
ประกอบด้วยเสื้อเกราะ หมวกเกราะหรื อที่เรี ยกว่า “โกะงัสสึ นิ งเงียว”เพื่ออธิษฐานขอให้บุตรชายที่รักมีสุขภาพ
แข็งแรง ไร้โรคภัยไข้เจ็บ นอกจากนี้ยงมีการใช้ดอกโชบุและดอกคะชิวะและโมะติ ประดับไว้กบตุกตานักรบที่ชื่อ
                                       ั                                                   ั ๊
ว่า Kabuto และมีการดื่มสาเกฉลองเช่นเดียวกับเทศกาลวันเด็กผูหญิง้




ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
6



ลาดับ             ขั้นตอน                         สั ปดาห์ ที่            ผู้รับผิดชอบ
  ที่                           1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
  1     คิดหัวข้อโครงงาน                     สมาชิกกลุ่ม
                                  
  2     ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล                 ชลฑิญา
                                       
  3     จัดทาโครงร่ างงาน                   ยูคะริ
                                            
  4     ปฏิบติการสร้างโครงงาน
             ั                             สมาชิกกลุ่ม
                                                
  5     ตรวจสอบข้อมูล                      สมาชิกกลุ่ม
  6     แก้ไขและปรับปรุ ง                 สมาชิกกลุ่ม
  7     ประเมินผลงาน                        สมาชิกกลุ่ม
  8     นาเสนอโครงงาน                       สมาชิกกลุ่ม




   ผลที่คาดว่าจะได้ รับ
      1. ได้รู้จกวัฒนธรรมของต่างชาติมากยิงขึ้น
                ั                          ่
      2. ทาให้มีความรู้ใหม่ๆและเป็ นการเตรี ยมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนด้วย
      3. เข้าใจและมีความรอบรู้ในเรื่ องเทศกาลของประเทศญี่ปุ่นมากยิงขึ้น
                                                                  ่
      4. สามารถนาความรู้ที่ได้จากการทาโครงงานไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้



   กลุ่มสาระการเรียนรู้ทเี่ กียวข้ อง
                              ่
        - กลุ่มสาระการเรี ยนรู้สงคมศึกษา
                                    ั

   แหล่งอ้างอิง
   http://www.student.chula.ac.th/~53373259/traditional.htm [วันที่คนข้อมูล:20 ธันวาคม 2555]
                                                                    ้

   http://www.study-in-
   japan.com/web/home/index_school_contents.php?contents_id=85 [วันที่คนข้อมูล: 20
                                                                       ้
   ธันวาคม 2555]

More Related Content

Similar to โครงงานคอม

วัฒนธรรมญี่ปุ่น
วัฒนธรรมญี่ปุ่นวัฒนธรรมญี่ปุ่น
วัฒนธรรมญี่ปุ่นapiromrut
 
ประเพณีของจีน
ประเพณีของจีนประเพณีของจีน
ประเพณีของจีนThammasat University
 
ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...
ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ  อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ  อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...
ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...tie_weeraphon
 
โครงงานคอมม Pdf
โครงงานคอมม Pdfโครงงานคอมม Pdf
โครงงานคอมม Pdf
Chatchaphun Sent Work
 
ตำนานเทพและกำเนิดประเทศญี่ปุ่น Japan
ตำนานเทพและกำเนิดประเทศญี่ปุ่น Japanตำนานเทพและกำเนิดประเทศญี่ปุ่น Japan
ตำนานเทพและกำเนิดประเทศญี่ปุ่น Japan
CUPress
 
การเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : เกียวโต
การเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : เกียวโตการเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : เกียวโต
การเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : เกียวโต
FURD_RSU
 
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวงถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวงSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
โครงการพผร.แฟนพันธุ์แท้
โครงการพผร.แฟนพันธุ์แท้โครงการพผร.แฟนพันธุ์แท้
โครงการพผร.แฟนพันธุ์แท้
nusabasukyankit
 
ลอยกระทง
ลอยกระทง ลอยกระทง
ลอยกระทง reemary
 
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสานสถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
Pornpimon Gormsang
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานteacherhistory
 
งานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนืองานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนือtonsocial
 
ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..pawidchaya
 
ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..pawidchaya
 

Similar to โครงงานคอม (20)

วัฒนธรรมญี่ปุ่น
วัฒนธรรมญี่ปุ่นวัฒนธรรมญี่ปุ่น
วัฒนธรรมญี่ปุ่น
 
ประเพณีของจีน
ประเพณีของจีนประเพณีของจีน
ประเพณีของจีน
 
Projectm6 x
Projectm6 xProjectm6 x
Projectm6 x
 
ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...
ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ  อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ  อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...
ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...
 
โครงงานคอมม Pdf
โครงงานคอมม Pdfโครงงานคอมม Pdf
โครงงานคอมม Pdf
 
ตำนานเทพและกำเนิดประเทศญี่ปุ่น Japan
ตำนานเทพและกำเนิดประเทศญี่ปุ่น Japanตำนานเทพและกำเนิดประเทศญี่ปุ่น Japan
ตำนานเทพและกำเนิดประเทศญี่ปุ่น Japan
 
การเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : เกียวโต
การเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : เกียวโตการเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : เกียวโต
การเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : เกียวโต
 
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวงถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
 
ตรุษจีน
ตรุษจีนตรุษจีน
ตรุษจีน
 
โครงการพผร.แฟนพันธุ์แท้
โครงการพผร.แฟนพันธุ์แท้โครงการพผร.แฟนพันธุ์แท้
โครงการพผร.แฟนพันธุ์แท้
 
ลอยกระทง
ลอยกระทง ลอยกระทง
ลอยกระทง
 
1
11
1
 
ราชบุรีไชน่าทาวน์ 2011
ราชบุรีไชน่าทาวน์ 2011ราชบุรีไชน่าทาวน์ 2011
ราชบุรีไชน่าทาวน์ 2011
 
ถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนถอดบทเรียน
ถอดบทเรียน
 
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสานสถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
 
งานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนืองานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนือ
 
ถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนถอดบทเรียน
ถอดบทเรียน
 
ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..
 
ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..
 

โครงงานคอม

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่ างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร 5 ปี การศึกษา 2555 ชื่อโครงงาน Festival of Japan (เทศกาลของประเทศญี่ปุ่น) ชื่อผู้ทาโครงงาน 1น.ส.ยูคะริ สมณะ เลขที่ 23 ชั้น ม.6 ห้อง 3 2น.ส.สุชานาถ จิตหัตถะ เลขที่ 33 ชั้น ม.6 ห้อง 3 3น.ส.ชลฑิญา ยะปัญญา เลขที่ 38 ชั้นม.6 ห้อง 3 ชื่ออาจารย์ที่ปรึ กษาโครงงาน นางเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปี การศึกษา 2555 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 ้ ่
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้ อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. น.ส.ยูคะริ สมณะ เลขที่ 23 2.น.ส. สุ ชานาถ จิตหัตถะ เลขที่ 33 3.น.ส. ชลฑิญา ยะปัญญา เลขที่ 38 ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) เทศกาลของประเทศญี่ปน ุ่ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Festival of Japan ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. มณ 2. 3. น.ส. ชลฑิญา ยะปัญญา ชื่อที่ปรึกษา นางเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรี ยนที่ 1-2 ปี การศึกษา 2555 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน เนื่องจากในปัจจุบนประเทศไทยกาลังเตรี ยมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียนที่กาลังจะเริ่ มขึ้นในปี ั 2558 นี้ ซึ่งทาให้คนไทยทุกคนเริ่ มให้ความสนใจวัฒนธรรม ภาษา ของชาติอื่นๆมากขึ้น และยิงมีประเทศที่พฒนา ่ ั แล้วเข้ามาร่ วมเป็ นสมาชิกอาเซียนมากขึ้น คนไทยก็ตองยิงมีความกระตือรื อร้นในการเตรี ยมความพร้อมมากยิงขึ้น ้ ่ ่ ไม่ว่าจะเป็ นในเรื่ องการใช้ภาษา เพื่อเตรี ยมตัวไปใช้ในต่างแดนเนื่องจากจะมีการเปิ ดเสรี ทางอาชีพนันเอง ่ ดังนั้นจึงทาให้คนไทยมีความสนใจในเรื่ องราวต่างๆของต่างชาติมากยิงขึ้น รวมทั้งวัฒนธรรมต่างๆของชาติ ่ นั้นรวมถึงเทศกาลที่สาคัญๆในประเทศนั้นๆด้วย
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเป็ นแหล่งในการศึกษาค้นคว้าของผูที่มความสนใจอยากรู้เกี่ยวกับเทศกาลที่น่าสนใจของประเทศญี่ปน ้ ี ุ่ 2. เพือเป็ นการเตรี ยมพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ่ 3. เพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในชีวตประจาวัน ิ 4. เพื่อเป็ นแนวทางให้กบผูที่ตองการศึกษาเกี่ยวกับเรื่ องเทศกาลของประเทศญี่ปุ่น ั ้ ้ หลักการและทฤษฎี เทศกาลที่สาคัญของประเทศญี่ปุ่น 1. เทศกาลปี ใหม่ 2. เทศกาลเซ็ตสึบุน 3. เทศกาลแห่งดวงดาว(Tanabata) 4. เทศกาลฮานามิ (Hanami Festival) 5. เทศกาลโอบง(Obon) 6. เทศกาลกิออน (Gion Matsuri) 7. เทศกาลยามค่าคืน (Chichibu Night Festival) 8. เทศกาลหิมะ Snow Festival 9. เทศกาลตุ๊กตา 10. เทศกาลวันเด็กผูชาย ้ 1.เทศกาลปี ใหม่ : ชาวญี่ปุ่นเฉลิมฉลองการผ่านไปของหนึ่งปี และการมาถึงของปี ต่อไปด้วยศรัทธาแรงกล้า ระยะเวลาแห่งการเฉลิมฉลองเรี ยกว่า "โชงัท สึ "(しょうがつ) หมายถึง เดือนแรกของปี ประชาชนจะ ประดับประดาทางเข้าบ้านด้วยกิ่งสนและพู่ระย้าที่ทาจากฟาง ซึ่งเป็ นสัญลักษณ์ป้องกันมิให้สิ่งมัวหมองเข้ามาแผ้ว พาน ของตกแต่งในวันปี ใหม่ของชาวญี่ปุ่นเริ่ มที่ “คาโดมัทสึ ” (かどまつ)(門松) ซึ่งชื่ออาจฟังดูเข้าใจยาก สักหน่อย แต่เจ้าสิ่งนี้น้ นถูกนามาเพื่อใช้ตอนรับวิญญาณบรรพบุรุษและเทพเจ้าแห่งปี เพื่อเป็ นการขอพรให้มีอายุยน ั ้ ื ยาว มีความเจริ ญรุ่ งเรื อง และให้มีความมันคงในชีวิต โดยเจ้าสิ่งนี้จะวางไว้ที่หน้าประตูบาน อาจจะข้างเดียวหรื อ 2 ่ ้ ข้างของประตูก็ได้ (ความเชื่อแฝงเกี่ยวกับฮวงจุย) คาโดมัทสึน้ นประกอบด้วยกิ่งสนใหญ่ ไม้ไผ่และช่อดอกบ๊วย ซึ่ง ้ ั ช่อดอกบ๊วยถือเป็ นที่สิงสถิตของเทพเจ้าแห่งปี ซึ่งขอย้อนมาทาความเข้าใจเกี่ยวกับคะโดะมัทซึอีกสักเล็กน้อย ค่อนข้างแฝงความเชื่อที่ว่าประตูจะมีมุมประตู เป็ นเหลี่ยมๆ การใช้ดอกไม้ไปประดับตรงแต่ละมุมทั้งสองมุมนั้น จะ เป็ นการลบมุม ลบเหลี่ยมประตูตรงนั้นด้วย ซึ่งจะเปลี่ยนเป็ นทาให้ความหมายดี ก็ทานองคล้ายๆแนวฮวงจุย ้ 2. เทศกาลเซ็ตสึบุน : เซ็ตสึบุน หมายถึงวันที่ 3 หรื อ 4 กุมภาพันธ์ ซึ่งเป็ นการเริ่ มต้นของฤดูใบไม้ผลิตามประเพณี มี การหว่านถัวแดงอะซุกิ(あすき) ซึ่งเป็ นสัญลักษณ์แห่งความโชคดีเพื่อขับไล่สิ่งอัปมงคลออกจากบ้านซึ่งมีการ ่
  • 4. 4 จัดพิธีน้ ีตามวัดและศาลเจ้าด้วย ประวัติคราวๆ คือเริ่ มมีมาตั้งแต่สมัย มุโรมาจิจิได(ประมาณคริ สศตวรรษที่ 17) และ ก็กระทาติดต่อเรื่ อยมาจนถึงปัจจุบนนี้ เมื่อถึงวันนี้ในแต่ละบ้านจะให้พวกผูชาย คือ พ่อและก็ลกชาย ใส่หน้ากาก ั ้ ู ผี ปี ศาจ ซึ่งถือว่าเป็ นตัวแทนของความชัวร้าย แล้วก็เอาถัวหว่านเข้าไป แล้วก็พดว่า “โอนิวะโซโตะ” 鬼は外 ( ่ ่ ู おに はそと)แปลว่าสิ่งอัปมงคลทั้งหลายจงออกไปและจะโปรยถัวจากข้างนอกเข้าไปในบ้านและตะโกนว่า ่ “ฟุกุสะอุจิ” 福は内 ( ふくはうち) แปลว่าความเป็ นสิริมงคลจงเข้ามานอกจากนี้ยงมีความเชื่ออีกว่า ั ให้กินถัวจานวนเม็ดเท่ากับอายุของตัวเอง จะทาให้มีสุขภาพที่แข็งแรงไม่เจ็บป่ วยไปตลอดปี ่ 3. เทศกาลแห่งดวงดาว(Tanabata) : ตามตานานกล่าวว่าดวงดาววีกา(Orihime) ที่อยูทางทิศตะวันออกคือเจ้าหญิง ้ ่ ทอผ้าธิดาของเจ้าครองฟ้ าและดวงดาวอัลแทร์ (Hikohoshi) ที่อยูทางทิศตะวันตกคือหนุ่มเลี้ยงวัวด้วยความรักอันดื่ม ่ ด่าที่ท้งสองคนมีให้แก่กนเป็ นเหตุให้เจ้าหญิงละวางงานทอผ้าที่เคยใส่ใจเป็ นเหตุให้พระบิดาขุ่นเคืองจึงกั้นขวางดาว ั ั ทั้งสองไว้คนละฝั่งฟ้ าด้วยทางช้างเผือกและในคืนวันที่7 เดือน7 ของทุกปี คือคืนที่ดาวทั้งสองดวงจะโคจรมาใกล้ กันมากที่สุดชาวเมืองเซนไดจึงเฉลิมฉลองด้วยการประดับประดาดาวกระดาษดวงใหญ่ให้ปลิวไสวไปทัวทั้งเมืองมี ่ การนากระดาษ5 สีหรื อ(Tanzaku)มาเขียนคาอธิษฐานทั้งเรื่ องความรักและตัดกระดาษเป็ นรู ปคล้ายๆโซ่แทน สัญลักษณ์ของทางช้างเผือกนาไปแขวนไว้ที่ตนไผ่และยังมีขบวนพาเหรดใหญ่โตสวยงามเทศกาลนี้จึงมี ้ นักท่องเที่ยวให้ความสนใจมากที่สุดอีกเทศกาลหนึ่งโดยเฉพาะจังหวัดมิยากิและจังหวัดคานางาวะ เมืองฮิระสึกะ 4. เทศกาลฮานามิ (Hanami Festival) : 1-15 เดือนเมษายนของทุกปี เทศกาลชมดอกซากุระบาน ช่วงเวลาแห่ง ความสุข ประจาฤดูใบไม้ผลิ เริ่ มต้นมาตั้งแต่สมัย“เฮอัน” แต่ยคนั้นจากัดไว้ในหมูขุนนางชั้นสูง และชนชั้นผูดี ุ ่ ้ โดยเฉพาะ มีการประกวดแต่งกลอน“ไฮกุ” กลอนไฮกุมี 17 พยางค์ บรรทัดแรก 5 พยางค์ บรรทัดต่อมามี 7 พยางค์ บรรทัดสุดท้าย มี 5 พยางค์ ใช้ภาษาเรี ยบง่าย สั้นๆได้ใจความ บรรทัดสุดท้าย ทิ้งท้ายให้คิด หรื อจบแบบพลิกความ คาดหมาย และร้องราทาเพลงต่อมาจึงเริ่ มแพร่ หลายไปสู่ชาวบ้าน ทุกวันนี้เมื่อถึงช่วงเวลาที่ซากุระออกดอกทุกคน จะพากันออกมาชมความงามสะพรั่ง สถานที่ต่างๆที่เป็ นจุดชมดอกซากุระบาน จะมีการออกร้านขายของกันอย่าง สนุกสนาน ครอบครัว เพื่อนฝูง จะนัดกันออกมาปิ กนิก ปิ้ งบาร์บีคิว ดื่มสาเกตามสวนสาธารณะ 5.เทศกาลโอบง(Obon): จัดทุกวันที่ 13-16 เดือนสิงหาคมของทุกปี ชาวญี่ปุ่นเดินทางกลับบ้านเกิดในช่วงนี้ เพื่อทา ความสะอาดหลุมฝังศพและเซ่นไหว้ดวงวิญญาณบรรพบุรุษ เพราะเชื่อกันว่าดวงวิญญาณคนตายจะกลับลงมาเยียม ่ โลกตามบ้านเรื อน จึงมีการจุดตะเกียงหรื อคบเพลิงเพื่อส่องนาทางดวงวิญญาณให้กลับบ้านถูก ในเทศกาลมีการร่ าย ราพื้นบ้านโบราณบงโอโดริ (Bon Odori)อยูทวทุกหนทุกแห่ง โดยชาวญี่ปุ่นจะสวมยูกาตะ และต้องสวมถุงเท้าที่ ่ ่ั เรี ยกว่า“Zori” และรองเท้าเกี๊ยะ ที่เรี ยก “Geta”เท่านั้น ถึงจะถูกต้องประเพณี ในวันที่ 13-15 สิงหาคม ก็มีการจัด พิธีกรรมเพื่อบูชาบรรพบุรุษ โดยการจุดไฟต้อนรับที่หน้าประตูบาน และถวายผักหน้าแท่นบูชา เอาปักไว้บน ้ ตะเกียบ แล้วในตอนเย็นของวันที่ 15 ก็มการส่งวิญญาณบรรพบุรุษด้วยการจุดไฟที่ เรี ยกว่า โทโรนางาชิ เป็ นโคม ี
  • 5. 5 กระดาษมีเทียนจุดไฟอยูภายใน แล้วนาไปลอยในแม่น้ า เพื่อนาทางให้วิญญาณบรรพบุรุษลอยออกสู่ทะเล แต่พธี ่ ิ การลอยโคมไฟของแต่ละท้องถินก็แตกต่างกันไป ่ 6.เทศกาลกิออน (Gion Matsuri) : จัดที่เกียวโต ในวันที่ 1-15 กรกฎาคมของทุกปี งานเทศกาลของศาลเจ้า Yasaka เป็ นหนึ่งใน 3 เทศกาลที่ยงใหญ่ของเกียวโต และยังเป็ น 1 ในเทศกาลที่ยงใหญ่ที่สุดในประเทศญี่ปุ่น ที่มีมาตั้งแต่ ิ่ ิ่ ศตวรรษที่19 จุดประสงค์ด้งเดิมของเทศกาลนี้ก็คือ การขับไล่ปิศาจที่เป็ นต้นเหตุให้เกิดโรคภัย ขบวนพาเหรด ั บอลลูนหรู หราตระการตา 12 ลูก ถูกแห่รอบเมืองเกียวโต ในงานมีการโชว์ Kasahoko ลักษณะคล้ายลูกโป่ งขนาด ใหญ่ หลากหลายรู ปร่ าง บางลูกมีความสูงถึง 6 เมตร นี่คือเทศกาลที่ชาวเมืองเกียวโตให้ความสาคัญและโด่งดังไป ทัวโลก ่ 7. เทศกาลหิมะ Snow Festival : จัดที่ Sapporo ทุกเดือนกุมภาพันธ์ อากาศที่หนาวเย็น ดึงดูดให้นกท่องเที่ยวมุ่งหน้า ั สู่เมืองซับโปโร บนเกาะฮอกไกโด เพื่อร่ วมสนุกสนานกับเทศกาลหิมะ ซึ่งเริ่ มจัดตั้งแต่ปี 1950 ซึ่งจัดขึ้นที่ Odori Park ประกอบด้วยจุดเยียมชม 3 จุด ได้แก่ Odori site, Sato-Land site และ Susukino site โดยจุดเด่นของงานอยูที่รูป ่ ่ สลักน้ าแข็งสถาปัตยกรรมสาคัญต่างๆ และในงาน Sapporo Snow Festival ครั้งที่ 58 มีจุดเด่นที่พระที่นงจักรี มหา ั่ ปราสาทของไทย สลักจากหิมะสามพันลูกบาศก์เมตร ระดมทหารญี่ปุ่นราว 3,000 คน มาช่วยกันแกะสลัก ใช้เวลา 1 เดือน เพื่อเป็ นการให้เกียรติประเทศไทยในโอกาสฉลอง 120 ปี ความสัมพันธ์ไทย-ญี่ปุ่น โดยมีนกท่องเที่ยวเดินทาง ั ไปชมกว่า 2 ล้านคน 9. เทศกาลตุ๊กตา : เทศกาลตุ๊กตาหรื อ "ฮินะมัทสึริ"(ひなまつり) มีข้ ึนในวันที่3 มีนาคมของทุกปี ฮินะมัทสึริ หรื อเทศกาลสาหรับเด็กผูหญิง เริ่ มมีมาตั้งแต่สมัยเอโดะ หรื อประมาณปี ค.ศ. 1603-1867 ในอดีตชาวญี่ปุ่นเรี ยก ้ เทศกาลนี้ว่า เทศกาลลูกท้อหรื อ Momo-no-Sekku หากบ้านใดที่มีลกสาว พ่อแม่ตองเตรี ยมทาชั้นวางตุ๊กตาฮินะ ู ้ ประกอบด้วยตุ๊กตาจักรพรรดิและจักรพรรดินี นางสนองพระโอษฐ์ 5 คน นักดนตรี 5 คน แต่งตัวอย่างสวยงามเต็ม ยศพร้อมข้าวของเครื่ องใช้นาไปวางไว้กบลูกท้อ เค้กที่ทาจากข้าว ขนมที่มีสีขาว-แดง และสาเก วันนั้นจะมีการเฉลิม ั ฉลองกันอย่างเบิกบาน โดยพ่อแม่จะอธิษฐานขอพรให้กบลูกสาวโตขึ้นอย่างมีความสุข ข้อดีของเทศกาลนี้ คือ การ ั ยกย่องเพศหญิงซึ่งในอนาคตจะต้องดูแลบุตรให้เติบโตต่อไป 10. เทศกาลวันเด็กผู้ชาย : คือวันที่ 5 พฤษภาคม เทศกาลนี้จดขี้นสาหรับเด็กผูชายเท่านั้น บ้านไหนที่มีลกชายจะ ั ้ ู ประดับว่าวปลาคาร์ฟยาว 1-2 เมตรให้ปลิวไสวตามจานวนบุตรชาย ในบ้านมีการจัดพิธีบูชาตุ๊กตานักรบ ซึ่ง ประกอบด้วยเสื้อเกราะ หมวกเกราะหรื อที่เรี ยกว่า “โกะงัสสึ นิ งเงียว”เพื่ออธิษฐานขอให้บุตรชายที่รักมีสุขภาพ แข็งแรง ไร้โรคภัยไข้เจ็บ นอกจากนี้ยงมีการใช้ดอกโชบุและดอกคะชิวะและโมะติ ประดับไว้กบตุกตานักรบที่ชื่อ ั ั ๊ ว่า Kabuto และมีการดื่มสาเกฉลองเช่นเดียวกับเทศกาลวันเด็กผูหญิง้ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
  • 6. 6 ลาดับ ขั้นตอน สั ปดาห์ ที่ ผู้รับผิดชอบ ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน              สมาชิกกลุ่ม  2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล               ชลฑิญา   3 จัดทาโครงร่ างงาน             ยูคะริ  4 ปฏิบติการสร้างโครงงาน ั            สมาชิกกลุ่ม  5 ตรวจสอบข้อมูล            สมาชิกกลุ่ม 6 แก้ไขและปรับปรุ ง           สมาชิกกลุ่ม 7 ประเมินผลงาน             สมาชิกกลุ่ม 8 นาเสนอโครงงาน             สมาชิกกลุ่ม ผลที่คาดว่าจะได้ รับ 1. ได้รู้จกวัฒนธรรมของต่างชาติมากยิงขึ้น ั ่ 2. ทาให้มีความรู้ใหม่ๆและเป็ นการเตรี ยมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนด้วย 3. เข้าใจและมีความรอบรู้ในเรื่ องเทศกาลของประเทศญี่ปุ่นมากยิงขึ้น ่ 4. สามารถนาความรู้ที่ได้จากการทาโครงงานไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ทเี่ กียวข้ อง ่ - กลุ่มสาระการเรี ยนรู้สงคมศึกษา ั แหล่งอ้างอิง http://www.student.chula.ac.th/~53373259/traditional.htm [วันที่คนข้อมูล:20 ธันวาคม 2555] ้ http://www.study-in- japan.com/web/home/index_school_contents.php?contents_id=85 [วันที่คนข้อมูล: 20 ้ ธันวาคม 2555]