SlideShare a Scribd company logo
โครงการพัฒนาการประมง
      "…ทรัพยากรด้านประมงจะต้องจัดเป็นระเบียบ
ความสาคัญไม่ได้อยูที่ว่าปล่อยพันธุ์ปลาให้ดี หรือเลี้ยงปลา
                     ่
ให้เติบโตดี สาคัญที่ว่าธรรมชาติเราปล่อยปลาลงไปแล้ว มัน
จะผสมพันธุ์หรือไม่ผสมพันธุ์ก็แล้วแต่ แต่ว่ามันก็เติบโตตาม
 ธรรมชาติใช้การได้ ปัญหาอยู่ที่ในด้านบริหารการจับปลา
   ไม่ใช่ในด้านการเลี้ยงปลา ในด้านการเลี้ยงปลา สถานี
 ประมงต่าง ๆ ก็ทาแล้ว แต่ที่จะต้องทาคือ บริหารเกี่ยวกับ
       การจับปลาให้ประชาชนได้ประโยชน์จริง ๆ …"
โครงการพัฒนาการประมง
• พระราชกรณียกิจที่เป็นรากฐานสาคัญของการพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าของไทยได้แก่
  การพระราชทานพระราชดาริให้กรมประมงนาพันธุ์ปลาหมอเทศ ซึ่งทดลองแล้วพบว่า
  เลี้ยงง่าย โตเร็ว อดทน และขยายพันธุ์ได้รวดเร็ว สามารถเลี้ยงได้ในแหล่งน้าทั่วทุกภาค
  ของประเทศ เข้าไปเพาะเลี้ยงในบริเวณสวนจิตรลดา ได้พระราชทานลูกปลาหมอเทศจาก
  การเพาะเลี้ยงดังกล่าวแก่กานันและผู้ใหญ่บ้านทั่วพระราชอาณาจักร เพื่อนาไปเลี้ยงและ
  ขยายพันธุ์ในตาบลและหมู่บ้านของตน พระราชกรณียกิจที่สาคัญยิ่งอีกประการหนึ่งได้แก่
  การเลี้ยงและการเพาะขยายพันธุ์ปลา ทิลาเปีย นิโลติกา ซึ่งสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮโต   ิ
  แห่งประเทศญี่ปุ่น ในขณะทรงดารงพระอิสริยยศเป็นที่มกุฎราชกุมาร ได้น้อมเกล้าฯ ถวาย
  เมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๘ และให้เลี้ยงไว้ในบ่อสวนจิตรลดา เมื่อทรงศึกษาจนทราบว่าเป็นปลาที่
  เลี้ยงง่าย เจริญเติบโตเร็ว อดทน แพร่พันธุ์ง่าย จึงได้พระราชทานชื่อปลานี้ว่า "ปลานิล"
  และให้กรมประมงนาไปเพาะขยายพันธุ์เพื่อแจกจ่ายแก่ราษฎร เป็นผลให้ปลานิล
  กลายเป็นปลาน้าจืดชนิดหนึ่งที่ราษฎรนิยมเพาะเลี้ยงอย่างกว้างขวาง และมีความสาคัญ
  ทางเศรษฐกิจของประเทศ ต่อมายังได้พระราชทานพ่อแม่พันธุ์ปลานิลจากบ่อสวน
  จิตรลดา เพื่อใช้ในการควบคุมพันธุกรรม มิให้ปลานิลเสื่อมพันธุ์อีกด้วย
พระราชด้าริเกี่ยวกับการพัฒนาประมงชายฝั่ง ประมงน้ากร่อย และประมง
                                น้าจืด
• พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้มีพระราชดาริให้ศึกษาและพัฒนาด้านการประมง
  ซึ่งมิใช่การศึกษาวิจัยทางด้านวิชาการชั้นสูง แต่ต้องศึกษาในด้านวิชาการที่จะนาผล
  มาใช้ในท้องที่และสามารถปฏิบัติจริงได้ เป็นการเชื่อมระหว่างการค้นคว้าวิจัยกับการ
  ประกอบอาชีพของเกษตรกร เพื่อให้ราษฎรธรรมดาทั่ว ๆ ไปที่ไม่มีความรู้มากนักก็
  สามารถทาได้ ดังพระราชดาริเกี่ยวกับเรื่องนี้ว่า
• "… ควรดาเนินการพัฒนาการประมงให้เหมาะสมกับลักษณะภูมิประเทศ โดยการ
  พัฒนาแหล่งน้าตามธรรมชาติ เช่น ห้วย หนอง ให้เป็นแหล่งขยายพันธุ์ปลาและ
  ส่งเสริมให้ราษฎรสามารถใช้ประโยชน์จากแหล่งน้านั้นได้ ทั้งการประมงและการปลูก
  พืชผักบริเวณรอบ ๆ หนองน้าด้วย เพราะการขุดบ่อขึ้นใหม่มักประสบปัญหาการขาด
  แคลนน้า หรือถ้าน้าท่วมปลาก็จะหนีไปหมด …"
• การพัฒนาการประมงตามพระราชดาริมิใช่เพียงเท่านั้น พระองค์ยังทรงสนพระราช
  หฤทัยต่อการศึกษาค้นคว้าในเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับปลาอยู่เสมอมา เช่น การ
  รักษาพันธุ์ปลาบางชนิดมิให้กลายพันธุ์ไป โดยขอให้ดาเนินการด้านพัฒนา
  พันธุกรรมเพื่อรักษาต้นพันธุ์ไว้ด้วย มิใช่เป็นการผลิตเพื่อนาไปปล่อยอย่างเดียว เป็น
  ต้น หรือในกรณีที่ปลาบางชนิดซึ่งเป็นปลาที่หายากและมีแนวโน้มว่าจะมีจานวนลด
  น้อยลง จนอาจสูญพันธุ์ได้ เช่น ปลาบึก ซึ่งเป็นปลาน้าจืดที่ใหญ่ที่สุดในโลก และมี
  อยู่แต่เฉพาะในแม่น้าโขงเท่านั้น ก็ทรงห่วงใยในเรื่องนี้เป็นอย่างยิ่ง และทรงให้
  ค้นคว้าหาวิธีการที่จะอนุรักษ์พันธุ์ปลาชนิดนี้ไว้ให้ได้ ซึ่งก็ทรงให้กาลังใจแก่ผู้ค้นคว้า
  ตลอดเวลา จนในที่สุดก็สามารถผสมเทียมพันธุ์ปลาชนิดนี้ได้สาเร็จ
•     สาหรับการอนุรักษ์ทรัพยากรประมง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสนพระ
    ราชหฤทัยการอนุรักษ์พันธุ์ปลาไทยที่หายาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการอนุรักษ์พันธุ์
    ปลาน้าจืดด้วยการเพาะและขยายพันธุ์ เช่น ได้มีพระราชดาริให้กรมประมง
    ศึกษาวิจัยเพื่อหาวิธีที่เหมาะสมในการเพาะและขยายพันธุ์ปลากระโห้ และปลา
    บึก จนประสบผลสาเร็จ แล้วนาลูกปลาไปปล่อยในแหล่งน้าธรรมชาติต่าง ๆ
    สาหรับปลากระโห้ ซึ่งเป็นปลาน้าจืดมีเกล็ดในกลุ่มปลาคาร์ปที่มีขนาดใหญ่ที่สุด
    ในโลก ได้พระราชทานพ่อและแม่พันธุ์จากบ่อสวนจิตรลดาเพื่อใช้ในการนี้ ส่วน
    ปลาบึก ซึ่งเป็นปลาน้าจืดไม่มีเกล็ดที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีเฉพาะในแม่น้าโขง และ
    เกือบจะสูญพันธุ์ ได้ทรงให้ใช้พ่อและแม่พันธุ์ที่มีอยู่ตามแหล่งน้าธรรมชาติ และ
    ได้ทรงติดตามความก้าวหน้าของการดาเนินการเป็นเนืองนิจ
• ส่วนการบริหารการจัดการทรัพยากรประมง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรง
  ส่งเสริมให้เกษตรกรรู้จักใช้ทรัพยากรอย่างถูกต้องเหมาะสม และรู้จักบริหารจัดการ
  การประมงอย่างถูกวิธี โดยให้แบ่งเขตระหว่างน้าจืดและน้าเค็ม ให้พัฒนาระบบ
  ชลประทานเพื่อการเลี้ยงกุ้ง ให้ใช้ระบบชีวภาพในการบาบัดน้าเสียจากบ่อเลี้ยงกุ้ง
  ทะเล พร้อมกับให้ศึกษาวิธีเลี้ยงกุ้งทะเลที่ไม่มีผลกระทบต่อระบบนิเวศเดิมที่เป็นอยู่
  ในธรรมชาติ
•      ในด้านการส่งเสริมการประมง ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กรมประมงรณรงค์
  ส่งเสริมให้ประชาชนเลี้ยงปลาในบ่อเป็นประเดิม ในการนี้ได้พระราชทานพระบรมรา
  ชานุญาตให้ใช้สระน้าบริเวณพระที่นั่งอัมพรสถานเป็นบ่อขยายพันธุ์ปลาหมอเทศ
  ด้วย นอกจากนี้ ยังมีพระราชดาริให้รวมการสาธิตการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าและการ
  ส่งเสริมอาชีพประมง ไว้ในภารกิจของศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจาก
  พระราชดาริ ทั้ง ๖ แห่ง และให้โครงการพัฒนาการประมงเป็นส่วนหนึ่งของโครงการ
  พัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดาริทั้งปวงอีกด้วย
• เกี่ยวกับการพัฒนาวิชาการและการวิจัยการประมง ทรงเน้นแนวทางผสมผสานโดยมุ่งใช้
  ประโยชน์ในท้องถิ่น จึงมีพระราชดาริให้การพัฒนาวิชาการและการวิจัยการประมงเป็น
  องค์ประกอบหนึ่งของงานวิจัย ทั้งในศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ แต่ละแห่ง และในโครงการอัน
  เนื่องมาจากพระราชดาริอื่น ๆ เช่น โครงการของศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนอัน
  เนื่องมาจากพระราชดาริ และโครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้าปากพนังอันเนื่องมาจาก
  พระราชดาริ ซึ่งดาเนินการวิจัยและพัฒนาการเลี้ยงกุ้งกุลาดาควบคู่กับการอนุรักษ์
  ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ส่วนในแหล่งน้าภาคใต้ที่มีดินเป็นกรดค่อนข้างสูง ได้
  มีพระราชดาริให้วิจัยเกี่ยวกับการเลี้ยงปลาท้องถิ่นที่ทนความเป็นกรดได้ดี เป็นผลให้มีการ
  พัฒนาการเลี้ยงปลาสลิดและปลาดุกลาพัน ซึ่งสามารถเจริญเติบโตได้ดีในสภาพดังกล่าว
• นอกจากการพัฒนาศึกษา ค้นคว้า ในด้านต่าง ๆ เกี่ยวกับการประมงแล้ว
  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ยังทรงห่วงใยถึงการจับปลาของประชาชนด้วย โดยมี
  พระราชดารัสให้พิจารณาศึกษาการวางระเบียบบริหาร เกี่ยวกับการจับปลาในแหล่ง
  น้า รวมทั้งเทคนิคในการควบคุมการจับปลาด้วย ในเวลาเดียวกันกับที่มีการจับปลาก็
  ควรมีการลงทุนเพื่อส่งเสริมการเลี้ยงปลา ถ้าสามารถศึกษาและทาให้การจับปลาเป็น
  ระเบียบเรียบร้อยได้โดยไม่มีการแก่งแย่งกัน เอาเปรียบกัน ไม่ทาลายพันธุ์ปลา ปลาก็
  จะไม่สูญพันธุ์ สามารถจับปลาได้โดยตลอด ก็จะเป็นทางที่เหมาะสมและได้ใช้เป็น
  แนวทางปฏิบัติสาหรับแหล่งน้าอื่น ๆดังที่ได้เคยมีพระราชกระแสรับสั่งว่า
• "… ได้ปล่อยปลามาหลายปีแล้ว และปลาก็เติบโตดี มีการจับปลา
  ร่ารวยกัน แต่ว่าผู้ที่ร่ารวยไปไม่ใช่เป็นชาวบ้านที่อยู่แถวนี้ เป็นพวกที่
  เรียกว่า เป็นนายทุนเป็นส่วนมาก ฉะนั้นถ้าอยากใช้ทรัพยากรในด้าน
  ประมง จะต้องจัดเป็นระเบียบ ความสาคัญไม่ได้อยู่ที่ว่าปล่อยพันธุ์ปลา
  ให้ดีหรือเลี้ยงปลาให้เติบโตดี สาคัญว่าตามธรรมชาติเราปล่อยปลาลง
  ไปแล้ว มันจะผสมพันธุ์หรือไม่ผสมพันธุ์ก็แล้วแต่ แต่ว่ามันก็เติบโตตาม
  ธรรมชาติ เมื่อเติบโตมากแล้วก็ใช้การได้ ปัญหาอยู่ที่ในด้านบริหารด้าน
  จับปลา เรื่องเพาะปลานี้ก็เป็นหน้าที่ของสถานีประมงต่าง ๆ ที่มีอยู่แล้ว
  สาหรับศูนย์ศึกษานี้ก็รู้สึกว่าต้องให้เป็นเรื่องชีวิตของเกษตรกรในด้าน
  การประมง ที่จะสามารถหาประโยชน์ได้ ตั้งตัวได้ และก็ควรจะตั้งเป็น
  กลุ่ม จะได้สามารถที่จะหาตลาดได้สะดวก ไม่มีการทะเลาะ ไม่มีการ
  แก่งแย่งกัน และไม่ทาลายพันธุ์ปลาด้วย …"
• จากการดาเนินงานตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ นับว่าได้ก่อประโยชน์ใน
  การพัฒนาอาชีพและความเป็นอยู่ของราษฎรให้สูงขึ้น ราษฎรมีอาหารโปรตีนจาก
  ปลาบริโภคกันอย่างทั่วถึง เป็นการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนอาหารโปรตีนได้เป็น
  อย่างดี อาจกล่าวได้โดยสรุปว่า ประโยชน์ในระยะสั้น ราษฎรได้รับความรู้และเทคนิค
  ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้า หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น้า และมีอาหารสัตว์น้า
  บริโภคเพิ่มขึ้นกว่าเดิม ช่วยให้ราษฎรที่ยากจนมีชีวิตความเป็นอยู่ดีขึ้น สาหรับใน
  อนาคตหรือประโยชน์ในระยะยาวนั้น คาดว่าเมื่อราษฎรมีประสบการณ์ในการ
  เพาะเลี้ยงสัตว์น้ามากขึ้น ก็จะสามารถผลิตสัตว์น้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่ง
  สามารถเพิ่มผลผลิตสัตว์น้าให้เพียงพอต่อการส่งออก ทารายได้เข้าประเทศปีละ
  หลายพันล้านบาท อันเป็นส่วนหนึ่งที่จะช่วยเสริมสร้างฐานะเศรษฐกิจของประเทศให้
  มั่นคงยิ่งขึ้น
นางสาว เบญจรัตน์ สู่วิทย์ เลขที่ 40 ม.4/6

More Related Content

Similar to โครงการพัฒนาการประมง

เรื่องราวของปลาเสือตอ
เรื่องราวของปลาเสือตอเรื่องราวของปลาเสือตอ
เรื่องราวของปลาเสือตอ
cherdpr1
 
งานนำเสนอ21
งานนำเสนอ21งานนำเสนอ21
งานนำเสนอ21joy1221
 
ชีวิตของปลากัด
ชีวิตของปลากัดชีวิตของปลากัด
ชีวิตของปลากัด
Anuphong Sewrirut
 
สายพันธุ์ปลากัด
สายพันธุ์ปลากัดสายพันธุ์ปลากัด
สายพันธุ์ปลากัดpongwiwat
 
Chaipat apr p036 040
Chaipat apr p036 040Chaipat apr p036 040
Chaipat apr p036 040i_cavalry
 
มหัศจรรย์สัตว์น้ำ
มหัศจรรย์สัตว์น้ำมหัศจรรย์สัตว์น้ำ
มหัศจรรย์สัตว์น้ำ0905695847
 
Sea turtles preservation
Sea turtles preservationSea turtles preservation
Sea turtles preservationaunun
 
งานนำเสนอ1 แก้ไข
งานนำเสนอ1 แก้ไขงานนำเสนอ1 แก้ไข
งานนำเสนอ1 แก้ไขRathapon Silachan
 
กิจกรรมที่ 2 นำเสนอโครงงาน
กิจกรรมที่ 2 นำเสนอโครงงานกิจกรรมที่ 2 นำเสนอโครงงาน
กิจกรรมที่ 2 นำเสนอโครงงาน
atipa49855
 
คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทย
คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทยคู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทย
คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทย
Utai Sukviwatsirikul
 
Wuttipong
WuttipongWuttipong
Wuttipong
ssuser2e81d51
 
คู่มือจำแนกงูทะเลและงูน้ำ - มนตรี สุมณฑา. (นักวิชาการประมงชํานาญการ. สถานีวิจ...
คู่มือจำแนกงูทะเลและงูน้ำ - มนตรี สุมณฑา. (นักวิชาการประมงชํานาญการ. สถานีวิจ...คู่มือจำแนกงูทะเลและงูน้ำ - มนตรี สุมณฑา. (นักวิชาการประมงชํานาญการ. สถานีวิจ...
คู่มือจำแนกงูทะเลและงูน้ำ - มนตรี สุมณฑา. (นักวิชาการประมงชํานาญการ. สถานีวิจ...
KAMOLCHAIKEAWKLANGMO
 
โครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนโครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนMaiiTy
 
โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1nananattie
 
Kc4104041
Kc4104041Kc4104041

Similar to โครงการพัฒนาการประมง (18)

เรื่องราวของปลาเสือตอ
เรื่องราวของปลาเสือตอเรื่องราวของปลาเสือตอ
เรื่องราวของปลาเสือตอ
 
กลุ่ม 4
กลุ่ม 4 กลุ่ม 4
กลุ่ม 4
 
งานนำเสนอ21
งานนำเสนอ21งานนำเสนอ21
งานนำเสนอ21
 
ชีวิตของปลากัด
ชีวิตของปลากัดชีวิตของปลากัด
ชีวิตของปลากัด
 
สายพันธุ์ปลากัด
สายพันธุ์ปลากัดสายพันธุ์ปลากัด
สายพันธุ์ปลากัด
 
Chaipat apr p036 040
Chaipat apr p036 040Chaipat apr p036 040
Chaipat apr p036 040
 
มหัศจรรย์สัตว์น้ำ
มหัศจรรย์สัตว์น้ำมหัศจรรย์สัตว์น้ำ
มหัศจรรย์สัตว์น้ำ
 
Sea turtles preservation
Sea turtles preservationSea turtles preservation
Sea turtles preservation
 
งานนำเสนอ1 แก้ไข
งานนำเสนอ1 แก้ไขงานนำเสนอ1 แก้ไข
งานนำเสนอ1 แก้ไข
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
กิจกรรมที่ 2 นำเสนอโครงงาน
กิจกรรมที่ 2 นำเสนอโครงงานกิจกรรมที่ 2 นำเสนอโครงงาน
กิจกรรมที่ 2 นำเสนอโครงงาน
 
คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทย
คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทยคู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทย
คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทย
 
Teerapat betta fish
Teerapat betta fishTeerapat betta fish
Teerapat betta fish
 
Wuttipong
WuttipongWuttipong
Wuttipong
 
คู่มือจำแนกงูทะเลและงูน้ำ - มนตรี สุมณฑา. (นักวิชาการประมงชํานาญการ. สถานีวิจ...
คู่มือจำแนกงูทะเลและงูน้ำ - มนตรี สุมณฑา. (นักวิชาการประมงชํานาญการ. สถานีวิจ...คู่มือจำแนกงูทะเลและงูน้ำ - มนตรี สุมณฑา. (นักวิชาการประมงชํานาญการ. สถานีวิจ...
คู่มือจำแนกงูทะเลและงูน้ำ - มนตรี สุมณฑา. (นักวิชาการประมงชํานาญการ. สถานีวิจ...
 
โครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนโครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลน
 
โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1
 
Kc4104041
Kc4104041Kc4104041
Kc4104041
 

โครงการพัฒนาการประมง

  • 1. โครงการพัฒนาการประมง "…ทรัพยากรด้านประมงจะต้องจัดเป็นระเบียบ ความสาคัญไม่ได้อยูที่ว่าปล่อยพันธุ์ปลาให้ดี หรือเลี้ยงปลา ่ ให้เติบโตดี สาคัญที่ว่าธรรมชาติเราปล่อยปลาลงไปแล้ว มัน จะผสมพันธุ์หรือไม่ผสมพันธุ์ก็แล้วแต่ แต่ว่ามันก็เติบโตตาม ธรรมชาติใช้การได้ ปัญหาอยู่ที่ในด้านบริหารการจับปลา ไม่ใช่ในด้านการเลี้ยงปลา ในด้านการเลี้ยงปลา สถานี ประมงต่าง ๆ ก็ทาแล้ว แต่ที่จะต้องทาคือ บริหารเกี่ยวกับ การจับปลาให้ประชาชนได้ประโยชน์จริง ๆ …"
  • 2. โครงการพัฒนาการประมง • พระราชกรณียกิจที่เป็นรากฐานสาคัญของการพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าของไทยได้แก่ การพระราชทานพระราชดาริให้กรมประมงนาพันธุ์ปลาหมอเทศ ซึ่งทดลองแล้วพบว่า เลี้ยงง่าย โตเร็ว อดทน และขยายพันธุ์ได้รวดเร็ว สามารถเลี้ยงได้ในแหล่งน้าทั่วทุกภาค ของประเทศ เข้าไปเพาะเลี้ยงในบริเวณสวนจิตรลดา ได้พระราชทานลูกปลาหมอเทศจาก การเพาะเลี้ยงดังกล่าวแก่กานันและผู้ใหญ่บ้านทั่วพระราชอาณาจักร เพื่อนาไปเลี้ยงและ ขยายพันธุ์ในตาบลและหมู่บ้านของตน พระราชกรณียกิจที่สาคัญยิ่งอีกประการหนึ่งได้แก่ การเลี้ยงและการเพาะขยายพันธุ์ปลา ทิลาเปีย นิโลติกา ซึ่งสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮโต ิ แห่งประเทศญี่ปุ่น ในขณะทรงดารงพระอิสริยยศเป็นที่มกุฎราชกุมาร ได้น้อมเกล้าฯ ถวาย เมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๘ และให้เลี้ยงไว้ในบ่อสวนจิตรลดา เมื่อทรงศึกษาจนทราบว่าเป็นปลาที่ เลี้ยงง่าย เจริญเติบโตเร็ว อดทน แพร่พันธุ์ง่าย จึงได้พระราชทานชื่อปลานี้ว่า "ปลานิล" และให้กรมประมงนาไปเพาะขยายพันธุ์เพื่อแจกจ่ายแก่ราษฎร เป็นผลให้ปลานิล กลายเป็นปลาน้าจืดชนิดหนึ่งที่ราษฎรนิยมเพาะเลี้ยงอย่างกว้างขวาง และมีความสาคัญ ทางเศรษฐกิจของประเทศ ต่อมายังได้พระราชทานพ่อแม่พันธุ์ปลานิลจากบ่อสวน จิตรลดา เพื่อใช้ในการควบคุมพันธุกรรม มิให้ปลานิลเสื่อมพันธุ์อีกด้วย
  • 3. พระราชด้าริเกี่ยวกับการพัฒนาประมงชายฝั่ง ประมงน้ากร่อย และประมง น้าจืด • พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้มีพระราชดาริให้ศึกษาและพัฒนาด้านการประมง ซึ่งมิใช่การศึกษาวิจัยทางด้านวิชาการชั้นสูง แต่ต้องศึกษาในด้านวิชาการที่จะนาผล มาใช้ในท้องที่และสามารถปฏิบัติจริงได้ เป็นการเชื่อมระหว่างการค้นคว้าวิจัยกับการ ประกอบอาชีพของเกษตรกร เพื่อให้ราษฎรธรรมดาทั่ว ๆ ไปที่ไม่มีความรู้มากนักก็ สามารถทาได้ ดังพระราชดาริเกี่ยวกับเรื่องนี้ว่า • "… ควรดาเนินการพัฒนาการประมงให้เหมาะสมกับลักษณะภูมิประเทศ โดยการ พัฒนาแหล่งน้าตามธรรมชาติ เช่น ห้วย หนอง ให้เป็นแหล่งขยายพันธุ์ปลาและ ส่งเสริมให้ราษฎรสามารถใช้ประโยชน์จากแหล่งน้านั้นได้ ทั้งการประมงและการปลูก พืชผักบริเวณรอบ ๆ หนองน้าด้วย เพราะการขุดบ่อขึ้นใหม่มักประสบปัญหาการขาด แคลนน้า หรือถ้าน้าท่วมปลาก็จะหนีไปหมด …"
  • 4. • การพัฒนาการประมงตามพระราชดาริมิใช่เพียงเท่านั้น พระองค์ยังทรงสนพระราช หฤทัยต่อการศึกษาค้นคว้าในเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับปลาอยู่เสมอมา เช่น การ รักษาพันธุ์ปลาบางชนิดมิให้กลายพันธุ์ไป โดยขอให้ดาเนินการด้านพัฒนา พันธุกรรมเพื่อรักษาต้นพันธุ์ไว้ด้วย มิใช่เป็นการผลิตเพื่อนาไปปล่อยอย่างเดียว เป็น ต้น หรือในกรณีที่ปลาบางชนิดซึ่งเป็นปลาที่หายากและมีแนวโน้มว่าจะมีจานวนลด น้อยลง จนอาจสูญพันธุ์ได้ เช่น ปลาบึก ซึ่งเป็นปลาน้าจืดที่ใหญ่ที่สุดในโลก และมี อยู่แต่เฉพาะในแม่น้าโขงเท่านั้น ก็ทรงห่วงใยในเรื่องนี้เป็นอย่างยิ่ง และทรงให้ ค้นคว้าหาวิธีการที่จะอนุรักษ์พันธุ์ปลาชนิดนี้ไว้ให้ได้ ซึ่งก็ทรงให้กาลังใจแก่ผู้ค้นคว้า ตลอดเวลา จนในที่สุดก็สามารถผสมเทียมพันธุ์ปลาชนิดนี้ได้สาเร็จ
  • 5. สาหรับการอนุรักษ์ทรัพยากรประมง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสนพระ ราชหฤทัยการอนุรักษ์พันธุ์ปลาไทยที่หายาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการอนุรักษ์พันธุ์ ปลาน้าจืดด้วยการเพาะและขยายพันธุ์ เช่น ได้มีพระราชดาริให้กรมประมง ศึกษาวิจัยเพื่อหาวิธีที่เหมาะสมในการเพาะและขยายพันธุ์ปลากระโห้ และปลา บึก จนประสบผลสาเร็จ แล้วนาลูกปลาไปปล่อยในแหล่งน้าธรรมชาติต่าง ๆ สาหรับปลากระโห้ ซึ่งเป็นปลาน้าจืดมีเกล็ดในกลุ่มปลาคาร์ปที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ในโลก ได้พระราชทานพ่อและแม่พันธุ์จากบ่อสวนจิตรลดาเพื่อใช้ในการนี้ ส่วน ปลาบึก ซึ่งเป็นปลาน้าจืดไม่มีเกล็ดที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีเฉพาะในแม่น้าโขง และ เกือบจะสูญพันธุ์ ได้ทรงให้ใช้พ่อและแม่พันธุ์ที่มีอยู่ตามแหล่งน้าธรรมชาติ และ ได้ทรงติดตามความก้าวหน้าของการดาเนินการเป็นเนืองนิจ
  • 6. • ส่วนการบริหารการจัดการทรัพยากรประมง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรง ส่งเสริมให้เกษตรกรรู้จักใช้ทรัพยากรอย่างถูกต้องเหมาะสม และรู้จักบริหารจัดการ การประมงอย่างถูกวิธี โดยให้แบ่งเขตระหว่างน้าจืดและน้าเค็ม ให้พัฒนาระบบ ชลประทานเพื่อการเลี้ยงกุ้ง ให้ใช้ระบบชีวภาพในการบาบัดน้าเสียจากบ่อเลี้ยงกุ้ง ทะเล พร้อมกับให้ศึกษาวิธีเลี้ยงกุ้งทะเลที่ไม่มีผลกระทบต่อระบบนิเวศเดิมที่เป็นอยู่ ในธรรมชาติ • ในด้านการส่งเสริมการประมง ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กรมประมงรณรงค์ ส่งเสริมให้ประชาชนเลี้ยงปลาในบ่อเป็นประเดิม ในการนี้ได้พระราชทานพระบรมรา ชานุญาตให้ใช้สระน้าบริเวณพระที่นั่งอัมพรสถานเป็นบ่อขยายพันธุ์ปลาหมอเทศ ด้วย นอกจากนี้ ยังมีพระราชดาริให้รวมการสาธิตการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าและการ ส่งเสริมอาชีพประมง ไว้ในภารกิจของศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจาก พระราชดาริ ทั้ง ๖ แห่ง และให้โครงการพัฒนาการประมงเป็นส่วนหนึ่งของโครงการ พัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดาริทั้งปวงอีกด้วย
  • 7. • เกี่ยวกับการพัฒนาวิชาการและการวิจัยการประมง ทรงเน้นแนวทางผสมผสานโดยมุ่งใช้ ประโยชน์ในท้องถิ่น จึงมีพระราชดาริให้การพัฒนาวิชาการและการวิจัยการประมงเป็น องค์ประกอบหนึ่งของงานวิจัย ทั้งในศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ แต่ละแห่ง และในโครงการอัน เนื่องมาจากพระราชดาริอื่น ๆ เช่น โครงการของศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนอัน เนื่องมาจากพระราชดาริ และโครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้าปากพนังอันเนื่องมาจาก พระราชดาริ ซึ่งดาเนินการวิจัยและพัฒนาการเลี้ยงกุ้งกุลาดาควบคู่กับการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ส่วนในแหล่งน้าภาคใต้ที่มีดินเป็นกรดค่อนข้างสูง ได้ มีพระราชดาริให้วิจัยเกี่ยวกับการเลี้ยงปลาท้องถิ่นที่ทนความเป็นกรดได้ดี เป็นผลให้มีการ พัฒนาการเลี้ยงปลาสลิดและปลาดุกลาพัน ซึ่งสามารถเจริญเติบโตได้ดีในสภาพดังกล่าว
  • 8. • นอกจากการพัฒนาศึกษา ค้นคว้า ในด้านต่าง ๆ เกี่ยวกับการประมงแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ยังทรงห่วงใยถึงการจับปลาของประชาชนด้วย โดยมี พระราชดารัสให้พิจารณาศึกษาการวางระเบียบบริหาร เกี่ยวกับการจับปลาในแหล่ง น้า รวมทั้งเทคนิคในการควบคุมการจับปลาด้วย ในเวลาเดียวกันกับที่มีการจับปลาก็ ควรมีการลงทุนเพื่อส่งเสริมการเลี้ยงปลา ถ้าสามารถศึกษาและทาให้การจับปลาเป็น ระเบียบเรียบร้อยได้โดยไม่มีการแก่งแย่งกัน เอาเปรียบกัน ไม่ทาลายพันธุ์ปลา ปลาก็ จะไม่สูญพันธุ์ สามารถจับปลาได้โดยตลอด ก็จะเป็นทางที่เหมาะสมและได้ใช้เป็น แนวทางปฏิบัติสาหรับแหล่งน้าอื่น ๆดังที่ได้เคยมีพระราชกระแสรับสั่งว่า
  • 9. • "… ได้ปล่อยปลามาหลายปีแล้ว และปลาก็เติบโตดี มีการจับปลา ร่ารวยกัน แต่ว่าผู้ที่ร่ารวยไปไม่ใช่เป็นชาวบ้านที่อยู่แถวนี้ เป็นพวกที่ เรียกว่า เป็นนายทุนเป็นส่วนมาก ฉะนั้นถ้าอยากใช้ทรัพยากรในด้าน ประมง จะต้องจัดเป็นระเบียบ ความสาคัญไม่ได้อยู่ที่ว่าปล่อยพันธุ์ปลา ให้ดีหรือเลี้ยงปลาให้เติบโตดี สาคัญว่าตามธรรมชาติเราปล่อยปลาลง ไปแล้ว มันจะผสมพันธุ์หรือไม่ผสมพันธุ์ก็แล้วแต่ แต่ว่ามันก็เติบโตตาม ธรรมชาติ เมื่อเติบโตมากแล้วก็ใช้การได้ ปัญหาอยู่ที่ในด้านบริหารด้าน จับปลา เรื่องเพาะปลานี้ก็เป็นหน้าที่ของสถานีประมงต่าง ๆ ที่มีอยู่แล้ว สาหรับศูนย์ศึกษานี้ก็รู้สึกว่าต้องให้เป็นเรื่องชีวิตของเกษตรกรในด้าน การประมง ที่จะสามารถหาประโยชน์ได้ ตั้งตัวได้ และก็ควรจะตั้งเป็น กลุ่ม จะได้สามารถที่จะหาตลาดได้สะดวก ไม่มีการทะเลาะ ไม่มีการ แก่งแย่งกัน และไม่ทาลายพันธุ์ปลาด้วย …"
  • 10. • จากการดาเนินงานตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ นับว่าได้ก่อประโยชน์ใน การพัฒนาอาชีพและความเป็นอยู่ของราษฎรให้สูงขึ้น ราษฎรมีอาหารโปรตีนจาก ปลาบริโภคกันอย่างทั่วถึง เป็นการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนอาหารโปรตีนได้เป็น อย่างดี อาจกล่าวได้โดยสรุปว่า ประโยชน์ในระยะสั้น ราษฎรได้รับความรู้และเทคนิค ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้า หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น้า และมีอาหารสัตว์น้า บริโภคเพิ่มขึ้นกว่าเดิม ช่วยให้ราษฎรที่ยากจนมีชีวิตความเป็นอยู่ดีขึ้น สาหรับใน อนาคตหรือประโยชน์ในระยะยาวนั้น คาดว่าเมื่อราษฎรมีประสบการณ์ในการ เพาะเลี้ยงสัตว์น้ามากขึ้น ก็จะสามารถผลิตสัตว์น้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่ง สามารถเพิ่มผลผลิตสัตว์น้าให้เพียงพอต่อการส่งออก ทารายได้เข้าประเทศปีละ หลายพันล้านบาท อันเป็นส่วนหนึ่งที่จะช่วยเสริมสร้างฐานะเศรษฐกิจของประเทศให้ มั่นคงยิ่งขึ้น