SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
น.ส.ณัฐณิชา บุญนุกล ม.4/8 เลขที21
                  ู            ่
ความเป็ นมาของโครงการ

             ตามที่สมเด็จพระเทพรั ตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตามเสด็จ
พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัวฯ และสมเด็จพระนางเจ้ าฯ พระบรมราชินีนาถ
ทรงเยี่ยมราษฎรในถิ่นทุรกันดารทั่วทุกภาคของประเทศไทย ทรงพบเห็นปั ญหา
ความยากจน ความขาดแคลนอาหาร และสภาพแวดล้ อมที่เสื่อมโทรม
ประชาชนเป็ นโรคขาดสารอาหารและสุขภาพอ่ อนแอเจ็บป่ วยไม่ แข็งแรง ไม่
สามารถปฏิบัตงานได้ ดี โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนเป็ นกลุ่มที่ได้ รับผลกระทบ
                    ิ
มากที่สุด อีกทังมีพฤติกรรมการบริโภค และพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ พงประสงค์
                  ้                                                  ึ
ทาให้ พระองค์ ทรงมีพระราชหฤทัยมุ่งมั่นที่จะช่ วยเหลือประชาชนและเยาวชน
เหล่ า นัน ให้ มีชีวตความเป็ นอยู่ท่ ดขน ทรงมีพระราชดาริให้ โรงเรี ยนจัดตัง
          ้           ิ              ี ี ึ้                               ้
โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน มุ่งเน้ นที่การสร้ างความมั่นคงทางอาหาร
เพื่อให้ นักเรี ยนมีอาหารที่มีคุณค่ าทางโภชนาการ ภายใต้ แผนพัฒนาเด็กและ
เยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ตามพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรั ตนราชสุดาฯ สยาม
บรมราชกุมารี ฉบับที่ ๑ (พ.ศ.๒๕๓๕ - ๒๕๓๙) จนปั จจุบัน
กรมประมง ในฐานะเป็ นหน่ วยงานหนึ่งที่สนองงานโครงการตามพระราชดาริ ได้ ดาเนินกิจกรรมประมงโรงเรี ยน
มาตังแต่ ปี ๒๕๓๕ จนกระทั่งปี พ.ศ. ๒๕๔๖ กรมประมงได้ จัดทาโครงการสนับสนุนด้ านการประมง ตาม
     ้
พระราชดาริ สมเด็จพระเทพรั ตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อดาเนินกิจกรรมประมงโรงเรี ยนและ
กิจกรรมฝึ กอบรมมาจนถึงปั จจุบัน โดยปั จจุบันได้ ดาเนินการตามแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร
ตามพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรั ตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ฉบับที่ ๔ (พ.ศ.๒๕๕๐ - ๒๕๕๙) ซึ่ง
สอดคล้ องตามวัตถุประสงค์ ท่ ี ๔ เสริมสร้ างศักยภาพของเด็กและเยาวชนทางการอาชีพ ภายใต้ โครงการเกษตร
เพื่ออาหารกลางวันตามพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรั ตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ดาเนินการโดย
สนับสนุนปั จจัยการผลิตด้ านการประมงที่เหมาะสมกับสภาพพืนที่และ ศักยภาพของโรงเรี ยน อบรมให้ ความรู้
                                                           ้
ด้ านการเพาะเลียงสัตว์ นา และด้ านโภชนาการและสาธิตการแปรรู ปสัตว์ นาแก่ ครู และนักเรี ยนในโรงเรี ยน
                  ้        ้                                         ้
ตลอดจนติดตามและให้ คาแนะนาทักษะด้ านการจัดการการผลิตและการจัดการผล ผลิตอย่ างมีประสิทธิภาพ โดย
ดาเนินการในโรงเรี ยนสังกัดกองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน โรงเรี ยนสังกัดสานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขันพืนฐาน ศูนย์ การเรี ยนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ ฟาหลวง” ศูนย์ การเรี ยนชุมชนชาวไทยมอแกน
              ้ ้                                        ้
สังกัดสานักงานส่ งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม
สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน โรงเรี ยนในสังกัดองค์ การบริหารส่ วนท้ องถิ่นและโรงเรี ยนใน
สังกัดกรุ งเทพมหา นคร ซึ่งกิจกรรมด้ านการประมงถือเป็ นการผลิตอาหารจาพวกโปรตีนที่สาคัญกิจกรรม หนึ่ง ที่
ทาให้ เยาวชนมีสุขภาพพลานามัยสมบูรณ์ แข็งแรง อีกทังยังเป็ นแหล่ งการเรี ยนรู้ ด้านการเลียงสัตว์ นา และการ
                                                     ้                                    ้        ้
อนุรักษ์ ทรั พยากรสัตว์ นาให้ แก่ เด็ก เยาวชน และราษฎรในชุมชน เพื่อสามารถนาความรู้ ไปใช้ ในการประกอบ
                         ้
อาชีพได้ ต่อไปในอนาคต นอกจากนียังเป็ นการส่ งเสริมให้ เด็กหรื อเยาวชนได้ ใช้ เวลาว่ างให้ เป็ น ประโยชน์ และยัง
                                       ้
เป็ นการปลูกฝั งให้ เกิดความสามัคคีในชุมชนต่ อไปในอนาคต
วัตถุประสงค์
    ๑. เพือเป็ นแหล่งผลิตอาหารโปรตีนประเภทปลาให้ แก่เด็กนักเรียนบริโภคเป็ นอาหาร
          ่
กลางวันทีมคุณค่ าทางโภชนาการ และก่ อให้ เกิดรายได้ จากการจาหน่ ายสั ตว์ นา เพือ
                    ่ ี                                                        ้ ่
นามาใช้ ในการบริหารงานด้ านการประมงภายในโรงเรียน
    ๒. เพือปลูกฝังให้ นักเรียนมีความรู้ ทักษะพืนฐานและประสบการณ์ ในการเพาะเลียง
                  ่                                 ้                                ้
สั ตว์ นา การใช้ ประโยชน์ จากทรัพยากรสั ตว์ นาอย่ างถูกวิธี เข้ าใจหลักการอนุรักษ์
        ้                                       ้
ทรัพยากรประมงอย่ างถูกต้ อง หลักการเพาะเลียงสั ตว์ นาและการเกษตรแบบผสมผสาน
                                                  ้           ้
และการใช้ ประโยชน์ จากทรัพยากรภายในท้ องถิ่น เพือให้ เกิดการผลิตอย่ างยังยืน
                                                          ่                  ่
    ๓. เพือให้ เกิดการเรียนรู้ ด้านการแปรรู ปสั ตว์ นา การถนอมอาหารและหลัก
              ่                                       ้
โภชนาการสั ตว์ นา รวมทั้งสร้ างทัศนคติในการบริโภคทีดี ถูกสุ ขลักษณะตามหลัก
                        ้                                   ่
โภชนาการที่ดี
    ๔. เพือให้ โรงเรียนเป็ นศูนย์ กลางในการเผยแพร่ ความรู้ และเป็ นแหล่ งวิทยาการของ
            ่
หมู่บ้าน โดยฝึ กอบรมครู ให้ มความรู้ พนฐานในสาขาวิชาการประมง สามารถนาความรู้
                                 ี      ื้
ไปถ่ ายทอดให้ ราษฎรในหมู่บ้านเกิดการขยายผลด้ านการเพาะเลียง สั ตว์ นาไปสู่ ชุมชน
                                                                   ้       ้
มีอาชีพและมีรายได้ เสริมไม่ ไปยุ่งเกียวกับยาเสพติด
                                      ่
    ๕. เพือให้ เกิดการพัฒนารู ปแบบด้ านการเพาะเลียงสั ตว์ นาทีเ่ หมาะสมในแต่ ละพืนที่
                ่                                       ้       ้                  ้
หน่วยงานรับผิดชอบ

            - สานักงานประมงจังหวัดในแต่ละพื้นที่
  - ส่ วนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ
  - สานักพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการประมง กรมประมง
พืนที่ดาเนินงาน
  ้
    กรมประมง มีพนทีดาเนินการตามแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารฯ
                     ื้ ่
ฉบับที่ ๔ (๒๕๕๐ - ๒๕๕๙) จานวนทั้งสิ้น ๖๗๔ โรงเรียน ได้ แก่
    - โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน สั งกัดกองบัญชาการตารวจตระเวน
ชายแดน ๑๗๗ โรงเรียน
    - โรงเรียนสั งกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืนฐาน ๑๘๕ โรงเรียน
                                                           ้
    - ศูนย์ การเรียนชุ มชนชาวไทยภูเขาแม่ ฟาหลวง และศูนย์ การเรียนชุ มชนชาวไทย
                                          ้
มอแกน
    สั งกัดสานักงานส่ งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ๒๖๖
โรงเรียน
    - โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม
    สั งกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน ๑๔ โรงเรียน
    - โรงเรียนในสั งกัดองค์ การบริหารส่ วนท้ องถิ่น ๙ โรงเรียน
    - โรงเรียนในสั งกัดกรุ งเทพมหานคร ๒๓ โรงเรียน
พระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัวด้ านการประมง นับว่ าเป็ น
การวางรากฐานสาคัญในการพัฒนาการเพาะเลียงสั ตว์ นาของไทย และอานวย
                                                   ้           ้
ประโยชน์ ต่อชีวตและความเป็ นอยู่ของประชาชนในทุกภูมภาคของประเทศ พระ
                       ิ                                         ิ
ราชกรณียกิจเกียวกับการเพาะเลียงสั ตว์ นา เริ่มเมือกรมประมงแห่ งเมืองปี นังได้
                     ่              ้        ้       ่
ส่ งปลาหมอเทศให้ กรมประมงไทยทดลองเพาะเลียงเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๒ ปรากฎ
                                                       ้
ว่ าเป็ นปลาทีเ่ ลียงง่ าย โตเร็ว ทนต่ อโรคและขยายพันธุ์ได้ รวดเร็ว ความทราบถึง
                   ้
พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัว จึงได้ มพระราชกระแสรับสั่ งให้ กรมประมงนา
                                          ี
พันธุ์ปลาหมอเทศจานวนหนึ่งมาทดลองเลียงในพระทีน่ังอัมพรสถาน เมือปี
                                               ้             ่             ่
พ.ศ. ๒๔๙๔ หลังจากนั้นในปี พ.ศ. ๒๔๙๖ ได้ โปรดเกล้ าฯ ให้ กานัน ผู้ใหญ่ บ้าน
จากทัวประเทศเข้ ารับพระราชทานพันธุ์ปลาหมอเทศที่ผลิตได้ เพือนาไปเลียง
         ่                                                           ่       ้
แพร่ ขยายพันธุ์ในตาบล และหมู่บ้านของตนต่ อไป พระราชกรณียกิจครั้งนีนับว่ า      ้
เป็ นการวางรากฐานสาคัญในการพัฒนาการเพาะเลียงสั ตว์ นาของไทย ทีทาให้
                                                         ้         ้     ่
ประชาชนคนไทยได้ เรียนรู้ และสนใจการเลียงปลาขึนอย่ างกว้ างขวางทั่วประเทศ
                                                 ้         ้
พระราชกรณียกิจในด้ านการเพาะเลียงสั ตว์ นาที่สาคัญยิง และนับว่ าอานวยประโยชน์ ต่อ
                                   ้        ้           ่
ชีวตความเป็ นอยู่ของประชาชนชาวไทยทัวทุกภูมภาคคือ พระราชกรณียกิจเกียวกับการ
     ิ                                   ่      ิ                          ่
เพาะเลียงปลานิล ซึ่งสมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโต เมือครั้งทรงดารงพระอิสริยยศ
        ้                                             ่
มกุฎราชกุมารแห่ งประเทศญี่ปุ่น ได้ น้อมเกล้ าฯ ถวายปลาทิโลเปี ย นิโลติกา (Tilapia
Nilatica) จานวน ๕๐ ตัว แด่ พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัว จานวน ๕๐ ตัว เมือวันที่ ่
๒๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๐๘ ได้ ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้ าฯ ให้ ปล่ อยลงเลียงในบ่ อบริเวณ
                                                                    ้
สวนจิตรลดาพระราชวังดุสิตและต่ อมาได้ ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้ าฯ ให้ ขุดบ่ อเลียงปลา
                                                                             ้
นิลเพิมขึนอีก ๖ บ่ อ และได้ ทรงย้ายปลานิลจากบ่ อเดิมไปเลียงในบ่ อใหม่ ด้วยพระองค์ เอง
       ่ ้                                                ้
เมือวันที่ ๑ กันยายน พ.ศ. ๒๕๐๘ ต่ อมาได้ พระราชทานชื่อปลานีว่า "ปลานิล" และได้
   ่                                                           ้
พระราชทานลูกปลานิล ๑๐,๐๐๐ ตัว ให้ กรมประมง เพือนาไปเพาะเลียงขยายพันธุ์ที่
                                                    ่             ้
แผนกทดลองและเพาะเลียงในบริเวณเกษตรกลางบางเขน กรุ งเทพมหานคร และทีสถานี
                         ้                                                       ่
ประมงต่ าง ๆ ทัวพระราชอาณาจักร เมือวันที่ ๑๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๐๙ และได้ โปรดเกล้า
                 ่                    ่
ฯ ให้ ขุดบ่ อในบริเวณสวนจิตรลดา เพิมขึนอีก ๓ บ่ อ รวมเป็ น ๙ บ่ อ
                                     ่ ้
กรมประมงได้ดาเนินการขยายพันธุ์ปลานิลเป็ นจานวนมาก และได้แจกจ่ายให้แก่ราษฎร
เพื่อนาไปเพาะเลี้ยงตามพระราชประสงค์ต้ งแต่วนที่ ๑๗ สิ งหาคม พ.ศ. ๒๔๙๖ จนถึง
                                        ั ั
                                                                    ่ ั
ปั จจุบนปี ละเป็ นจานวนหลายล้านตัว ในการนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวได้ทรงพระ
       ั
กรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้กรมประมงนาพันธุ์ปลานิลที่เพาะเลี้ยงไว้ในบ่อบริ เวณสวนจิตรลดา
พระราชวังดุสิตสมทบแจกจ่ายให้แก่ราษฎรตามความต้องการของราษฎรอีกเป็ นประจา
ปั จจุบนนี้สถานีประมงและเอกชนสามารถผลิตพันธุ์ปลาชนิดนี้ได้เป็ นจานวนมาก และได้
         ั
มีการเพาะเลี้ยงกันอย่างกว้างขวางในทุกภูมิภาค นอกจากนี้การที่ได้มีการปล่อยปลานิลลง
แหล่งน้ าต่าง ๆ ทาให้ปลานิลกลายเป็ นปลาน้ าจืดที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจของไทย
ชนิดหนึ่ง เป็ นการสร้างงานสร้างอาชีพและรายได้แก่ราษฎรทัวไปในทุกภูมิภาคและเป็ น
                                                          ่
แหล่งอาหารโปรตีนที่มีคุณภาพสาหรับราษฎรในท้องถิ่น ในปั จจุบนปลานิลในแหล่งน้ า
                                                              ั
ธรรมชาติส่วนหนึ่งมีปัญหาการกลายพันธุ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวก็ได้พระราชทาน
                                                                ่ ั
พ่อแม่พนธุ์ปลานิลจากบ่อสวนจิตรลดาให้กรมประมงเพื่อใช้เป็ นหลักในการควบคุม
           ั
พันธุกรรม
การประมง หรื อ ประมง หมายถึงการจัดการของมนุษย์ดานการจับปลาหรื อสัตว์
                                                         ้
น้ าอื่นๆ การดูแลรักษาปลาสวยงามและการแปรรู ปเป็ นผลิตภัณฑ์ประมงเช่น
น้ ามันปลา [1] กิจกรรมการทาประมงจัดแบ่งได้ท้ งตามชนิ ดสัตว์น้ าและตามเขต
                                                 ั
เศรษฐกิจ เช่น การทาประมงปลาแซลมอนในอลาสก้า การทาประมงปลาคอดใน
เกาะลอโฟเทน ประเทศนอร์เวย์หรื อการทาประมงปลาทูน่าในมหาสมุทร
แปซิ ฟิกตะวันออก และยังรวมถึงการเพาะปลูกในน้ า (Aquaculture) ซึ่ ง
หมายถึงการปลูกพืชหรื อเลี้ยงสัตว์บางชนิ ดในน้ า เพื่อใช้เป็ นอาหารคนหรื อสัตว์
เช่นเดียวกับเกษตรกรรมที่ทาบนพื้นดิน [2] การทาฟาร์ มในน้ า เช่นฟาร์ มปลา
         ้
ฟาร์ มกุง ฟาร์ มหอย ฟาร์ มหอยมุก การเพาะปลูกในน้ าในสภาพแวดล้อมที่
ควบคุมไว้ การเพาะปลูกในน้ าจืด น้ ากร่ อย ในทะเล การเพาะปลูกสาหร่ าย
[3]ต่อมาได้มีการพัฒนาองค์ความรู ้ดานการประมงเป็ นวิทยาศาสตร์ และ
                                       ้
เทคโนโลยีสาขาหนึ่งเรี ยกว่าวิทยาศาสตร์ การประมง มีพ้นฐานจากวิชาชีววิทยา
                                                       ื
นิเวศวิทยา สมุทรศาสตร์ เศรษฐศาสตร์และการจัดการ มีการจัดศึกษาด้านการ
ประมงในแง่มุมต่างๆ ทั้งระดับอนุปริ ญญา ปริ ญญาตรี ปริ ญญาโทและปริ ญญา
เอก และการประมงมีบทบาทสาคัญในเชิงธุรกิจและอุตสาหกรรมของประเทศ
จึงมีคาอื่นๆที่เกี่ยวข้องเช่น “ธุรกิจการประมง” “อุตสาหกรรมประมง” เกิดขึ้น
ทรัพยากรประมงให้ ยงยืน ดังนี้
                  ั่

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติฉบับที่ 1 พ.ศ. 2506-2509 จัดตั้งสถาบันวิจัย
ประมงนาจืดและห้ องทดลองชีววิทยาการประมงทะเล เพือส่ งเสริมการเพาะปลูกในนา
          ้                                                  ่                             ้
และการประมงนาลึก    ้
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติฉบับที่ 2 พ.ศ. 2510-2514 ส่ งเสริมการเพาะปลูก
ในนาจืดและนากร่ อย กวดขันการอนุรักษ์ พนธุ์สัตว์ นาตลอดจนการเก็บรักษาและแปรรู ป
       ้          ้                           ั          ้
จัดตั้งศูนย์ พฒนาและฝึ กอบรมการประมงทะเลให้ ชาวประมงรู้ จักวิธีการเดินเรือและการ
                ั
ใช้ อุปกรณ์ ทนสมัยทีเ่ หมาะสมกับการประมงทะเลลึกเพือการบริโภคภายในประเทศและ
              ั                                            ่
เพือส่ งออกเป็ นสิ นค้ าสาคัญ
     ่
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติฉบับที่ 3 พ.ศ. 2515-2519 ส่ งเสริมการพัฒนา
ทีดนชายฝั่งทะเลให้ เป็ นแหล่ งเลียงสั ตว์ นาได้ แก่ กุ้งทะเล ซึ่งเป็ นสิ นค้ าทีตลาดต่ างประเทศ
   ่ ิ                           ้          ้                                   ่
ต้ องการมาก จัดตั้งศูนย์ วจัยค้ นคว้ าและฝึ กอบรมการเพาะเลียงกุ้งเพือค้ นคว้ าวิธีการเพาะ
                           ิ                                     ้        ่
ลูกกุ้งโดย

More Related Content

Similar to งานนำเสนอ21

โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7Ploy Benjawan
 
35 ปี ปะการังเทียม
35 ปี ปะการังเทียม35 ปี ปะการังเทียม
35 ปี ปะการังเทียมRangsimant Buatong
 
Chaipat apr p036 040
Chaipat apr p036 040Chaipat apr p036 040
Chaipat apr p036 040i_cavalry
 
โครงการพัฒนาการประมง
โครงการพัฒนาการประมงโครงการพัฒนาการประมง
โครงการพัฒนาการประมงAbnPlathong Ag'
 
โครงการพัฒนาการประมง
โครงการพัฒนาการประมงโครงการพัฒนาการประมง
โครงการพัฒนาการประมงAbnPlathong Ag'
 
การพัฒนาเขาหินซ้อน
การพัฒนาเขาหินซ้อนการพัฒนาเขาหินซ้อน
การพัฒนาเขาหินซ้อนCook-butter
 
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒Taweesak Poochai
 
Sea turtles preservation
Sea turtles preservationSea turtles preservation
Sea turtles preservationaunun
 
โครงการห้วยองคต1
โครงการห้วยองคต1โครงการห้วยองคต1
โครงการห้วยองคต1Be Bear
 
โครงการห้วยองคต1
โครงการห้วยองคต1โครงการห้วยองคต1
โครงการห้วยองคต1menah_14
 
โครงการกา..[1]
โครงการกา..[1]โครงการกา..[1]
โครงการกา..[1]pornprawee
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงPanuchanat
 
การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง(ลมุล)
การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง(ลมุล)การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง(ลมุล)
การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง(ลมุล)Lsilapakean
 
การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง(ลมุล)
การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง(ลมุล)การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง(ลมุล)
การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง(ลมุล)Lsilapakean
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนCook-butter
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองbenya_28030
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองbenya2013
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงsombat nirund
 

Similar to งานนำเสนอ21 (20)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7
 
35 ปี ปะการังเทียม
35 ปี ปะการังเทียม35 ปี ปะการังเทียม
35 ปี ปะการังเทียม
 
Chaipat apr p036 040
Chaipat apr p036 040Chaipat apr p036 040
Chaipat apr p036 040
 
โครงการพัฒนาการประมง
โครงการพัฒนาการประมงโครงการพัฒนาการประมง
โครงการพัฒนาการประมง
 
โครงการพัฒนาการประมง
โครงการพัฒนาการประมงโครงการพัฒนาการประมง
โครงการพัฒนาการประมง
 
การพัฒนาเขาหินซ้อน
การพัฒนาเขาหินซ้อนการพัฒนาเขาหินซ้อน
การพัฒนาเขาหินซ้อน
 
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
 
Sea turtles preservation
Sea turtles preservationSea turtles preservation
Sea turtles preservation
 
โครงการห้วยองคต1
โครงการห้วยองคต1โครงการห้วยองคต1
โครงการห้วยองคต1
 
โครงการห้วยองคต1
โครงการห้วยองคต1โครงการห้วยองคต1
โครงการห้วยองคต1
 
โครงการกา..[1]
โครงการกา..[1]โครงการกา..[1]
โครงการกา..[1]
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง(ลมุล)
การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง(ลมุล)การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง(ลมุล)
การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง(ลมุล)
 
การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง(ลมุล)
การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง(ลมุล)การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง(ลมุล)
การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง(ลมุล)
 
Moa with ministry of education
Moa with ministry of educationMoa with ministry of education
Moa with ministry of education
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อน
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 

งานนำเสนอ21

  • 2. ความเป็ นมาของโครงการ ตามที่สมเด็จพระเทพรั ตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตามเสด็จ พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัวฯ และสมเด็จพระนางเจ้ าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงเยี่ยมราษฎรในถิ่นทุรกันดารทั่วทุกภาคของประเทศไทย ทรงพบเห็นปั ญหา ความยากจน ความขาดแคลนอาหาร และสภาพแวดล้ อมที่เสื่อมโทรม ประชาชนเป็ นโรคขาดสารอาหารและสุขภาพอ่ อนแอเจ็บป่ วยไม่ แข็งแรง ไม่ สามารถปฏิบัตงานได้ ดี โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนเป็ นกลุ่มที่ได้ รับผลกระทบ ิ มากที่สุด อีกทังมีพฤติกรรมการบริโภค และพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ พงประสงค์ ้ ึ ทาให้ พระองค์ ทรงมีพระราชหฤทัยมุ่งมั่นที่จะช่ วยเหลือประชาชนและเยาวชน เหล่ า นัน ให้ มีชีวตความเป็ นอยู่ท่ ดขน ทรงมีพระราชดาริให้ โรงเรี ยนจัดตัง ้ ิ ี ี ึ้ ้ โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน มุ่งเน้ นที่การสร้ างความมั่นคงทางอาหาร เพื่อให้ นักเรี ยนมีอาหารที่มีคุณค่ าทางโภชนาการ ภายใต้ แผนพัฒนาเด็กและ เยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ตามพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรั ตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุมารี ฉบับที่ ๑ (พ.ศ.๒๕๓๕ - ๒๕๓๙) จนปั จจุบัน
  • 3. กรมประมง ในฐานะเป็ นหน่ วยงานหนึ่งที่สนองงานโครงการตามพระราชดาริ ได้ ดาเนินกิจกรรมประมงโรงเรี ยน มาตังแต่ ปี ๒๕๓๕ จนกระทั่งปี พ.ศ. ๒๕๔๖ กรมประมงได้ จัดทาโครงการสนับสนุนด้ านการประมง ตาม ้ พระราชดาริ สมเด็จพระเทพรั ตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อดาเนินกิจกรรมประมงโรงเรี ยนและ กิจกรรมฝึ กอบรมมาจนถึงปั จจุบัน โดยปั จจุบันได้ ดาเนินการตามแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ตามพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรั ตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ฉบับที่ ๔ (พ.ศ.๒๕๕๐ - ๒๕๕๙) ซึ่ง สอดคล้ องตามวัตถุประสงค์ ท่ ี ๔ เสริมสร้ างศักยภาพของเด็กและเยาวชนทางการอาชีพ ภายใต้ โครงการเกษตร เพื่ออาหารกลางวันตามพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรั ตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ดาเนินการโดย สนับสนุนปั จจัยการผลิตด้ านการประมงที่เหมาะสมกับสภาพพืนที่และ ศักยภาพของโรงเรี ยน อบรมให้ ความรู้ ้ ด้ านการเพาะเลียงสัตว์ นา และด้ านโภชนาการและสาธิตการแปรรู ปสัตว์ นาแก่ ครู และนักเรี ยนในโรงเรี ยน ้ ้ ้ ตลอดจนติดตามและให้ คาแนะนาทักษะด้ านการจัดการการผลิตและการจัดการผล ผลิตอย่ างมีประสิทธิภาพ โดย ดาเนินการในโรงเรี ยนสังกัดกองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน โรงเรี ยนสังกัดสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขันพืนฐาน ศูนย์ การเรี ยนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ ฟาหลวง” ศูนย์ การเรี ยนชุมชนชาวไทยมอแกน ้ ้ ้ สังกัดสานักงานส่ งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน โรงเรี ยนในสังกัดองค์ การบริหารส่ วนท้ องถิ่นและโรงเรี ยนใน สังกัดกรุ งเทพมหา นคร ซึ่งกิจกรรมด้ านการประมงถือเป็ นการผลิตอาหารจาพวกโปรตีนที่สาคัญกิจกรรม หนึ่ง ที่ ทาให้ เยาวชนมีสุขภาพพลานามัยสมบูรณ์ แข็งแรง อีกทังยังเป็ นแหล่ งการเรี ยนรู้ ด้านการเลียงสัตว์ นา และการ ้ ้ ้ อนุรักษ์ ทรั พยากรสัตว์ นาให้ แก่ เด็ก เยาวชน และราษฎรในชุมชน เพื่อสามารถนาความรู้ ไปใช้ ในการประกอบ ้ อาชีพได้ ต่อไปในอนาคต นอกจากนียังเป็ นการส่ งเสริมให้ เด็กหรื อเยาวชนได้ ใช้ เวลาว่ างให้ เป็ น ประโยชน์ และยัง ้ เป็ นการปลูกฝั งให้ เกิดความสามัคคีในชุมชนต่ อไปในอนาคต
  • 4. วัตถุประสงค์ ๑. เพือเป็ นแหล่งผลิตอาหารโปรตีนประเภทปลาให้ แก่เด็กนักเรียนบริโภคเป็ นอาหาร ่ กลางวันทีมคุณค่ าทางโภชนาการ และก่ อให้ เกิดรายได้ จากการจาหน่ ายสั ตว์ นา เพือ ่ ี ้ ่ นามาใช้ ในการบริหารงานด้ านการประมงภายในโรงเรียน ๒. เพือปลูกฝังให้ นักเรียนมีความรู้ ทักษะพืนฐานและประสบการณ์ ในการเพาะเลียง ่ ้ ้ สั ตว์ นา การใช้ ประโยชน์ จากทรัพยากรสั ตว์ นาอย่ างถูกวิธี เข้ าใจหลักการอนุรักษ์ ้ ้ ทรัพยากรประมงอย่ างถูกต้ อง หลักการเพาะเลียงสั ตว์ นาและการเกษตรแบบผสมผสาน ้ ้ และการใช้ ประโยชน์ จากทรัพยากรภายในท้ องถิ่น เพือให้ เกิดการผลิตอย่ างยังยืน ่ ่ ๓. เพือให้ เกิดการเรียนรู้ ด้านการแปรรู ปสั ตว์ นา การถนอมอาหารและหลัก ่ ้ โภชนาการสั ตว์ นา รวมทั้งสร้ างทัศนคติในการบริโภคทีดี ถูกสุ ขลักษณะตามหลัก ้ ่ โภชนาการที่ดี ๔. เพือให้ โรงเรียนเป็ นศูนย์ กลางในการเผยแพร่ ความรู้ และเป็ นแหล่ งวิทยาการของ ่ หมู่บ้าน โดยฝึ กอบรมครู ให้ มความรู้ พนฐานในสาขาวิชาการประมง สามารถนาความรู้ ี ื้ ไปถ่ ายทอดให้ ราษฎรในหมู่บ้านเกิดการขยายผลด้ านการเพาะเลียง สั ตว์ นาไปสู่ ชุมชน ้ ้ มีอาชีพและมีรายได้ เสริมไม่ ไปยุ่งเกียวกับยาเสพติด ่ ๕. เพือให้ เกิดการพัฒนารู ปแบบด้ านการเพาะเลียงสั ตว์ นาทีเ่ หมาะสมในแต่ ละพืนที่ ่ ้ ้ ้
  • 5. หน่วยงานรับผิดชอบ - สานักงานประมงจังหวัดในแต่ละพื้นที่ - ส่ วนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ - สานักพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการประมง กรมประมง
  • 6. พืนที่ดาเนินงาน ้ กรมประมง มีพนทีดาเนินการตามแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารฯ ื้ ่ ฉบับที่ ๔ (๒๕๕๐ - ๒๕๕๙) จานวนทั้งสิ้น ๖๗๔ โรงเรียน ได้ แก่ - โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน สั งกัดกองบัญชาการตารวจตระเวน ชายแดน ๑๗๗ โรงเรียน - โรงเรียนสั งกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืนฐาน ๑๘๕ โรงเรียน ้ - ศูนย์ การเรียนชุ มชนชาวไทยภูเขาแม่ ฟาหลวง และศูนย์ การเรียนชุ มชนชาวไทย ้ มอแกน สั งกัดสานักงานส่ งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ๒๖๖ โรงเรียน - โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม สั งกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน ๑๔ โรงเรียน - โรงเรียนในสั งกัดองค์ การบริหารส่ วนท้ องถิ่น ๙ โรงเรียน - โรงเรียนในสั งกัดกรุ งเทพมหานคร ๒๓ โรงเรียน
  • 7. พระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัวด้ านการประมง นับว่ าเป็ น การวางรากฐานสาคัญในการพัฒนาการเพาะเลียงสั ตว์ นาของไทย และอานวย ้ ้ ประโยชน์ ต่อชีวตและความเป็ นอยู่ของประชาชนในทุกภูมภาคของประเทศ พระ ิ ิ ราชกรณียกิจเกียวกับการเพาะเลียงสั ตว์ นา เริ่มเมือกรมประมงแห่ งเมืองปี นังได้ ่ ้ ้ ่ ส่ งปลาหมอเทศให้ กรมประมงไทยทดลองเพาะเลียงเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๒ ปรากฎ ้ ว่ าเป็ นปลาทีเ่ ลียงง่ าย โตเร็ว ทนต่ อโรคและขยายพันธุ์ได้ รวดเร็ว ความทราบถึง ้ พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัว จึงได้ มพระราชกระแสรับสั่ งให้ กรมประมงนา ี พันธุ์ปลาหมอเทศจานวนหนึ่งมาทดลองเลียงในพระทีน่ังอัมพรสถาน เมือปี ้ ่ ่ พ.ศ. ๒๔๙๔ หลังจากนั้นในปี พ.ศ. ๒๔๙๖ ได้ โปรดเกล้ าฯ ให้ กานัน ผู้ใหญ่ บ้าน จากทัวประเทศเข้ ารับพระราชทานพันธุ์ปลาหมอเทศที่ผลิตได้ เพือนาไปเลียง ่ ่ ้ แพร่ ขยายพันธุ์ในตาบล และหมู่บ้านของตนต่ อไป พระราชกรณียกิจครั้งนีนับว่ า ้ เป็ นการวางรากฐานสาคัญในการพัฒนาการเพาะเลียงสั ตว์ นาของไทย ทีทาให้ ้ ้ ่ ประชาชนคนไทยได้ เรียนรู้ และสนใจการเลียงปลาขึนอย่ างกว้ างขวางทั่วประเทศ ้ ้
  • 8. พระราชกรณียกิจในด้ านการเพาะเลียงสั ตว์ นาที่สาคัญยิง และนับว่ าอานวยประโยชน์ ต่อ ้ ้ ่ ชีวตความเป็ นอยู่ของประชาชนชาวไทยทัวทุกภูมภาคคือ พระราชกรณียกิจเกียวกับการ ิ ่ ิ ่ เพาะเลียงปลานิล ซึ่งสมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโต เมือครั้งทรงดารงพระอิสริยยศ ้ ่ มกุฎราชกุมารแห่ งประเทศญี่ปุ่น ได้ น้อมเกล้ าฯ ถวายปลาทิโลเปี ย นิโลติกา (Tilapia Nilatica) จานวน ๕๐ ตัว แด่ พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัว จานวน ๕๐ ตัว เมือวันที่ ่ ๒๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๐๘ ได้ ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้ าฯ ให้ ปล่ อยลงเลียงในบ่ อบริเวณ ้ สวนจิตรลดาพระราชวังดุสิตและต่ อมาได้ ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้ าฯ ให้ ขุดบ่ อเลียงปลา ้ นิลเพิมขึนอีก ๖ บ่ อ และได้ ทรงย้ายปลานิลจากบ่ อเดิมไปเลียงในบ่ อใหม่ ด้วยพระองค์ เอง ่ ้ ้ เมือวันที่ ๑ กันยายน พ.ศ. ๒๕๐๘ ต่ อมาได้ พระราชทานชื่อปลานีว่า "ปลานิล" และได้ ่ ้ พระราชทานลูกปลานิล ๑๐,๐๐๐ ตัว ให้ กรมประมง เพือนาไปเพาะเลียงขยายพันธุ์ที่ ่ ้ แผนกทดลองและเพาะเลียงในบริเวณเกษตรกลางบางเขน กรุ งเทพมหานคร และทีสถานี ้ ่ ประมงต่ าง ๆ ทัวพระราชอาณาจักร เมือวันที่ ๑๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๐๙ และได้ โปรดเกล้า ่ ่ ฯ ให้ ขุดบ่ อในบริเวณสวนจิตรลดา เพิมขึนอีก ๓ บ่ อ รวมเป็ น ๙ บ่ อ ่ ้
  • 9. กรมประมงได้ดาเนินการขยายพันธุ์ปลานิลเป็ นจานวนมาก และได้แจกจ่ายให้แก่ราษฎร เพื่อนาไปเพาะเลี้ยงตามพระราชประสงค์ต้ งแต่วนที่ ๑๗ สิ งหาคม พ.ศ. ๒๔๙๖ จนถึง ั ั ่ ั ปั จจุบนปี ละเป็ นจานวนหลายล้านตัว ในการนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวได้ทรงพระ ั กรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้กรมประมงนาพันธุ์ปลานิลที่เพาะเลี้ยงไว้ในบ่อบริ เวณสวนจิตรลดา พระราชวังดุสิตสมทบแจกจ่ายให้แก่ราษฎรตามความต้องการของราษฎรอีกเป็ นประจา ปั จจุบนนี้สถานีประมงและเอกชนสามารถผลิตพันธุ์ปลาชนิดนี้ได้เป็ นจานวนมาก และได้ ั มีการเพาะเลี้ยงกันอย่างกว้างขวางในทุกภูมิภาค นอกจากนี้การที่ได้มีการปล่อยปลานิลลง แหล่งน้ าต่าง ๆ ทาให้ปลานิลกลายเป็ นปลาน้ าจืดที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจของไทย ชนิดหนึ่ง เป็ นการสร้างงานสร้างอาชีพและรายได้แก่ราษฎรทัวไปในทุกภูมิภาคและเป็ น ่ แหล่งอาหารโปรตีนที่มีคุณภาพสาหรับราษฎรในท้องถิ่น ในปั จจุบนปลานิลในแหล่งน้ า ั ธรรมชาติส่วนหนึ่งมีปัญหาการกลายพันธุ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวก็ได้พระราชทาน ่ ั พ่อแม่พนธุ์ปลานิลจากบ่อสวนจิตรลดาให้กรมประมงเพื่อใช้เป็ นหลักในการควบคุม ั พันธุกรรม
  • 10. การประมง หรื อ ประมง หมายถึงการจัดการของมนุษย์ดานการจับปลาหรื อสัตว์ ้ น้ าอื่นๆ การดูแลรักษาปลาสวยงามและการแปรรู ปเป็ นผลิตภัณฑ์ประมงเช่น น้ ามันปลา [1] กิจกรรมการทาประมงจัดแบ่งได้ท้ งตามชนิ ดสัตว์น้ าและตามเขต ั เศรษฐกิจ เช่น การทาประมงปลาแซลมอนในอลาสก้า การทาประมงปลาคอดใน เกาะลอโฟเทน ประเทศนอร์เวย์หรื อการทาประมงปลาทูน่าในมหาสมุทร แปซิ ฟิกตะวันออก และยังรวมถึงการเพาะปลูกในน้ า (Aquaculture) ซึ่ ง หมายถึงการปลูกพืชหรื อเลี้ยงสัตว์บางชนิ ดในน้ า เพื่อใช้เป็ นอาหารคนหรื อสัตว์ เช่นเดียวกับเกษตรกรรมที่ทาบนพื้นดิน [2] การทาฟาร์ มในน้ า เช่นฟาร์ มปลา ้ ฟาร์ มกุง ฟาร์ มหอย ฟาร์ มหอยมุก การเพาะปลูกในน้ าในสภาพแวดล้อมที่ ควบคุมไว้ การเพาะปลูกในน้ าจืด น้ ากร่ อย ในทะเล การเพาะปลูกสาหร่ าย [3]ต่อมาได้มีการพัฒนาองค์ความรู ้ดานการประมงเป็ นวิทยาศาสตร์ และ ้ เทคโนโลยีสาขาหนึ่งเรี ยกว่าวิทยาศาสตร์ การประมง มีพ้นฐานจากวิชาชีววิทยา ื นิเวศวิทยา สมุทรศาสตร์ เศรษฐศาสตร์และการจัดการ มีการจัดศึกษาด้านการ ประมงในแง่มุมต่างๆ ทั้งระดับอนุปริ ญญา ปริ ญญาตรี ปริ ญญาโทและปริ ญญา เอก และการประมงมีบทบาทสาคัญในเชิงธุรกิจและอุตสาหกรรมของประเทศ จึงมีคาอื่นๆที่เกี่ยวข้องเช่น “ธุรกิจการประมง” “อุตสาหกรรมประมง” เกิดขึ้น
  • 11. ทรัพยากรประมงให้ ยงยืน ดังนี้ ั่ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติฉบับที่ 1 พ.ศ. 2506-2509 จัดตั้งสถาบันวิจัย ประมงนาจืดและห้ องทดลองชีววิทยาการประมงทะเล เพือส่ งเสริมการเพาะปลูกในนา ้ ่ ้ และการประมงนาลึก ้ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติฉบับที่ 2 พ.ศ. 2510-2514 ส่ งเสริมการเพาะปลูก ในนาจืดและนากร่ อย กวดขันการอนุรักษ์ พนธุ์สัตว์ นาตลอดจนการเก็บรักษาและแปรรู ป ้ ้ ั ้ จัดตั้งศูนย์ พฒนาและฝึ กอบรมการประมงทะเลให้ ชาวประมงรู้ จักวิธีการเดินเรือและการ ั ใช้ อุปกรณ์ ทนสมัยทีเ่ หมาะสมกับการประมงทะเลลึกเพือการบริโภคภายในประเทศและ ั ่ เพือส่ งออกเป็ นสิ นค้ าสาคัญ ่ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติฉบับที่ 3 พ.ศ. 2515-2519 ส่ งเสริมการพัฒนา ทีดนชายฝั่งทะเลให้ เป็ นแหล่ งเลียงสั ตว์ นาได้ แก่ กุ้งทะเล ซึ่งเป็ นสิ นค้ าทีตลาดต่ างประเทศ ่ ิ ้ ้ ่ ต้ องการมาก จัดตั้งศูนย์ วจัยค้ นคว้ าและฝึ กอบรมการเพาะเลียงกุ้งเพือค้ นคว้ าวิธีการเพาะ ิ ้ ่ ลูกกุ้งโดย