SlideShare a Scribd company logo
พจนานุกรมพุทธศาสน   ฉบับประมวลศัพทพระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)   (ชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑/ยุติ)
พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท© พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)ISBN 974-575-029-8พิมพครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๒๒                                                             ๑,๕๐๐ เลม– งานพระราชทานเพลิงศพ พระครูปลัดสมัย กิตติทตฺโต เจาอาวาสวัดพระพิเรนทร                                               ฺพิมพครั้งที่ ๒ (เพิ่มศัพทและปรับปรุง) พ.ศ. ๒๕๒๗                                     ๙,๔๐๐ เลมพิมพครั้งที่ ๓ (เพิ่มภาคผนวก) พ.ศ. ๒๕๒๘                                              ๕,๐๐๐ เลม– พิมพถวายมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย โดย “ทุนพิมพพจนานุกรมพุทธศาสน”พิมพครั้งที่ ๔–๙ พ.ศ. ๒๕๓๑–๒๕๔๓                                                     ๓๑,๕๐๐ เลมพิมพครั้งที่ ๑๐ พ.ศ. ๒๕๔๖ (จัดเรียงพิมพใหมดวยระบบคอมพิวเตอร)   ขนาดตัวอักษรธรรมดา                                                                 ๕,๐๐๐ เลม   ขนาดตัวอักษรใหญ                                                                   ๕,๐๐๐ เลมพิมพครั้งที่ ๑๑, ๑๒ - กรกฎาคม - พฤศจิกายน ๒๕๕๑ (ชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑)          ๓๐,๖๐๐ เลมพิมพครั้งที่ ๑๓, ๑๔ - กันยายน – ธันวาคม ๒๕๕๒ (ชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑/เสริม)       ๘,๐๐๐ เลมพิมพครั้งที่ ๑๕         - ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๕๓ (ชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑/ยุติ)พิมพครั้งที่ ๑๘         - เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ (ชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑/ยุติ)– มูลนิธิธรรมทานกุศลจิต พิมพแจกมอบเปนธรรมทาน                                        ๑,๐๐๐ เลมพิมพท่ี
อนุโมทนา     ดร.ชัยยุทธ ปลนธนโอวาท ประธานมูลนิธธรรมทานกุศลจิต ในนามของ                   ั                        ิมูลนิธธรรมทานกุศลจิต ไดแจงบุญเจตนาทีจะจัดพิมพหนังสือ พจนานุกรม      ิ                                   ่พุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท และ พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม เปนธรรมทาน เพื่อเกื้อกูลแกผูที่กาลังศึกษาคนควาพุทธธรรม ซึ่งมัก                                        ํตองการมีหนังสือจําพวกพจนานุกรมธรรมะเปนทีปรึกษา โดยจะไดมอบถวาย                                              ่แกโรงเรียนพระปริยัติธรรม ตามพระอารามหลวง และวัดตางๆ ทั่วประเทศตลอดจนองคกร หนวยงาน และผูสนใจทัวไป                                    ่     ขออนุโมทนาธรรมทานบุญกิริยาอันเกิดจากน้ําใจใฝธรรม และความมีไมตรีจิตตอญาติมิตรและประชาชน โดยมุงหวังใหเกิดประโยชนสุขที่เปนแกนสารแกชีวิตและสังคม     ขอกุศลจริยาเพื่อประโยชนทางการศึกษาในแนวแหงไตรสิกขานี้ จงเปนปจจัยแหงความเจริญแพรหลายของพระสัทธรรม เพื่อความเกษมศานตแหงมหาชน ตลอดกาลยาวนานสืบไป                         พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)                                  ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๕๕
บันทึกนํา - พิมพครั้งที่ ๑๑                                  (ฉบับ “ชําระเพิ่มเติม ชวงที่ ๑”)        หนังสือนี้เกิดขึ้น ๒๙ ปมาแลว เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๒ เดิมทีนั้นมุงใหเปนงานสําหรับใชไปพลาง โดยพักงานพจนานุกรมเดิมที่เริ่มมาแต พ.ศ. ๒๕๐๖ ไวกอน (มีความเปนมาดังไดเลาไวตางหาก) และเปนงานเรงดวนเฉพาะหนา เพื่อเปนอนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพทานอาจารยพระครูปลัดสมัย กิตฺติทตฺโต อดีตเจาอาวาสวัดพระพิเรนทร ทําไวเพียงเปนขอมูลพื้นฐาน สําหรับผูเรียนนักธรรม และผูแรกศึกษา จึงตั้งชื่อวาพจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับครู นักเรียน นักธรรม พรอมกับหวังวาจะหาโอกาสปรับปรุงและเพิ่มเติมตอไป        บัดนี้ งานพจนานุกรมเดิมที่เริ่มแตป ๒๕๐๖ ซึ่งพักไว ไดกลายเปนพับไปแลว สวน พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท นี้ (เปลี่ยนเปนชื่อปจจุบันเมื่อพิมพครั้งที่ ๒ ใน พ.ศ.๒๕๒๗ เพื่อเขาชุดกับพจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม ที่ไดเกิดขึ้นกอนตั้งแต พ.ศ.๒๕๑๘) ยังเปนเพียงขอมูลพื้นฐานอยูอยางเดิม จนกระทังตนปทแลว เดือนมกราคม พ.ศ.๒๕๕๐ ผานเวลามา ๒๘ ป บังเอิญผูเ รียบเรียงเกิดมีโรค                          ่    ี่แทรกที่คอนขางยืดเยื้อ ก็เลยไดมีเวลาและโอกาสหันไปรื้อฟนงานเพิ่มเติมพจนานุกรมนี้ แตกระนั้น ก็กลายเปนงานยืดเยื้อ มีงานอื่นมาแยงเวลาไปเสียมาก ถึงขณะนี้ ๑ ปครึ่ง จึงยุติที่จะพิมพเผยแพรไปคราวหนึ่งกอน        งานปรับปรุงและเพิ่มเติมนี้ ในที่นี้ เรียกวา การชําระ-เพิ่มเติม เปนงานใหญ ยากจะทําใหเต็มตามตองการ จึงไดแบงงานนั้นเปน ๓ ชวง ดังนี้        การชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑: แกไขปรับปรุงขอขาดตกบกพรองที่พบเฉพาะหนา โดยเฉพาะสวนหลงตาทีบงเอิญพบ และเพิมเติมคําศัพทและคําอธิบายทีรบดวน หรือบังเอิญนึกได รวมทังศัพททบนทึกไวระหวางเวลาที่  ่ั                   ่                          ่ี                             ้        ี่ ัผานมา (เลือกทําเฉพาะคําทีไมซบซอนนัก) และบางคําทีทานผูใชไดมนาใจแจงมาวาเจอคําผิดหรือคนหาไมพบ                             ่ ั                         ่         ี ้ํ        การชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๒: อาน-ตรวจตลอดเลม เพื่อจะไดมองเห็นคําพิมพผิด คําตก จุดและแงที่จะแกไข-ปรับปรุง-เพิ่มเติมทั่วทั้งหมด พรอมทั้งจัดปรับคําอธิบายศัพททั้งของเดิมและสวนที่เพิ่มเติม ใหเขามาตรฐานเดียวกัน ทั้งในแงการแสดงความหมาย วิธีอธิบาย และอัตราสวนความยาวที่สัมพันธกับความสําคัญของศัพทนั้นๆ        การชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๓: มุงที่การจัดระบบ เพื่อใหสม่ําเสมอ กลมกลืน เปนแบบแผนอันเดียวกันและทั่วกัน เชน มีคาอาน บอกที่มาในคัมภีร แสดงคําเดิมในภาษาบาลีและสันสกฤต และถาเปนไปได ใหคํา                         ํแปลภาษาอังกฤษของศัพทตั้งหรือหัวศัพท พรอมทั้งแผนที่และภาพประกอบ        บัดนี้ ถือวาเสร็จงาน ชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑ เนื้อหนังสือขยายจากเดิมเพิ่มขึ้น ๒๐๔ หนา (จาก ๓๗๖หนา เปน ๕๘๐ หนา) มีศัพทที่ปรับแกเพิ่มเติมประมาณ ๑,๑๐๐ คํา แตพรอมกับที่มีศัพทและคําอธิบายเพิ่มขึ้นเปนอันมาก ก็เกิดความไมสมดุลขึ้น เพราะวา ในขณะที่ศัพทเพิ่มใหม และศัพทที่ปรับปรุง (เชน ปริตร, ภาณยักษ, มานะ) มีคําอธิบายยืดยาว ดังจะเปนสารานุกรม แตคําเกาที่มีอยูเดิมสวนใหญมีคําอธิบายสั้นนิดเดียว        ทั้งนี้ ขอใหถือวาคงใชตอไปพลางกอน และใหความเรียบรอยราบรื่นเปนเรื่องของการชําระ-เพิ่มเติม                                   ชวงที่ ๒ และ ชวงที่ ๓ ที่อาจจะมีขางหนา                                                      พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)                                                                 ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๑
ข                                            บันทึกเสริม        พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท ที่ ชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑ ไดพิมพเสร็จออกมาเผยแพรเมื่อเดือน มิ.ย. - ก.ค. ๒๕๕๑ เวลาผานไปรวดเร็ว ถึงบัดนี้ปเศษแลว ระหวางนี้ บางทานผูใฝศึกษา มีฉันทะแรงกลา พรอมดวยความมีน้ําใจเกื้อหนุน ไดตั้งใจอานตลอดเลมโดยละเอียด และเก็บรวมคําผิดคลาดเคลื่อน ตก และเกิน เปนตน แลวสงมาให ฝายทานที่ขออนุญาตพิมพรายลาสุด เมื่อทราบเรื่องนี้ ก็อยากจะพิมพฉบับที่ไดแกไขขอผิดเหลานั้นแลว จึงขอรองและเรงมา แตทางดานผูเรียบเรียงหนังสือนี้เองนอกจากงานอื่นบีบรัดแลว ก็อยูในระยะอาพาธขั้นรุนแรงตอเนื่อง เรื่องจึงยืดเยื้อเรื่อยมา แตในที่สุด เมื่อวานนี้เอง ไดโอกาสทํางานนี้ จึงยกตนฉบับพจนานุกรมขึ้นมาแกไขจนเสร็จสิ้นไปในวันเดียว และวันนี้จง           ึเตรียมฝากสงตนฉบับนั้นใหแกทานที่ขอพิมพ แลวแตจะไปดําเนินการกันเองใหเกิดประโยชนตอไป        ทานทีสงบัญชีคาควรแกมาให ทีไดใชงานเมือวานนี้ มี ๓ ทาน เรียงตามลําดับเวลาที่บัญชีมาถึง คือ               ่           ํ             ่             ่พระมหานิยม สีลสํวโร แหงมหาจุฬาอาศรม คุณพันธุรพี นพรัมภา และคุณจิรประภา เดชะอําไพ (สงผานทางพระครูปลัดสุวฒนพรหมคุณ พระการุณย กุสลนนฺโท และคุณพนิตา อังจันทรเพ็ญ ตามลําดับ)                              ั        ตามบัญชีของพระมหานิยม สีลสํวโร ซึ่งมีทั้งแกคําผิด ตัดคําเกิน ปรับคําเดียวกันในตางที่ใหตรงกัน เปนตน นับได ๕๕ แหง เห็นไดวาทานทํางานดวยความใสใจและละเอียดลออมาก นอกจากนั้น ในฐานะที่เปนพระเปรียญผูมีทั้งฐานและประสบการณดานปริยัติ ยังมีขอเสนอหลายอยางที่เปนประโยชนเชน เสนอเพิ่มคํา (เพื่อเปนศัพทตั้ง) มา ๑๗ คํา และขอใหใสคําแปลไทยสําหรับขอความบาลีบางแหง(เพื่อใหผูคนควาที่ไมรูบาลีสามารถเขาใจไดดวย) แตเรื่องนี้ ดังที่บอกกลาวไวแลว จะตองรอไวทําในการ“ชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๒” (คราวนี้ตองใหจํานวนหนาคงอยูเทาเดิม)        บัญชีของคุณพันธุรพี นพรัมภา มีคําที่ไดแก ซึ่งไมซ้ํากับของพระมหานิยม สีลสํวโร นับได ๓๕ แหงกับการเวนวรรคหลังตัวเลข และหลัง พ.ศ. หลัง ค.ศ. อีก ๓๐ แหง        พอมาถึงบัญชีของคุณจิรประภา เดชะอําไพ ปรากฏวา คําผิดที่พบแทบทั้งหมดซ้ํากับ ๒ บัญชีแรกสวนที่ไมซ้ํา ก็ไดแกไป แตไดประโยชนมากที่ทําใหมั่นใจวานาจะแทบไมมีคําผิดเหลืออยูในพจนานุกรมนี้        ขออนุโมทนาเจาของบัญชีขอพึงแก ทั้ง ๓ ทานไว ณ ที่นี้ เปนอยางยิ่ง (ขอพึงแกที่ผูเรียบเรียงเองบังเอิญพบ และที่ไดรับคําบอกแจงแหลงอื่นบางแหง ก็ไดถือโอกาสปรับแกเติมไปดวยอีกเกิน ๒๐ แหง)        ดังไดเลาไวในบันทึกนําครั้งที่แลววา ผูเรียบเรียงเองยังไมไดอาน-ตรวจตลอดเลมพจนานุกรมนี้เลย                                                                          และไดจดเอางานสวนนีรวมไวในการ “ชําระ-เพิมเติม ชวงที่ ๒” ทีจะมีภายหนา แตครันไดบญชีคาพึงแกจาก          ั                     ้                   ่                ่                  ้    ั ํสามทานนีแลว ก็คดวาตนคงไมจาเปนตองทํางานนีอก สามารถตัดงานอาน-ตรวจตลอดเลมนันออกไปได             ้         ิ             ํ                    ้ี                                     ้เลย และมีความเปนไปไดมากวา งาน พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท อาจจะตองตัดตอนจบลงเพียงในระดับนี้ เพราะมีความเปนไปไดนอยอยางยิงทีผเู รียบเรียงจะมีโอกาสเหลือพอทีจะทํางานนั้น                                                ่ ่                                ่        หวังวา งานเสริมการ “ชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑” นี้ คงจะชวยใหผูศึกษาคนควาไดรับประโยชนจากพจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท ใกลเต็มคุณคายิ่งขึ้น                                                        พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)                                                                 ๙ กันยายน ๒๕๕๒
ความเปนมา           ในการ “ชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑”: ม.ค. ๒๕๕๐ - มิ.ย. ๒๕๕๑ก) งานในโครงการ ชะงัก-หายไป        ยอนหลังไปถึง พ.ศ.๒๕๐๖ เมื่อหนังสือ Student’s Thai–Pali–English Dictionary ofBuddhist Terms เลมเล็กๆ เสร็จแลว ผูจัดทําหนังสือนี้ ก็ไดเริ่มงานพจนานุกรมพระพุทธศาสนางานคางที่ ๑: เริ่มแรก คิดจะทําพจนานุกรมพระพุทธศาสนาเชิงสารานุกรม ฉบับที่คอนขางสมบูรณเลยทีเดียว มีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยเขียนแยกเปน ๒ คอลัมน ซาย-พากยไทยและ ขวา-พากยอังกฤษ เริ่ม ๒๙ ก.ย. ๒๕๐๖ ถึง ๑๒ พ.ย. ๒๕๐๗ จบอักษร “บ” (ยังคางชําระบางคํา) ตองเขารับงานที่มหาจุฬาฯ แลวยุงกับงานที่นั่น จนงานพจนานุกรมชะงักแลวหยุดไปเลยงานคางที่ ๒: เมื่อเห็นวายากจะมีโอกาสทํางานคางนั้นตอ จึงคิดใหมวาจะทําฉบับที่มีเพียงพากยไทย อยางยนยอ โดยมีภาษาอังกฤษเฉพาะคําแปลศัพทใสวงเล็บหอยทายไว แลวเริ่มงานใน พ.ศ.---- แตงานที่มหาจุฬาฯ มาก พอทําจบ “ต” ก็ตองหยุด (ตนฉบับงานชุดนี้ทั้งหมดหายไปแลว)                                                     (ระหวางนั้น ในป ๒๕๑๕ โดยคํานิมนตของทานเจาคุณเทพกิตติโสภณ ครั้งยังเปนพระมหาสมบูรณ สมฺปุณฺโณ ตกลงทําประมวลหมวดธรรมออกมาใชกันไปพลางกอน ทําใหเกิดพจนานุกรมพุทธศาสตร [ตอมาเติมคําวา ประมวลธรรม] เสร็จเปนเลม ใน พ.ศ. ๒๕๑๘)งานคางที่ ๓: ใน พ.ศ.๒๕๑๙ ไปเปนวิทยากรที่ Swarthmore College เมื่อกลับมาในป ๒๕๒๑ตังใจหยุดงานอืนทังหมดเพือจัดทําสารานุกรมพุทธศาสนา โดยเริมตนใหม ทําเฉพาะพากยภาษาไทย มี  ้            ่ ้         ่                                 ่ภาษาอังกฤษเพียงคําแปลศัพทในวงเล็บหอยทาย พอใกลสนป ๒๕๒๑ ก็จบ “ก” รวมได ๑๐๕ หนา                                                         ิ้กระดาษพิมพดีด และขึ้น “ข” ไปไดเล็กนอย แลวหันไปทําคําเกี่ยวกับประวัติเสร็จไปอีก ๘๐ หนา        ตนป ๒๕๒๒ นั้นเอง ศาสตราจารย ดร. ระวี ภาวิไล จะพิมพ พุทธธรรม ไดขอเวลาทานเพื่อเขียนเพิ่มเติม แลวการไปบรรยายที่ Harvard University มาแทรก กวาจะเติมและพิมพเสร็จ สิ้นเวลา ๓ ป งานทําพจนานุกรม-สารานุกรมเปนอันหยุดระงับไป จากนั้น งานดานอื่นเพิ่มขึ้นตลอดมาข) งานใหมนอกสาย แตเสร็จ: พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท๑. ยุคพิมพระบบเกา        ตนป ๒๕๒๒ นั้นแหละ เมื่อเห็นวาคงไมมีโอกาสฟนงานที่คาง ก็นึกถึงหนังสือ ศัพทหลักสูตรภาษาไทย (สําหรับวิชาใหมในหลักสูตรนักธรรม) ที่มหาจุฬาฯ พิมพออกมาใน พ.ศ.๒๕๐๓ ซึ่งแทบจะยังไมทันไดเผยแพร วิชาใหมนั้นก็ถูกยกเลิกเสีย จึงพบหนังสือชุดนั้นเหลือคางถูกทอดทิ้งอยูมากมาย เห็นวา มีขอมูลพอจะทําเปนพจนานุกรมเบื้องตนได อยางนอยหัวศัพทที่มีอยูก็จะทุนแรงทุนเวลาในการเก็บศัพทไปไดมาก จึงตกลงทํางานใหมชิ้นที่งายและรวบรัด โดยนําหนังสือชุดนัน  ้ทัง ๓ เลม รวม ๙ ภาค (ศัพท น.ธ.ตรี–โท–เอก ชันละ ๓ วิชา จึงมีชนละ ๓ ภาค) มาจัดเรียงเปน  ้                                            ้                 ั้
งพจนานุกรมเบืองตนเลมเดียว พิมพออกมากอน ในงานพระราชทานเพลิงศพทานอาจารยพระครูปลัด                      ้สมัย กิตตทตฺโต (๑๙ พ.ค. ๒๕๒๒) เรียกชือวา พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับครู นักเรียน นักธรรม               ฺิ                                       ่(เปลียนเปนชือปจจุบนวา พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท เมือพิมพครังที่ ๒ พ.ศ.๒๕๒๗)        ่           ่       ั                                            ่           ้              หนังสือใหมเลมนีไมเกียวของกับงานทีทามาแลวแตอยางใด งานเกาทีทาคางไวทงหมดถูกพัก                                 ้ ่                      ่ํ                      ่ํ       ั้เก็บเฉยไว เพราะในกรณีนี้ มุงสําหรับผูเ รียนขันตน โดยเฉพาะนักเรียนนักธรรม ตองการเพียงศัพท                                                         ้พื้นๆ และความหมายสั้นๆ งายๆ จึงคงขอมูลสวนใหญไวตามหนังสือศัพทหลักสูตรภาษาไทยนั้นโดยแกไขปรับปรุงอธิบายเพิ่มหรือเขียนขยายบางเพียงบางคํา และเติมศัพทนักธรรมที่ตกหลนและศัพททั่วไปอันควรรูที่ยังไมมี เขามาบาง รวมแลว เปนขอมูลของเกากับของใหมราวครึ่งตอครึ่ง              หลังจากพิมพออกมาแลว พจนานุกรมเลมนี้ก็มีชะตากรรมที่ข้ึนตอระบบการพิมพยุคนั้นโดยเฉพาะตนแบบซึ่งอยูในแผนกระดาษที่ตายตัว แทบปรับเปลี่ยนอะไรไมไดเลย การพิมพครั้งตอๆ มา ตองพิมพซ้ําตามตนแบบเดิม ถาจําเปนตองแกไข ก็แกไดเพียง ๔–๕ บรรทัด ยิ่งตอมาแผนกระดาษตนแบบก็ผุเปอย โดยเฉพาะพจนานุกรมนี้ ตนแบบที่ทําขึ้นใหมในการพิมพครั้งที่ ๒ไดสญหายไปตั้งแตพิมพเสร็จ การพิมพตอนั้นมาตองใชวิธีถายภาพจากหนังสือที่พิมพครั้งกอนๆ      ู                                                          แตกระนั้น พจนานุกรมนี้ยังมีศัพทและคําอธิบายที่จะตองเพิ่มอีกมาก เมื่อแกไขของเดิมไมได พอถึงป ๒๕๒๘ จะพิมพครั้งที่ ๓ จึงใสสวนเพิ่มเขามาตางหากตอทายเลมเปน “ภาคผนวก” (มีศัพทต้งหรือหัวศัพทเพิ่ม ๑๒๔ ศัพท รวม ๒๔ หนา) จากนั้นมา ก็ไดแคพิมพซ้ําเดิมอยางเดียว            ั๒. เขาสูยุคขอมูลคอมพิวเตอร              เมือเวลาผานมาถึงยุคคอมพิวเตอร ก็มองเห็นทางวาจะแกไข–ปรับปรุง–เพิมเติมพจนานุกรม                 ่                                                                     ่นีได แตกตองรอจุดตังตนใหม คือพิมพขอมูลพจนานุกรมในเลมหนังสือ ลงในคอมพิวเตอร  ้              ็           ้                                แมจะตองใชเวลาและแรงงานมาก ก็มีทานที่สมัครใจเสียสละ ไดพิมพขอมูลหนังสือพจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท ลงในคอมพิวเตอร โดยมิไดนดหมายกัน เทาทีทราบ ๔ ชุด                                                                           ั                  ่เริมดวยพระมหาเจิม สุวโจ แหงมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ทีทางานอยูหลายปจนเตรียมขอมูล    ่                                                                 ่ํ        เสร็จแลวมอบมาใหเมื่อวันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๔๑ แลวก็มีชุดของผูอื่นตามมาอีก              ทังทีมขอมูลในคอมพิวเตอรแลว ผูจดทําเองก็ไมมเี วลาตรวจ เวลาผานมาจนกระทัง รศ. ดร.                ้ ่ี                                ั                                         ่สมศีล ฌานวังศะ ราชบัณฑิต (มีบตรหญิง–ชาย คือ น.ส.ภาวนา ตังแตยงเปน ด.ญ.ภาวนา ฌานวังศะ                                          ุ                          ้ ัและนองชาย คือ นายปญญา ตังแตยงเปน ด.ช.ปญญา ฌานวังศะ เปนผูชวยพิมพขอมูล) นอกจาก                                         ้ ั                                           พิมพขอมูลหนังสือลงในคอมพิวเตอรแลว ยังชวยรับภาระในการพิสูจนอักษร (ตรวจปรูฟ) ตลอดเลม          นอกจากตรวจเองแลว ก็ยังหาพระชวยตรวจทานอีก ใหแนใจวาขอมูลใหมในระบบคอมพิวเตอรนี้ตรงกับขอมูลเดิมในเลมหนังสือ แลวในที่สุด พจนานุกรมนี้ก็พิมพเสร็จออกมาใน พ.ศ. ๒๕๔๖              เนื่องจากผูจัดทําเองยังไมมเี วลาแมแตจะตรวจปรูฟ พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท พิมพครั้งที่ ๑๐ ที่เสร็จออกมาใน พ.ศ. ๒๕๔๖ ซึ่งเปนครั้งแรกที่ใชขอมูลในระบบคอมพิวเตอรจึงมีหลักการทั่วไปวา ใหคงเนือหาไวอยางเดิมตามฉบับเรียงพิมพเกา ยังไมปรับปรุงหรือเพิมเติม                                       ้                                                          ่
จค) งานเริ่มเขาทาง: ชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑๑. ผานไป ๒๘ ป จึงถึงทีชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑         บัดนี้ เวลาผานไป ๒๙ ปแลว นับแตพมพ พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท ออก                                                ิมาครั้งแรก ใน พ.ศ. ๒๕๒๒ ขอมูลสวนใหญในพจนานุกรมนั้น ยังเปนขอมูลพื้นฐานที่ตั้งใจวาจะชําระ-เพิ่มเติม แตก็ขัดของตลอดมา         ในชวง ๒๔ ปแรก ติดขัดดวยระบบการพิมพไมเอือแลวความบีบคันดานเวลาก็ซาเขาไป สวน                                                            ้             ้              ้ํในชวง ๔ ปทชดใกลนี้ ทังทีมขอมูลสะดวกใชอยูในคอมพิวเตอร ก็ตดขัดดวยขาดเวลาและโอกาส                ี่ ิ        ้ ่ี                                  ิ         จนมาถึงขึนปใหม ๒๕๕๐ นี้ เมือหาโอกาสปลีกตัวจากวัด พอดีโรคทางเดินหายใจกําเริบขึนอีก                     ้                   ่                                                    ้คออักเสบลงไปถึงสายเสียง พูดยากลําบาก ตอดวยกลามเนือยึดสายเสียงอักเสบ โรคยืดเยือเกิน ๒ เดือน                                                          ้                            ้ไดไปพักรักษาตัวในชนบทนานหนอย เปนโอกาสใหไดเริมงานชําระ-เพิมเติมพจนานุกรม แตในขันนี้                                                        ่               ่                       ้เรงทําเฉพาะสวนรีบดวนและสวนทีพบเฉพาะหนาใหเสร็จไปชันหนึงกอน เรียกวา “งานชําระ-เพิม                                       ่                      ้ ่                                 ่เติม ชวงที่ ๑” คิดวาลุลวงไปไดทหนึง คงจะปดงานจัดใหพรอมเพือเขาโรงพิมพไดทนกอนโรคจะหาย                                   ี ่                           ่                  ัแตแลวก็ไมเปนไปอยางนัน จึงมีเรืองตองเลาตออีก                               ้     ่๒. อะไรมากับ และจะมาตาม การชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑         งานชําระ-เพิ่มเติมนี้ คือการทําให พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท มีคุณสมบัติเต็มตามความมุงหมาย เพราะหนังสือที่พิมพเรื่อยมานั้น จัดทําขึ้นอยางรวบรัดเพื่อพอใชไปพลางกอน เพียงเปนขอมูลพื้นฐานอยางที่กลาวแลว (มีบางบางคําที่มีโอกาสขยายความไปกอนแลว)         เนื่องจากตระหนักวา จะไมมีโอกาสทํางานชําระ-เพิ่มเติมอยางตอเนื่องใหเสร็จสิ้นไปในคราวเดียว จึงกะวาจะแบงงานนี้เปน ๓ ชวง สําหรับชวงที่ ๑ คิดวาเพียงจะแกไขปรับปรุงขอขาดตกบกพรองที่พบเฉพาะหนา โดยเฉพาะสวนหลงตาที่บังเอิญพบ และเพิ่มเติมคําศัพทและคําอธิบายที่รีบดวน หรือบังเอิญนึกได เสร็จแลวก็พิมพออกไปทีหนึ่งกอน งานปรับปรุงนอกจากนั้น เอาไวทําในชวงที่ ๒ และ ชวงที่ ๓         อยางไรก็ดี เมือตกลงยุตงานชวงที่ ๑ วาพอเทานีกอน (๑๖ มี.ค. ๒๕๕๐) พอดีไดอานจดหมาย                        ่         ิ                     ้                                  ของพระมหานิยม สีลสํวโร (เสนารินทร) ที่สงมาตั้งแต ๑๘ พ.ย. ๒๕๔๗ ก็มองเห็นวา ทานแจงคําผิด-ตก ที่สําคัญ แมจะมากแหง ก็ใชเวลาแกไขไมมาก จึงทําใหเสร็จไปดวยในคราวนี้ รวมเพิ่มที่แกไขอีกราว ๕๐ แหง อีกทั้งไดเห็นชัดวา ดวยฉันทะของทานเอง พระมหานิยมตรวจพจนานุกรม โดยเทียบกับเลมเดิมที่เปนตนฉบับไปดวยนี้ ทานใชเวลาอานจริงจังละเอียด จนทําใหคิดวา ในการชําระ-เพิ่มเติมชวงที่ ๒ ที่จะอานอยางตรวจปรูฟตลอดดวยนั้น งานสวนนี้คงเบาลงมาก จะไดมุงไปที่งานเพิ่มเติม-ปรับปรุงทัวไป จึงขออนุโมทนาพระมหานิยม สีลสํวโร ไว ณ ทีนี้                             ่                                                ่         พอจะปดงาน หันมาดูรายการศัพททพระธรรมรักษาแจงมาตังแต ๑๔ ธ.ค.๒๕๒๘ จนถึง ก.ค.                                             ี่                       ้๒๕๒๙ วาไมพบในพจนานุกรมฯ รวมได ๒๘ คํา เปนศัพทในอรรถกถาชาดกแทบทังนัน เห็นวานาจะทํา                                                                                   ้ ้ใหเสร็จไปดวยเลย จึงตัดคํานอกขอบเขตออกไป ๖ ศัพท (๑๙ หัวศัพทททาเพิมตามเสนอของพระ                                                                            ี่ ํ ่
ฉธรรมรักษา คือ จุลกฐิน ฉาตกภัย ธุวภัต นิพทธทาน บุพจริยา ประชุมชาดก ปาฏิหาริยปกษ พาหิรทาน                                                                                 ัพาหิรภัณฑ วิตถารนัย สัตตสดกมหาทาน สัมมานะ สาธุกฬา สุคโตวาท อธิคมธรรม อภิสมพุทธคาถา             ี                                                ัอสทิสทาน อุปทวะ อุยยานบาล, อุทยานบาล) แลวแถมเองอีกประมาณ ๒๐ คํา ใชเวลาคน-เขียนจน                         เสร็จอีก ๔ วัน (ของพระมหานิยมราว ๕๐ ศัพท ทานตรวจใชเวลามากมาย แตเปนการแกคาทีพมพ                                                                  ํ ่ ิผิด-ตก จึงใชเวลาเพียง ๖.๔๐ ชม. ก็เสร็จ สวนของพระธรรมรักษา แจงคําทีไมเจอ แมจะนอย ทําแค                               ่๑๙ หัวศัพท แตตองเขียนเพิมใหม จึงใชเวลามาก) ขออนุโมทนาพระธรรมรักษาดวย                                                  ่            มีจดหนึงซึงการแกปญหาคอนขางซับซอน คือ คํา “อสิตดาบส” ทีไดรบความเอือเฟอจาก รอง                  ุ ่ ่                                                                                            ่ ั                    ้ ศาสตราจารย ดร.ภัทรพร สิรกาญจน แจงใหทราบวา ทานทีทางานวิชาการ ทังฝายผูเ สนองาน และ                                                         ิ                                                ่ํ                     ้ฝายผูพจารณางาน ประสบความติดของ เพราะหลักฐานชันตนกับเอกสารอางอิง มีขอมูลขัดแยงกัน         ิ                                                                                       ้                                      ใบแจงของ ดร.ภัทรพร สิรกาญจน ชวยทําใหเอะใจและไดตรวจสอบขอมูล ซึงไดแกปญหาดวยวิธี                                                     ิ                                                                             ่           บอกขอมูลไปตามทีเ่ ปนของแหลงนันๆ โดยไมวนจฉัย ขออนุโมทนาทานผูแจง เปนอยางยิง                                                                ้                      ิิ                                                   ่            เมืองานปรับแกเพิมเติมดําเนินมาถึงวันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๕๐ มีศัพทตั้งที่เพิ่มขึ้นและที่มีความ                ่                           ่เปลี่ยนแปลงราว ๓๑๗ หัวศัพท (ไมนับการแกคําผิด-ตก ที่พระมหานิพนธชวยแจงมา ราว ๕๐ แหง)หนังสือหนาเพิมขึน ๔๘ หนา (จากเดิม ๓๗๖ หนา เปน ๔๒๔ หนา) คิดวาจะยุตเิ ทานีและสงโรงพิมพ                       ่ ้                                                                                                             ้            อยางไรก็ดี เมือเหลือบไปดูในหนังสือทีพมพรนเกา พ.ศ.๒๕๒๗ ซึงใชเปนทีทยอยบันทึกศัพท                                      ่                                            ่ ิ ุ                              ่             ่ทีนกขึนมาวาควรเพิมหรือควรปรับปรุง ก็ไดเห็นวาบางศัพทนาจะเติมลงไปในคราวนีดวย ก็เลยรอเพิม  ่ึ ้                           ่                                                                                                  ้                         ่อีกหนอย พอทําคํานีเ้ สร็จ เห็นวาคํานันก็นาทํา ก็เติมอีกหนอย แลวมีงานอืนทีเ่ รงแทรกเขามาเปน                                                                          ้                                                   ่ระยะๆ รวมแลวงานอืนแทรกราว ๘ เดือน และมีเวลาทํายืดมาราว ๖ เดือน ทําไปทํามาก็ยตลงในบัดนี้                                    ่                                                                                                       ุิ            การแกไขและเพิมเติมทังหมดนี้ เปนการทําเปนจุดๆ มุงจําเพาะไปทีจดนันๆ จึงยังไมไดตรวจดู                                        ่                  ้                                                            ุ่ ้ทัวตลอดทังเลม การแกคาทีพมพผดและการเพิมศัพทใหมจานวนมาก เปนเรืองทีมาจากความบังเอิญ  ่                ้                          ํ ่ ิ ิ                                  ่            ํ                         ่ ่พบบังเอิญเห็น เชน จะดูคา “สรณคมน” วาควรอธิบายเพิมเติมหรือไม พอดีเหลือบไปเห็นคํา                                                       ํ                                                     ่“สรภัญญะ” ซึงอยูใกลๆ ทังทีไมไดนกไววาจะทําอะไรกับคํานีเ้ ลย แตพอเห็นวาไดใหความหมายไวสน                        ่                      ้ ่                 ึ                                                                                            ั้นัก ก็เลยเขียนอธิบายใหมอยางคอนขางยาว, จะอธิบายคําวา “ภาณวาร” ใหชดขึน ก็พลอยนึกถึงคําวา                                ั ้“ภาณยักษ” ดวย ทังทีเ่ ดิมไมมคานี้ และไมไดตงใจมาแตเดิม ก็เลยบรรจุ “ภาณยักษ” เขามาดวย และ                               ้                           ีํ                       ั้อธิบายเสียยาว, คําวา “ถวายพรพระ” “คาถาพาหุง” “ชัยมงคลคาถา” ฯลฯ ก็เขามาโดยบังเอิญทํานองนี้            แมคาทีพมพผด ซึงยังไมไดตงใจจะตรวจปรูฟ ก็พบโดยบังเอิญและแกไปมากมาย แมกระทัง                     ํ ่ ิ ิ ่                                         ั้                                                                                             ่เมือหนังสือใกลจะเสร็จ เชน จะเติมขอความ ๑ บรรทัดวา “ศาสนวงศ ดู สาสนวงส” ตอนนันจะตอง      ่                                                                                                                                              ้รักษาใหขอความบรรทัดแรกและบรรทัดสุดทายของหนานันคงอยูทเี่ ดิม จึงตองลดบรรทัดในหนานัน                                                                                             ้                                                                     ้ลง ๑ บรรทัด ทําใหตองอานหาคําศัพทในหนานันซึงมีคาอธิบายทีพอจะบีบใหบรรทัดนอยลง ก็เลย                                                                                         ้ ่ ํ                  ่เจอโดยบังเอิญวา ทีคา “ศีล ๘” มีขอความวา “จะรักษาประจําใจก็ได” เกิดความสงสัยวา ไมนาจะมี                                   ่ํ                                                                                                                   “ใจ” จึงเปดหนังสือเกาสมัยปกสีสมดู พบวามีแต “ประจํา” จึงไดแกโดยตัด “ใจ” ออกไป หรืออยาง                                                              เมือตรวจดูความเรียบรอยของหัวศัพททขนไปปรากฏบนหัวกระดาษ ก็ทาใหบงเอิญพบหัวศัพททพมพ    ่                                                                      ี่ ึ้                                   ํ ั                                     ี่ ิผิด “สปทาจาริกงคะ” (สปทานจาริกงคะ) และ “อปโลกนธรรม” (อปโลกนกรรม) จึงไดแกใหถกตอง                           ั                                      ั                                                                                ู
ช๓. การชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑ ทําใหมีความเปลี่ยนแปลงอะไร      การชําระ-เพิ่มเติมชวงที่ ๑ นี้ ถือวายุตลงในวันที่ ๑๙ มิถนายน ๒๕๕๑ ไดทําให                                                    ิ                ุพจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท มีศัพทที่เพิ่มขึ้นและที่มีความเปลี่ยนแปลงรวมประมาณ ๑,๑๐๐ หัวศัพท กลายเปนเพิมอีก ๒๐๔ หนา (จากเดิม ๓๗๖ หนา เปน ๕๘๐ หนา)                                    ่      หัวศัพท ที่มีก ารปรับ แก และที่เ พิ่ม ใหมใ นระยะ ๒ เดือ นแรก มี ตัวอยาง ดังนี้กัป, กัลป      กิริยา         กิเลสพันหา     คงคา            คณาจารย               เครื่องรางชุมนุมเทวดา     ตัณหา ๑๐๘      ทักขิณาบถ       ทีฆนขสูตร       ธรรมราชา               ธัญชาตินัมมทา          บริขาร         บุพการ          บุพนิมตแหงมรรค ปกตัตตะ                                                     ิ                                ปปญจะปริตร, ปริตต   ปญญา ๓        พรหมจรรย       มหานที ๕        มหายาน                 มาตรามานะ            ยถากรรม        ยมุนา           โยนก            โวการ (เชน จตุโวการ)                                                                                     สมานฉันทสรภู            สังคายนา       สัจกิริยา       สัจจาธิฏฐาน สีหนาท                     สุตะหีนยาน          อจิรวดี        อธิษฐาน         อธิษฐานธรรม อภิสมพุทธคาถา                                                                   ั                  อโศกมหาราชอาภัพ           อายุ           อายุสังขาร      อาสภิวาจา       อุตราบถ                อุทยาน        หัวศัพท ที่มีก ารปรับ แก และที่เ พิ่ม ใหมใ นระยะ ๑๔ เดือ นหลัง มี ตัวอยาง ดังนี้กรรมวาท         กลาป           คันธกุฎี        คามวาสี           คิหิวินัย            จุณณิยบทจูฬมัชฌิมมหาศีล ฉันมื้อเดียว   ชยมังคลัฏฐกคาถา ชวนะ              ญาณ ๑๖               เดนตุลา            ถวายพรพระ      ธรรมทูต         ธรรมสภา           บังสุกุลตาย-เปน     ปฏิกรรมปรมัตถธรรม ปานะ                โปราณัฏฐกถา พุทธาวาส              ภาณยักษ             ยมกปาฏิหาริยรูปรูป, สุขมรูป วิถีจิต           ุ                   วิปสสนูปกิเลส สมานฉันท          สรณคมน               สรภัญญะสังฆาวาส        สารีริกธาตุ    สุวรรณภูมิ      สูกรมัททวะ        อตัมมยตา             อภิธัมมัตถสังคหะอรรถกถา         อรัญวาสี       อัชฏากาศ        อากาศ             อุปฏฐานศาลา                                                                                     เอตทัคคะ       การชําระ-เพิ่มเติมนี้ ทําให พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท มีลักษณะคืบเคลื่อนเขาไปใกลงานคางที่ ๓ ซึ่งไดหยุดลงเมื่อใกลสิ้นป ๒๕๒๑ เชน คํา “กัป, กัลป” ในการพิมพครั้งที่ ๑๐ พ.ศ. ๒๕๔๖ มีคาอธิบาย ๑๒ บรรทัด แตในฉบับชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑ นี้ ขยายเปน                          ํ๑๑๓ บรรทัด เมื่อนําไปเทียบกับฉบับงานคางที่ ๓ นั้น (ในการเขียนขยายคราวนี้ ไมไดหันไปดูงานคางนั้นเลย) ปรากฏวา คําอธิบายในฉบับชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑ นี้ ยังสั้นกวาเกาเกือบครึ่งหนึ่ง       ถาตองการมองใหชัดวางานชําระ-เพิ่มเติมมีลักษณะอยางไร จะดูไดงายที่คําตัวอยางขางบนนั้น เฉพาะอยางยิ่งคําวา กัป, กัลป; กิเลสพันหา; เครื่องราง; ชาดก; ทักขิณาบถ; นัมมทา; บริขาร;ปริตร, ปริตต; ภาณวาร; มานะ; ยถากรรม; สรภัญญะ; สัจกิริยา; อธิษฐาน; อายุ       บัดนี้ งานชําระ-เพิมเติม ชวงที่ ๑ ไดเสร็จสิ้นแลว โดยกําหนดเอาเองวาเพียงเทานี้ แตงาน                            ่ชําระ-เพิมเติม ชวงที่ ๒ และ ๓ ซึ่งรอขางหนา มีมากกวา         ่       ขอทําความเขาใจรวมกันวา ตามที่คิดไว งานตรวจชําระ ๓ ชวง จะเปนดังนี้
ซ        การชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑: แกไขปรับปรุงขอขาดตกบกพรองที่พบเฉพาะหนา โดยเฉพาะสวนหลงตาที่บังเอิญพบ และเพิ่มเติมคําศัพทและคําอธิบายที่รีบดวน หรือบังเอิญนึกได รวมทั้งศัพทท่บนทึกไวระหวางเวลาที่ผานมา (ไดเลือกทําแลวเฉพาะคําที่ไมซับซอนนัก) และบางคําที่ทานผู        ีัใชหนังสือ ไดมน้ําใจแจงมาวาเจอคําผิดหรือคนหาไมพบ                ี        การชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๒: อาน-ตรวจตลอดเลม เพื่อจะไดมองเห็นคําพิมพผิด คําตกจุดและแงท่จะแกไข-ปรับปรุง-เพิ่มเติมทั่วทั้งหมด พรอมทั้งจัดปรับคําอธิบายศัพททั้งของเดิมและ             ีสวนที่เพิ่มเติม ใหเขามาตรฐานเดียวกัน ทั้งในแงการแสดงความหมาย วิธีอธิบาย และอัตราสวนความยาวที่สัมพันธกับความสําคัญของศัพทนั้นๆ        การชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๓: มุงที่การจัดระบบ เพื่อใหสม่ําเสมอ กลมกลืน เปนแบบแผนอันเดียวกันและทั่วกัน เชน มีคาอาน บอกที่มาในคัมภีร แสดงคําเดิมในภาษาบาลีและสันสกฤต                                 ํและถาเปนไปได ใหคําแปลภาษาอังกฤษของศัพทตั้งหรือหัวศัพท พรอมทั้งแผนที่และภาพประกอบ        งานชําระ-เพิมเติม ชวงที่ ๑ ไดเสร็จสิ้นลง โดยกําหนดเอาเองวาแคนี้กอน แตชวงที่ ๒ และ                      ่                                                             ชวงที่ ๓ ไมอาจคาดหมายวาจะเสร็จเมื่อใด หากไมนิราศ-ไมไดโอกาสจากโรค ก็กลาวไดเพียงวาอยูในความตั้งใจที่จะทําตอไป                                               พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)                                                         ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๑
คําปรารภ                                          (ในการพิมพครั้งที่ ๑๐)       เมื่อกลาวถึง พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท หลายทานนึกถึง พจนานุกรมพุทธศาสตรฉบับประมวลธรรม ดวย โดยเขาใจวาเปนหนังสือชุดที่มีสองเลมรวมกัน แตแทจริงเปนหนังสือที่เกิดขึ้นตางหากกัน ตางคราวตางวาระ และมีความเปนมาที่ทั้งตางหากจากกัน และตางแบบตางลักษณะกันก. ความเปนมา ชวงที่ ๑: งานสําเร็จ แตขยายไมได          พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม เปนหนังสือที่คอยๆ กอตัวขึ้นทีละนอย เริ่มจากหนังสือStudent’s Thai–Pali–English Dictionary of Buddhist Terms เลมเล็กๆ ที่จัดทําเสร็จใน พ.ศ. ๒๕๐๖ตอแตนั้นก็ไดปรับปรุง–เพิ่มเติม–ขยายขนาดขึ้นเรื่อยๆ และไดขยายขอบเขตออกไปจนกลายเปนงานที่มีลักษณะเปนสารานุกรม          เมื่อเวลาผานไปๆ ก็มองเห็นวางานทําสารานุกรมจะกินเวลายืดเยื้อยาวนานมาก ยิ่งมีงานอื่นแทรกเขามาบอยๆ ก็ยิ่งยากที่จะมองเห็นความจบสิ้น ในที่สุดจึงตกลงวาควรทําพจนานุกรมขนาดยอมๆ ขั้นพื้นฐานออกมากอน และไดรวบรวมคัดเลือกหมวดธรรมมาจัดทําคําอธิบายขึ้น ซึ่งไดบรรจบรวมกับหนังสือเลมเล็กเดิมที่สบมาแต พ.ศ. ๒๕๐๖ กลายเปนภาคหนึ่งๆ ใน ๓ ภาคของหนังสือที่รวมเปนเลมเดียวกันอันมีชื่อวา        ืพจนานุกรมพุทธศาสตร เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๕          กาลลวงมาจนถึง พ.ศ. ๒๕๒๘ พจนานุกรมพุทธศาสตร ซึ่งพิมพครั้งที่ ๔ จึงมีช่อปจจุบันวา   ืพจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม เพื่อใหเขาคูกับพจนานุกรมอีกเลมหนึ่งที่เปลี่ยนจากชื่อเดิมมาเปน พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท          ถึงวาระนี้ พจนานุกรมสองเลมนี้จึงเสมือนเปนหนังสือที่รวมกันเปนชุดอันเดียว          พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท ที่วานั้น เปนหนังสือที่เกิดขึ้นแบบทั้งเลมฉับพลันทันทีโดยแทรกตัวเขามาใน พ.ศ. ๒๕๒๒ ระหวางที่งานทําพจนานุกรมซึ่งขยายขอบเขตออกไปจนจะเปนสารานุกรมนั้น กําลังดําเนินอยู          เนื่ อ งจากผูรวบรวมเรียบเรียงเห็ นว า งานทําสารานุก รม คงจะกินเวลายืดเยื้อไปอีกนาน และพจนานุกรมพุทธศาสตร ทีทาเสร็จไปแลว ก็มเี ฉพาะดานหลักธรรมซึงจัดเรียงตามลําดับหมวดธรรม ควรจะมี                               ่ํ                                    ่พจนานุกรมเลมเล็กๆ งายๆ วาดวยพระพุทธศาสนาทั่วๆ ไป แบบเรียงตามลําดับอักษร ทีพอใชประโยชนพนๆ                                                                                        ่                ื้สําหรับผูเ ลาเรียนในขันตน โดยเฉพาะนักเรียนนักธรรม ออกมากอน                         ้          พรอมนั้นก็พอดีประจวบเหตุผลอีกอยางหนึ่งมาหนุน คือ ไดเห็นหนังสือ ศัพทหลักสูตรภาษาไทยสําหรับนักธรรม ชันตรี ชันโท และชันเอก ที่มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยจัดพิมพออกมาใน พ.ศ. ๒๕๐๓                     ้       ้         ้เหลืออยูจํานวนมากมาย และดูเหมือนวาไมมีใครเอาใจใส          หนังสือ ศัพทหลักสูตรภาษาไทย ชุดนั้น ทาง มจร. จัดพิมพขึ้นมาเพื่อสนองความตองการของนักเรียนนักธรรมที่จะตองสอบวิชาใหมซึ่งเพิ่มเขามาในหลักสูตร คือวิชาภาษาไทย แตแทบจะยังไมทันไดเผยแพรออกไป วิชาภาษาไทยนั้นก็ไดถูกยกเลิกเสีย หนังสือชุดนั้นจึงถูกทอดทิ้ง          ไดมองเห็นวา หนังสือ ศัพทหลักสูตรภาษาไทย นัน ไมควรจะถูกทิงไปเสียเปลา ถานํามาจัดเรียงใหมในรูป                                                         ้              ้พจนานุกรม ก็จะใชประโยชนได อยางนอยศัพทตงหรือหัวศัพททมอยูกจะทุนแรงทุนเวลาในการเก็บศัพทเปนอันมาก                                                ั้           ี่ ี  ็      
ญ          โดยนัยนี้ ก็ไดนาหนังสือ ศัพทหลักสูตรภาษาไทย ชุดนันทัง ๙ ภาค (ศัพทสาหรับนักธรรมตรี–โท–เอก                          ํ                                   ้ ้                 ํชั้นละ ๓ วิชา จึงมีช้นละ ๓ ภาค พิมพรวมเปนชั้นละเลม) มาจัดเรียบเรียงเปนพจนานุกรมเลมเดียว ดังไดเลา                      ัไวแลวใน “แถลงการจัดทําหนังสือ ประกาศพระคุณ ขอบคุณ และอนุโมทนา (ในการพิมพครั้งที่ ๑)”          ศัพทจํานวนมากทีเดียว ที่งายๆ พื้นๆ และตองการเพียงความหมายสั้นๆ หรือคําอธิบายเพียงเล็กนอย ไดคงไวตามเดิมบาง แกไขปรับปรุงบาง สวนศัพทที่ตองการคําอธิบายยาวๆ ก็เขียนขยาย และศัพทสําหรับการเรียนนักธรรมที่ตกหลนหรือศัพททั่วไปอันควรรูที่ยังไมมี ก็เติมเขามา รวมเปนของเกากับของใหมประมาณครึ่งตอครึ่ง จึงเกิดเปนพจนานุกรม ซึงในการพิมพครังแรก พ.ศ. ๒๕๒๒ เรียกชือวา พจนานุกรม                                                ่              ้                          ่พุทธศาสน ฉบับครู นักเรียน นักธรรม          ตอมา ในการพิมพครั้งที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๒๗ พจนานุกรมเลมนั้นไดเปลี่ยนมีชื่ออยางปจจุบันวาพจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท คือหนังสือเลมนี้          เมื่อมีการเผยแพรมากขึ้น ผูขออนุญาตพิมพบางแหงจึงไดนําพจนานุกรมทั้งสองเลมนี้มาจัดรวมกันเปนชุด และลาสุดบางทีถึงกับทํากลองใสรวมกัน          แมจะมีประวัติแหงการเกิดขึ้นตางหากกัน แตพจนานุกรมสองเลมนี้ก็มีลักษณะที่เหมือนกันอยางหนึ่งคือเปนงานในชวงระหวางที่งานทําพจนานุกรมซึ่งตอเนื่องมาแตเดิมและขยายออกไปจนกลายเปนสารานุกรมแสดงอาการวาจะเปนเรื่องยืดเยื้อตองรออีกยาวนาน          หลังจากการพิมพลงตัวแลว พจนานุกรมสองเลมนี้ก็มีชะตากรรมอยางเดียวกัน คือขึ้นตอระบบการทําตนแบบและการพิมพยุคกอนนั้น ซึ่งตนแบบอยูในแผนกระดาษที่ตายตัว แกไขและขยับขยายไดยาก ยิ่งเปนหนังสือขนาดหนาและมีรูปแบบซับซอน ก็แทบปรับเปลี่ยนอะไรไมไดเลย          ดวยเหตุนี้ การพิมพพจนานุกรมสองเลมนั้นในครั้งตอๆ มา จึงตองพิมพซ้ําตามตนแบบเดิม ถาจําเปนจริงๆ ที่จะตองแกไข ก็แกไดเพียง ๔–๕ บรรทัด ยิ่งเมื่อเวลาผานมานานขึ้น แผนกระดาษตนแบบทั้งหมดก็ผุเปอยหรือสูญหายไป (ตนแบบของ พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท ซึ่งทําขึ้นใหมในการพิมพครั้งที่ ๒ ไดสูญหายไปตั้งแตเมื่อการพิมพครั้งที่ ๒ นั้นเสร็จสิ้นลง) ทําใหการพิมพตอจากนั้นตองใชวิธีถายภาพจากหนังสือที่พิมพครั้งกอนๆ ซึ่งจะไดตัวหนังสือที่เลือนลางลงไปเรื่อยๆ ไดแตรอเวลาที่จะพิมพทําตนแบบขึ้นใหม โดยจะถือโอกาสเพิ่มเติมดวยพรอมกัน          อยางไรก็ตาม เนื่องจาก พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท นี้ มีศัพทและคําอธิบายที่จะเพิ่มมากมาย เมื่อแกไขตนแบบเดิมไมได ก็จึงใสสวนเพิ่มเขามาตางหากตอทายเลมในการพิมพครั้งที่ ๓ พ.ศ.๒๕๒๘ โดยทําเปน “ภาคผนวก” (มีศัพทต้งหรือหัวศัพทเพิ่ม ๑๒๔ ศัพท รวม ๒๔ หนา ขยายขนาดเลม                                             ัหนังสือเฉพาะตัวพจนานุกรมแทๆ ขึ้นเปน ๔๖๖ หนา) ตอแตนั้นมา ก็พิมพซ้ําอยางที่กลาวขางตนข. ความเปนมา ชวงที่ ๒: เขายุคใหม มีฐานที่จะกาวตอ       ระหวางรอเวลาที่จะพิมพทําตนแบบใหม พรอมกับเขียนเพิ่มเติม ซึ่งมองไมเห็นวาจะมีโอกาสทําไดเมื่อใด กาลก็ลวงมา จนถึงยุคคอมพิวเตอร                ระบบคอมพิวเตอรไดชวยใหการพิมพเจริญกาวหนาอยางมหัศจรรย ซึ่งแกปญหาสําคัญในการทําพจนานุกรมไดทงหมด โดยเฉพาะ              ั้       • การพิมพขอมูลใหมทําไดอยางดีและคลองสะดวก       • รักษาขอมูลใหมนั้นไวไดสมบูรณและยืนนาน โดยมีคุณภาพคงเดิม หรือจะปรับใหดียิ่งขึ้นก็ได
ฎ           • ขอมูลใหมที่เก็บไวนั้น จะแกไข–ปรับปรุง–เพิ่มเติม ที่จุดไหนสวนใด อยางไร และเมื่อใด ก็ไดตามปรารถนา           ถึงตอนนี้ ก็เห็นทางที่จะทําใหงานทําพจนานุกรมกาวตอไป แตก็ตองรอขั้นตอนสําคัญ คือจุดตั้งตนครั้งใหม ไดแกการพิมพขอมูลพจนานุกรมทั้งหมดในเลมหนังสือลงในคอมพิวเตอร ซึ่งตองใชเวลาและแรงงานมากทีเดียว           ถามีขอมูลที่พิมพลงในคอมพิวเตอรไวพรอมแลว ถึงจะยังไมมีเวลาที่จะแกไข–ปรับปรุง–เพิ่มเติม ก็อุนใจได เพราะสามารถเก็บรอไว มีโอกาสเมื่อใด ก็ทําไดเมื่อนั้น แตตองเริ่มขั้นเตรียมขอมูลนั้นใหไดกอน           ขณะที่ผรวบรวมเรียบเรียงเองพิมพดีดไมเปน กับทั้งมีงานอื่นพันตัวนุงนัง ไมไดดําเนินการอันใดใน                         ูเรื่องนี้ ก็ไดมีทานที่มีใจรักและทานที่มองเห็นประโยชน ไดพิมพขอมูล พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวล                   ศัพท ทั้งหมดของเลมหนังสือลงในคอมพิวเตอร ดวยความสมัครใจของตนเอง โดยมิไดนัดหมาย เทาที่ทราบ/เทาที่พบ ๔ ราย เปน ๔ ชุด คือ           ๑. พระมหาเจิม สุวโจ แหงสถาบันวิจัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ไดเริ่มจัดทํางานนี้ตั้งแตระยะตนๆ ของยุคแหงการพิมพดวยระบบคอมพิวเตอร ซึ่งทั้งอุปกรณและบุคลากรดานนี้ยังไมพรั่งพรอม ใชเวลาหลายป จนในที่สด ไดมอบขอมูลที่เตรียมเสร็จแลวแกผูรวบรวมเรียบเรียง เมื่อวันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๔๑                           ุ           ขอมูลทีพระมหาเจิม สุวโจ เตรียมไวนี้ ไดจดวางรูปแบบเสร็จแลว รอเพียงงานขันทีจะสงเขาโรงพิมพ                     ่                                  ั                                  ้ ่รวมทังการตรวจครังสุดทาย นับวาพรอมพอสมควร แตผรวบรวมเรียบเรียงก็ไมมเี วลาตรวจ เวลาก็ผานมาเรือยๆ       ้                     ้                               ู                                          ่           ๒. รศ. ดร.สมศีล ฌานวังศะ ราชบัณฑิต ไดเตรียมขอมูลพจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท(พรอมทั้งพจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม) โดยบุตรหญิง–ชาย คือน.ส.ภาวนา ตั้งแตยังเปนด.ญ.ภาวนา ฌานวังศะ และนองชาย คือ นายปญญา ตั้งแตยังเปนด.ช.ปญญา ฌานวังศะ ไดชวยกันแบงเบาภาระดวยการพิมพขอมูลทังหมดของเลมหนังสือลงในคอมพิวเตอร ภายใตการดูแลของ ดร.สมศีล ฌานวังศะ                                ้ซึ่งเปนผูตรวจความเรียบรอยและจัดรูปแบบขอมูลนั้นตามเลมหนังสืออีกทีหนึ่ง           ๓. พระไตรปฎก (ในแผน CD – ระบบคอมพิวเตอร) ฉบับสมาคมศิษยเกา มหาจุฬาลงกรณราช-วิทยาลัย ซึ่งเสร็จออกเผยแพรในชวงตนของ พ.ศ. ๒๕๔๓ ไดขอบรรจุ พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม และ พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท ไวในโปรแกรมดวย ผูจัดทําจึงไดพิมพขอมูลทั้งหมดของหนังสือทั้งสองเลมนั้นลงในคอมพิวเตอร แตเนื่องจากเปนขอมูลสําหรับโปรแกรมคอมพิวเตอร จึงไมไดจัดรูปแบบเพื่อการตีพิมพอยางเลมหนังสือ           ๔. พจนานุกรมพุทธศาสน (ในแผน CD – ระบบคอมพิวเตอร) รุน ๑.๕ (ในโปรแกรมวา พจนานุกรมพุทธศาสตร Version <1.2>) พ.ศ. ๒๕๔๔ จัดทําโดยคณะวิศวกรรมศาสตรคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยรังสิตซึ่งก็ไมไดจัดรูปแบบเพื่อการตีพิมพอยางเลมหนังสือ เพราะเปนขอมูลสําหรับโปรแกรมคอมพิวเตอร           ขอมูลทัง ๔ ชุดนี้ ผูจดทําชุดนันๆ ไดนาศัพทตงและคําอธิบายทังหมดใน “ภาคผนวก” รวม ๒๔ หนา                       ้           ั       ้      ํ      ั้              ้๑๒๔ ศัพท ของฉบับเรียงพิมพระบบเกา มาแทรกเขาในเนือหาหลักของเลมตามลําดับอักษรเสร็จเรียบรอยดวย                                                                ้           เมื่อมีชุดขอมูลใหเลือก ก็แนนอนวาจะตองพิจารณาเฉพาะชุดที่จัดรูปแบบไวแลวเพื่อการตีพิมพอยางเลมหนังสือ คือชุดที่ ๑ และชุดที่ ๒           แตทั้งที่มีขอมูลนั้นแลว เวลาก็ผานไปๆ โดยผูรวบรวมเรียบเรียงมิไดดําเนินการใดๆ เพราะวาแมจะมีขอมูลครบทั้งหมดแลว แตก็ยังมีงานสุดทายในขั้นสงโรงพิมพ โดยเฉพาะการพิสจนอักษร (ตรวจปรูฟ) ตลอด                                                                                  ูเลมอีกครั้ง ซึ่งควรเปนภาระของผูรวบรวมเรียบเรียงเอง
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์

More Related Content

What's hot

Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒
Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒
Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒Tongsamut vorasan
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) Chor Chang
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑Tongsamut vorasan
 
6 47+สมนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)
6 47+สมนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)6 47+สมนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)
6 47+สมนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)Tongsamut vorasan
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒Tongsamut vorasan
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒Tongsamut vorasan
 
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรมพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรมTongsamut vorasan
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๔ วินัยปิฎกที่ ๐๔ มหาวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๔ วินัยปิฎกที่ ๐๔ มหาวรรค ภาค ๑พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๔ วินัยปิฎกที่ ๐๔ มหาวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๔ วินัยปิฎกที่ ๐๔ มหาวรรค ภาค ๑Tongsamut vorasan
 
Tri91 30++สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๑
Tri91 30++สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๑Tri91 30++สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๑
Tri91 30++สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๑Tongsamut vorasan
 
Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑
Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑
Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑Tongsamut vorasan
 
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔Tongsamut vorasan
 
อนุสรณ์ ประวัตินายเลิศ ยงยันต์
อนุสรณ์ ประวัตินายเลิศ ยงยันต์อนุสรณ์ ประวัตินายเลิศ ยงยันต์
อนุสรณ์ ประวัตินายเลิศ ยงยันต์Wes Yod
 
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒Tongsamut vorasan
 
คู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สาย
คู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สายคู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สาย
คู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สายPanda Jing
 
Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tongsamut vorasan
 
เก้าบทวิจารณ์พรรคคอมมิวนิสต์
เก้าบทวิจารณ์พรรคคอมมิวนิสต์เก้าบทวิจารณ์พรรคคอมมิวนิสต์
เก้าบทวิจารณ์พรรคคอมมิวนิสต์Por Waragorn
 
Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tongsamut vorasan
 
Tri91 40+ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๑
Tri91 40+ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๑Tri91 40+ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๑
Tri91 40+ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๑Tongsamut vorasan
 

What's hot (20)

Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒
Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒
Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559)
 
ติวOne tsocial
ติวOne tsocialติวOne tsocial
ติวOne tsocial
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
 
6 47+สมนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)
6 47+สมนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)6 47+สมนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)
6 47+สมนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒
 
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรมพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๔ วินัยปิฎกที่ ๐๔ มหาวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๔ วินัยปิฎกที่ ๐๔ มหาวรรค ภาค ๑พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๔ วินัยปิฎกที่ ๐๔ มหาวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๔ วินัยปิฎกที่ ๐๔ มหาวรรค ภาค ๑
 
Tri91 30++สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๑
Tri91 30++สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๑Tri91 30++สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๑
Tri91 30++สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๑
 
Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑
Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑
Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑
 
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
 
อนุสรณ์ ประวัตินายเลิศ ยงยันต์
อนุสรณ์ ประวัตินายเลิศ ยงยันต์อนุสรณ์ ประวัตินายเลิศ ยงยันต์
อนุสรณ์ ประวัตินายเลิศ ยงยันต์
 
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒
 
คู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สาย
คู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สายคู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สาย
คู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สาย
 
Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
 
Community
CommunityCommunity
Community
 
เก้าบทวิจารณ์พรรคคอมมิวนิสต์
เก้าบทวิจารณ์พรรคคอมมิวนิสต์เก้าบทวิจารณ์พรรคคอมมิวนิสต์
เก้าบทวิจารณ์พรรคคอมมิวนิสต์
 
Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
 
Tri91 40+ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๑
Tri91 40+ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๑Tri91 40+ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๑
Tri91 40+ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๑
 

Viewers also liked

การใช้หลักพุทธธรรมในการทำธุรกิจ
การใช้หลักพุทธธรรมในการทำธุรกิจการใช้หลักพุทธธรรมในการทำธุรกิจ
การใช้หลักพุทธธรรมในการทำธุรกิจTongsamut vorasan
 
ความรู้ทางพุทธศาสนา
ความรู้ทางพุทธศาสนาความรู้ทางพุทธศาสนา
ความรู้ทางพุทธศาสนาTongsamut vorasan
 
5 44++มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๓
5 44++มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๓5 44++มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๓
5 44++มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๓Tongsamut vorasan
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกTongsamut vorasan
 
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้Tongsamut vorasan
 
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์Tongsamut vorasan
 
สุภีร์ ทุมทอง ธรรมะคืออะไร
สุภีร์ ทุมทอง   ธรรมะคืออะไรสุภีร์ ทุมทอง   ธรรมะคืออะไร
สุภีร์ ทุมทอง ธรรมะคืออะไรTongsamut vorasan
 
2 20+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๒
2 20+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๒2 20+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๒
2 20+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๒Tongsamut vorasan
 
เอกสารการสร้างวัดไทยในอเมริกา
เอกสารการสร้างวัดไทยในอเมริกาเอกสารการสร้างวัดไทยในอเมริกา
เอกสารการสร้างวัดไทยในอเมริกา
Tongsamut vorasan
 
อุบาสิกาแก้ว เสียงล้ำ อริยสาวิกา
อุบาสิกาแก้ว เสียงล้ำ   อริยสาวิกาอุบาสิกาแก้ว เสียงล้ำ   อริยสาวิกา
อุบาสิกาแก้ว เสียงล้ำ อริยสาวิกาTongsamut vorasan
 
สุภีร์ ทุมทอง อินทรีย์ ๕
สุภีร์ ทุมทอง   อินทรีย์ ๕สุภีร์ ทุมทอง   อินทรีย์ ๕
สุภีร์ ทุมทอง อินทรีย์ ๕Tongsamut vorasan
 
สดุดีสมเด็จพุทธชินวงศ์
สดุดีสมเด็จพุทธชินวงศ์สดุดีสมเด็จพุทธชินวงศ์
สดุดีสมเด็จพุทธชินวงศ์Tongsamut vorasan
 
3 33+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๗
3 33+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๗3 33+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๗
3 33+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๗Tongsamut vorasan
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิตพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิตTongsamut vorasan
 
วิปัสสนานัย เล่ม2
วิปัสสนานัย เล่ม2วิปัสสนานัย เล่ม2
วิปัสสนานัย เล่ม2Tongsamut vorasan
 
ภาค 1
ภาค 1ภาค 1
ภาค 1
Tongsamut vorasan
 
ภาค5
ภาค5ภาค5
ภาค5
Tongsamut vorasan
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 

Viewers also liked (20)

การใช้หลักพุทธธรรมในการทำธุรกิจ
การใช้หลักพุทธธรรมในการทำธุรกิจการใช้หลักพุทธธรรมในการทำธุรกิจ
การใช้หลักพุทธธรรมในการทำธุรกิจ
 
ความรู้ทางพุทธศาสนา
ความรู้ทางพุทธศาสนาความรู้ทางพุทธศาสนา
ความรู้ทางพุทธศาสนา
 
5 44++มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๓
5 44++มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๓5 44++มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๓
5 44++มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๓
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
 
ปทวิจาร
ปทวิจารปทวิจาร
ปทวิจาร
 
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
 
-------------- --- 4
 -------------- --- 4 -------------- --- 4
-------------- --- 4
 
สุภีร์ ทุมทอง ธรรมะคืออะไร
สุภีร์ ทุมทอง   ธรรมะคืออะไรสุภีร์ ทุมทอง   ธรรมะคืออะไร
สุภีร์ ทุมทอง ธรรมะคืออะไร
 
2 20+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๒
2 20+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๒2 20+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๒
2 20+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๒
 
เอกสารการสร้างวัดไทยในอเมริกา
เอกสารการสร้างวัดไทยในอเมริกาเอกสารการสร้างวัดไทยในอเมริกา
เอกสารการสร้างวัดไทยในอเมริกา
 
อุบาสิกาแก้ว เสียงล้ำ อริยสาวิกา
อุบาสิกาแก้ว เสียงล้ำ   อริยสาวิกาอุบาสิกาแก้ว เสียงล้ำ   อริยสาวิกา
อุบาสิกาแก้ว เสียงล้ำ อริยสาวิกา
 
สุภีร์ ทุมทอง อินทรีย์ ๕
สุภีร์ ทุมทอง   อินทรีย์ ๕สุภีร์ ทุมทอง   อินทรีย์ ๕
สุภีร์ ทุมทอง อินทรีย์ ๕
 
สดุดีสมเด็จพุทธชินวงศ์
สดุดีสมเด็จพุทธชินวงศ์สดุดีสมเด็จพุทธชินวงศ์
สดุดีสมเด็จพุทธชินวงศ์
 
3 33+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๗
3 33+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๗3 33+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๗
3 33+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๗
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิตพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิต
 
วิปัสสนานัย เล่ม2
วิปัสสนานัย เล่ม2วิปัสสนานัย เล่ม2
วิปัสสนานัย เล่ม2
 
ภาค 1
ภาค 1ภาค 1
ภาค 1
 
ภาค5
ภาค5ภาค5
ภาค5
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 

More from Tongsamut vorasan

หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
Tongsamut vorasan
 
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษFood reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Tongsamut vorasan
 
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
Tongsamut vorasan
 
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
Tongsamut vorasan
 
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
Tongsamut vorasan
 
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติเจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
Tongsamut vorasan
 
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตเจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
Tongsamut vorasan
 
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมเพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
Tongsamut vorasan
 
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
Tongsamut vorasan
 
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
Tongsamut vorasan
 
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
Tongsamut vorasan
 
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
Tongsamut vorasan
 
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
Tongsamut vorasan
 
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
Tongsamut vorasan
 
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกากำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
Tongsamut vorasan
 
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
Tongsamut vorasan
 
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นหลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
Tongsamut vorasan
 
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทหนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
Tongsamut vorasan
 
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
Tongsamut vorasan
 
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
Tongsamut vorasan
 

More from Tongsamut vorasan (20)

หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
 
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษFood reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
 
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
 
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
 
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
 
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติเจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
 
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตเจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
 
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมเพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
 
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
 
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
 
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
 
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
 
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
 
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
 
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกากำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
 
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
 
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นหลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
 
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทหนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
 
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
 
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
 

พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์

  • 1. พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพทพระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) (ชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑/ยุติ)
  • 2. พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท© พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)ISBN 974-575-029-8พิมพครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๒๒ ๑,๕๐๐ เลม– งานพระราชทานเพลิงศพ พระครูปลัดสมัย กิตติทตฺโต เจาอาวาสวัดพระพิเรนทร ฺพิมพครั้งที่ ๒ (เพิ่มศัพทและปรับปรุง) พ.ศ. ๒๕๒๗ ๙,๔๐๐ เลมพิมพครั้งที่ ๓ (เพิ่มภาคผนวก) พ.ศ. ๒๕๒๘ ๕,๐๐๐ เลม– พิมพถวายมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย โดย “ทุนพิมพพจนานุกรมพุทธศาสน”พิมพครั้งที่ ๔–๙ พ.ศ. ๒๕๓๑–๒๕๔๓ ๓๑,๕๐๐ เลมพิมพครั้งที่ ๑๐ พ.ศ. ๒๕๔๖ (จัดเรียงพิมพใหมดวยระบบคอมพิวเตอร) ขนาดตัวอักษรธรรมดา ๕,๐๐๐ เลม ขนาดตัวอักษรใหญ ๕,๐๐๐ เลมพิมพครั้งที่ ๑๑, ๑๒ - กรกฎาคม - พฤศจิกายน ๒๕๕๑ (ชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑) ๓๐,๖๐๐ เลมพิมพครั้งที่ ๑๓, ๑๔ - กันยายน – ธันวาคม ๒๕๕๒ (ชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑/เสริม) ๘,๐๐๐ เลมพิมพครั้งที่ ๑๕ - ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๕๓ (ชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑/ยุติ)พิมพครั้งที่ ๑๘ - เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ (ชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑/ยุติ)– มูลนิธิธรรมทานกุศลจิต พิมพแจกมอบเปนธรรมทาน ๑,๐๐๐ เลมพิมพท่ี
  • 3. อนุโมทนา ดร.ชัยยุทธ ปลนธนโอวาท ประธานมูลนิธธรรมทานกุศลจิต ในนามของ ั ิมูลนิธธรรมทานกุศลจิต ไดแจงบุญเจตนาทีจะจัดพิมพหนังสือ พจนานุกรม ิ ่พุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท และ พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม เปนธรรมทาน เพื่อเกื้อกูลแกผูที่กาลังศึกษาคนควาพุทธธรรม ซึ่งมัก ํตองการมีหนังสือจําพวกพจนานุกรมธรรมะเปนทีปรึกษา โดยจะไดมอบถวาย ่แกโรงเรียนพระปริยัติธรรม ตามพระอารามหลวง และวัดตางๆ ทั่วประเทศตลอดจนองคกร หนวยงาน และผูสนใจทัวไป  ่ ขออนุโมทนาธรรมทานบุญกิริยาอันเกิดจากน้ําใจใฝธรรม และความมีไมตรีจิตตอญาติมิตรและประชาชน โดยมุงหวังใหเกิดประโยชนสุขที่เปนแกนสารแกชีวิตและสังคม ขอกุศลจริยาเพื่อประโยชนทางการศึกษาในแนวแหงไตรสิกขานี้ จงเปนปจจัยแหงความเจริญแพรหลายของพระสัทธรรม เพื่อความเกษมศานตแหงมหาชน ตลอดกาลยาวนานสืบไป พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๕๕
  • 4. บันทึกนํา - พิมพครั้งที่ ๑๑ (ฉบับ “ชําระเพิ่มเติม ชวงที่ ๑”) หนังสือนี้เกิดขึ้น ๒๙ ปมาแลว เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๒ เดิมทีนั้นมุงใหเปนงานสําหรับใชไปพลาง โดยพักงานพจนานุกรมเดิมที่เริ่มมาแต พ.ศ. ๒๕๐๖ ไวกอน (มีความเปนมาดังไดเลาไวตางหาก) และเปนงานเรงดวนเฉพาะหนา เพื่อเปนอนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพทานอาจารยพระครูปลัดสมัย กิตฺติทตฺโต อดีตเจาอาวาสวัดพระพิเรนทร ทําไวเพียงเปนขอมูลพื้นฐาน สําหรับผูเรียนนักธรรม และผูแรกศึกษา จึงตั้งชื่อวาพจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับครู นักเรียน นักธรรม พรอมกับหวังวาจะหาโอกาสปรับปรุงและเพิ่มเติมตอไป บัดนี้ งานพจนานุกรมเดิมที่เริ่มแตป ๒๕๐๖ ซึ่งพักไว ไดกลายเปนพับไปแลว สวน พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท นี้ (เปลี่ยนเปนชื่อปจจุบันเมื่อพิมพครั้งที่ ๒ ใน พ.ศ.๒๕๒๗ เพื่อเขาชุดกับพจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม ที่ไดเกิดขึ้นกอนตั้งแต พ.ศ.๒๕๑๘) ยังเปนเพียงขอมูลพื้นฐานอยูอยางเดิม จนกระทังตนปทแลว เดือนมกราคม พ.ศ.๒๕๕๐ ผานเวลามา ๒๘ ป บังเอิญผูเ รียบเรียงเกิดมีโรค  ่ ี่แทรกที่คอนขางยืดเยื้อ ก็เลยไดมีเวลาและโอกาสหันไปรื้อฟนงานเพิ่มเติมพจนานุกรมนี้ แตกระนั้น ก็กลายเปนงานยืดเยื้อ มีงานอื่นมาแยงเวลาไปเสียมาก ถึงขณะนี้ ๑ ปครึ่ง จึงยุติที่จะพิมพเผยแพรไปคราวหนึ่งกอน งานปรับปรุงและเพิ่มเติมนี้ ในที่นี้ เรียกวา การชําระ-เพิ่มเติม เปนงานใหญ ยากจะทําใหเต็มตามตองการ จึงไดแบงงานนั้นเปน ๓ ชวง ดังนี้ การชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑: แกไขปรับปรุงขอขาดตกบกพรองที่พบเฉพาะหนา โดยเฉพาะสวนหลงตาทีบงเอิญพบ และเพิมเติมคําศัพทและคําอธิบายทีรบดวน หรือบังเอิญนึกได รวมทังศัพททบนทึกไวระหวางเวลาที่ ่ั ่ ่ี ้ ี่ ัผานมา (เลือกทําเฉพาะคําทีไมซบซอนนัก) และบางคําทีทานผูใชไดมนาใจแจงมาวาเจอคําผิดหรือคนหาไมพบ ่ ั ่  ี ้ํ การชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๒: อาน-ตรวจตลอดเลม เพื่อจะไดมองเห็นคําพิมพผิด คําตก จุดและแงที่จะแกไข-ปรับปรุง-เพิ่มเติมทั่วทั้งหมด พรอมทั้งจัดปรับคําอธิบายศัพททั้งของเดิมและสวนที่เพิ่มเติม ใหเขามาตรฐานเดียวกัน ทั้งในแงการแสดงความหมาย วิธีอธิบาย และอัตราสวนความยาวที่สัมพันธกับความสําคัญของศัพทนั้นๆ การชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๓: มุงที่การจัดระบบ เพื่อใหสม่ําเสมอ กลมกลืน เปนแบบแผนอันเดียวกันและทั่วกัน เชน มีคาอาน บอกที่มาในคัมภีร แสดงคําเดิมในภาษาบาลีและสันสกฤต และถาเปนไปได ใหคํา ํแปลภาษาอังกฤษของศัพทตั้งหรือหัวศัพท พรอมทั้งแผนที่และภาพประกอบ บัดนี้ ถือวาเสร็จงาน ชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑ เนื้อหนังสือขยายจากเดิมเพิ่มขึ้น ๒๐๔ หนา (จาก ๓๗๖หนา เปน ๕๘๐ หนา) มีศัพทที่ปรับแกเพิ่มเติมประมาณ ๑,๑๐๐ คํา แตพรอมกับที่มีศัพทและคําอธิบายเพิ่มขึ้นเปนอันมาก ก็เกิดความไมสมดุลขึ้น เพราะวา ในขณะที่ศัพทเพิ่มใหม และศัพทที่ปรับปรุง (เชน ปริตร, ภาณยักษ, มานะ) มีคําอธิบายยืดยาว ดังจะเปนสารานุกรม แตคําเกาที่มีอยูเดิมสวนใหญมีคําอธิบายสั้นนิดเดียว ทั้งนี้ ขอใหถือวาคงใชตอไปพลางกอน และใหความเรียบรอยราบรื่นเปนเรื่องของการชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๒ และ ชวงที่ ๓ ที่อาจจะมีขางหนา พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๑
  • 5. บันทึกเสริม พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท ที่ ชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑ ไดพิมพเสร็จออกมาเผยแพรเมื่อเดือน มิ.ย. - ก.ค. ๒๕๕๑ เวลาผานไปรวดเร็ว ถึงบัดนี้ปเศษแลว ระหวางนี้ บางทานผูใฝศึกษา มีฉันทะแรงกลา พรอมดวยความมีน้ําใจเกื้อหนุน ไดตั้งใจอานตลอดเลมโดยละเอียด และเก็บรวมคําผิดคลาดเคลื่อน ตก และเกิน เปนตน แลวสงมาให ฝายทานที่ขออนุญาตพิมพรายลาสุด เมื่อทราบเรื่องนี้ ก็อยากจะพิมพฉบับที่ไดแกไขขอผิดเหลานั้นแลว จึงขอรองและเรงมา แตทางดานผูเรียบเรียงหนังสือนี้เองนอกจากงานอื่นบีบรัดแลว ก็อยูในระยะอาพาธขั้นรุนแรงตอเนื่อง เรื่องจึงยืดเยื้อเรื่อยมา แตในที่สุด เมื่อวานนี้เอง ไดโอกาสทํางานนี้ จึงยกตนฉบับพจนานุกรมขึ้นมาแกไขจนเสร็จสิ้นไปในวันเดียว และวันนี้จง ึเตรียมฝากสงตนฉบับนั้นใหแกทานที่ขอพิมพ แลวแตจะไปดําเนินการกันเองใหเกิดประโยชนตอไป ทานทีสงบัญชีคาควรแกมาให ทีไดใชงานเมือวานนี้ มี ๓ ทาน เรียงตามลําดับเวลาที่บัญชีมาถึง คือ ่ ํ ่ ่พระมหานิยม สีลสํวโร แหงมหาจุฬาอาศรม คุณพันธุรพี นพรัมภา และคุณจิรประภา เดชะอําไพ (สงผานทางพระครูปลัดสุวฒนพรหมคุณ พระการุณย กุสลนนฺโท และคุณพนิตา อังจันทรเพ็ญ ตามลําดับ) ั ตามบัญชีของพระมหานิยม สีลสํวโร ซึ่งมีทั้งแกคําผิด ตัดคําเกิน ปรับคําเดียวกันในตางที่ใหตรงกัน เปนตน นับได ๕๕ แหง เห็นไดวาทานทํางานดวยความใสใจและละเอียดลออมาก นอกจากนั้น ในฐานะที่เปนพระเปรียญผูมีทั้งฐานและประสบการณดานปริยัติ ยังมีขอเสนอหลายอยางที่เปนประโยชนเชน เสนอเพิ่มคํา (เพื่อเปนศัพทตั้ง) มา ๑๗ คํา และขอใหใสคําแปลไทยสําหรับขอความบาลีบางแหง(เพื่อใหผูคนควาที่ไมรูบาลีสามารถเขาใจไดดวย) แตเรื่องนี้ ดังที่บอกกลาวไวแลว จะตองรอไวทําในการ“ชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๒” (คราวนี้ตองใหจํานวนหนาคงอยูเทาเดิม) บัญชีของคุณพันธุรพี นพรัมภา มีคําที่ไดแก ซึ่งไมซ้ํากับของพระมหานิยม สีลสํวโร นับได ๓๕ แหงกับการเวนวรรคหลังตัวเลข และหลัง พ.ศ. หลัง ค.ศ. อีก ๓๐ แหง พอมาถึงบัญชีของคุณจิรประภา เดชะอําไพ ปรากฏวา คําผิดที่พบแทบทั้งหมดซ้ํากับ ๒ บัญชีแรกสวนที่ไมซ้ํา ก็ไดแกไป แตไดประโยชนมากที่ทําใหมั่นใจวานาจะแทบไมมีคําผิดเหลืออยูในพจนานุกรมนี้ ขออนุโมทนาเจาของบัญชีขอพึงแก ทั้ง ๓ ทานไว ณ ที่นี้ เปนอยางยิ่ง (ขอพึงแกที่ผูเรียบเรียงเองบังเอิญพบ และที่ไดรับคําบอกแจงแหลงอื่นบางแหง ก็ไดถือโอกาสปรับแกเติมไปดวยอีกเกิน ๒๐ แหง) ดังไดเลาไวในบันทึกนําครั้งที่แลววา ผูเรียบเรียงเองยังไมไดอาน-ตรวจตลอดเลมพจนานุกรมนี้เลย และไดจดเอางานสวนนีรวมไวในการ “ชําระ-เพิมเติม ชวงที่ ๒” ทีจะมีภายหนา แตครันไดบญชีคาพึงแกจาก ั ้ ่ ่ ้ ั ํสามทานนีแลว ก็คดวาตนคงไมจาเปนตองทํางานนีอก สามารถตัดงานอาน-ตรวจตลอดเลมนันออกไปได ้ ิ ํ ้ี ้เลย และมีความเปนไปไดมากวา งาน พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท อาจจะตองตัดตอนจบลงเพียงในระดับนี้ เพราะมีความเปนไปไดนอยอยางยิงทีผเู รียบเรียงจะมีโอกาสเหลือพอทีจะทํางานนั้น  ่ ่ ่ หวังวา งานเสริมการ “ชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑” นี้ คงจะชวยใหผูศึกษาคนควาไดรับประโยชนจากพจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท ใกลเต็มคุณคายิ่งขึ้น พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๙ กันยายน ๒๕๕๒
  • 6. ความเปนมา ในการ “ชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑”: ม.ค. ๒๕๕๐ - มิ.ย. ๒๕๕๑ก) งานในโครงการ ชะงัก-หายไป ยอนหลังไปถึง พ.ศ.๒๕๐๖ เมื่อหนังสือ Student’s Thai–Pali–English Dictionary ofBuddhist Terms เลมเล็กๆ เสร็จแลว ผูจัดทําหนังสือนี้ ก็ไดเริ่มงานพจนานุกรมพระพุทธศาสนางานคางที่ ๑: เริ่มแรก คิดจะทําพจนานุกรมพระพุทธศาสนาเชิงสารานุกรม ฉบับที่คอนขางสมบูรณเลยทีเดียว มีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยเขียนแยกเปน ๒ คอลัมน ซาย-พากยไทยและ ขวา-พากยอังกฤษ เริ่ม ๒๙ ก.ย. ๒๕๐๖ ถึง ๑๒ พ.ย. ๒๕๐๗ จบอักษร “บ” (ยังคางชําระบางคํา) ตองเขารับงานที่มหาจุฬาฯ แลวยุงกับงานที่นั่น จนงานพจนานุกรมชะงักแลวหยุดไปเลยงานคางที่ ๒: เมื่อเห็นวายากจะมีโอกาสทํางานคางนั้นตอ จึงคิดใหมวาจะทําฉบับที่มีเพียงพากยไทย อยางยนยอ โดยมีภาษาอังกฤษเฉพาะคําแปลศัพทใสวงเล็บหอยทายไว แลวเริ่มงานใน พ.ศ.---- แตงานที่มหาจุฬาฯ มาก พอทําจบ “ต” ก็ตองหยุด (ตนฉบับงานชุดนี้ทั้งหมดหายไปแลว)  (ระหวางนั้น ในป ๒๕๑๕ โดยคํานิมนตของทานเจาคุณเทพกิตติโสภณ ครั้งยังเปนพระมหาสมบูรณ สมฺปุณฺโณ ตกลงทําประมวลหมวดธรรมออกมาใชกันไปพลางกอน ทําใหเกิดพจนานุกรมพุทธศาสตร [ตอมาเติมคําวา ประมวลธรรม] เสร็จเปนเลม ใน พ.ศ. ๒๕๑๘)งานคางที่ ๓: ใน พ.ศ.๒๕๑๙ ไปเปนวิทยากรที่ Swarthmore College เมื่อกลับมาในป ๒๕๒๑ตังใจหยุดงานอืนทังหมดเพือจัดทําสารานุกรมพุทธศาสนา โดยเริมตนใหม ทําเฉพาะพากยภาษาไทย มี ้ ่ ้ ่ ่ภาษาอังกฤษเพียงคําแปลศัพทในวงเล็บหอยทาย พอใกลสนป ๒๕๒๑ ก็จบ “ก” รวมได ๑๐๕ หนา ิ้กระดาษพิมพดีด และขึ้น “ข” ไปไดเล็กนอย แลวหันไปทําคําเกี่ยวกับประวัติเสร็จไปอีก ๘๐ หนา ตนป ๒๕๒๒ นั้นเอง ศาสตราจารย ดร. ระวี ภาวิไล จะพิมพ พุทธธรรม ไดขอเวลาทานเพื่อเขียนเพิ่มเติม แลวการไปบรรยายที่ Harvard University มาแทรก กวาจะเติมและพิมพเสร็จ สิ้นเวลา ๓ ป งานทําพจนานุกรม-สารานุกรมเปนอันหยุดระงับไป จากนั้น งานดานอื่นเพิ่มขึ้นตลอดมาข) งานใหมนอกสาย แตเสร็จ: พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท๑. ยุคพิมพระบบเกา ตนป ๒๕๒๒ นั้นแหละ เมื่อเห็นวาคงไมมีโอกาสฟนงานที่คาง ก็นึกถึงหนังสือ ศัพทหลักสูตรภาษาไทย (สําหรับวิชาใหมในหลักสูตรนักธรรม) ที่มหาจุฬาฯ พิมพออกมาใน พ.ศ.๒๕๐๓ ซึ่งแทบจะยังไมทันไดเผยแพร วิชาใหมนั้นก็ถูกยกเลิกเสีย จึงพบหนังสือชุดนั้นเหลือคางถูกทอดทิ้งอยูมากมาย เห็นวา มีขอมูลพอจะทําเปนพจนานุกรมเบื้องตนได อยางนอยหัวศัพทที่มีอยูก็จะทุนแรงทุนเวลาในการเก็บศัพทไปไดมาก จึงตกลงทํางานใหมชิ้นที่งายและรวบรัด โดยนําหนังสือชุดนัน ้ทัง ๓ เลม รวม ๙ ภาค (ศัพท น.ธ.ตรี–โท–เอก ชันละ ๓ วิชา จึงมีชนละ ๓ ภาค) มาจัดเรียงเปน ้ ้ ั้
  • 7. งพจนานุกรมเบืองตนเลมเดียว พิมพออกมากอน ในงานพระราชทานเพลิงศพทานอาจารยพระครูปลัด ้สมัย กิตตทตฺโต (๑๙ พ.ค. ๒๕๒๒) เรียกชือวา พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับครู นักเรียน นักธรรม ฺิ ่(เปลียนเปนชือปจจุบนวา พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท เมือพิมพครังที่ ๒ พ.ศ.๒๕๒๗) ่ ่ ั ่ ้ หนังสือใหมเลมนีไมเกียวของกับงานทีทามาแลวแตอยางใด งานเกาทีทาคางไวทงหมดถูกพัก ้ ่ ่ํ ่ํ ั้เก็บเฉยไว เพราะในกรณีนี้ มุงสําหรับผูเ รียนขันตน โดยเฉพาะนักเรียนนักธรรม ตองการเพียงศัพท  ้พื้นๆ และความหมายสั้นๆ งายๆ จึงคงขอมูลสวนใหญไวตามหนังสือศัพทหลักสูตรภาษาไทยนั้นโดยแกไขปรับปรุงอธิบายเพิ่มหรือเขียนขยายบางเพียงบางคํา และเติมศัพทนักธรรมที่ตกหลนและศัพททั่วไปอันควรรูที่ยังไมมี เขามาบาง รวมแลว เปนขอมูลของเกากับของใหมราวครึ่งตอครึ่ง หลังจากพิมพออกมาแลว พจนานุกรมเลมนี้ก็มีชะตากรรมที่ข้ึนตอระบบการพิมพยุคนั้นโดยเฉพาะตนแบบซึ่งอยูในแผนกระดาษที่ตายตัว แทบปรับเปลี่ยนอะไรไมไดเลย การพิมพครั้งตอๆ มา ตองพิมพซ้ําตามตนแบบเดิม ถาจําเปนตองแกไข ก็แกไดเพียง ๔–๕ บรรทัด ยิ่งตอมาแผนกระดาษตนแบบก็ผุเปอย โดยเฉพาะพจนานุกรมนี้ ตนแบบที่ทําขึ้นใหมในการพิมพครั้งที่ ๒ไดสญหายไปตั้งแตพิมพเสร็จ การพิมพตอนั้นมาตองใชวิธีถายภาพจากหนังสือที่พิมพครั้งกอนๆ ู  แตกระนั้น พจนานุกรมนี้ยังมีศัพทและคําอธิบายที่จะตองเพิ่มอีกมาก เมื่อแกไขของเดิมไมได พอถึงป ๒๕๒๘ จะพิมพครั้งที่ ๓ จึงใสสวนเพิ่มเขามาตางหากตอทายเลมเปน “ภาคผนวก” (มีศัพทต้งหรือหัวศัพทเพิ่ม ๑๒๔ ศัพท รวม ๒๔ หนา) จากนั้นมา ก็ไดแคพิมพซ้ําเดิมอยางเดียว ั๒. เขาสูยุคขอมูลคอมพิวเตอร เมือเวลาผานมาถึงยุคคอมพิวเตอร ก็มองเห็นทางวาจะแกไข–ปรับปรุง–เพิมเติมพจนานุกรม ่ ่นีได แตกตองรอจุดตังตนใหม คือพิมพขอมูลพจนานุกรมในเลมหนังสือ ลงในคอมพิวเตอร ้ ็ ้  แมจะตองใชเวลาและแรงงานมาก ก็มีทานที่สมัครใจเสียสละ ไดพิมพขอมูลหนังสือพจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท ลงในคอมพิวเตอร โดยมิไดนดหมายกัน เทาทีทราบ ๔ ชุด ั ่เริมดวยพระมหาเจิม สุวโจ แหงมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ทีทางานอยูหลายปจนเตรียมขอมูล ่ ่ํ เสร็จแลวมอบมาใหเมื่อวันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๔๑ แลวก็มีชุดของผูอื่นตามมาอีก ทังทีมขอมูลในคอมพิวเตอรแลว ผูจดทําเองก็ไมมเี วลาตรวจ เวลาผานมาจนกระทัง รศ. ดร. ้ ่ี ั ่สมศีล ฌานวังศะ ราชบัณฑิต (มีบตรหญิง–ชาย คือ น.ส.ภาวนา ตังแตยงเปน ด.ญ.ภาวนา ฌานวังศะ ุ ้ ัและนองชาย คือ นายปญญา ตังแตยงเปน ด.ช.ปญญา ฌานวังศะ เปนผูชวยพิมพขอมูล) นอกจาก ้ ั  พิมพขอมูลหนังสือลงในคอมพิวเตอรแลว ยังชวยรับภาระในการพิสูจนอักษร (ตรวจปรูฟ) ตลอดเลม นอกจากตรวจเองแลว ก็ยังหาพระชวยตรวจทานอีก ใหแนใจวาขอมูลใหมในระบบคอมพิวเตอรนี้ตรงกับขอมูลเดิมในเลมหนังสือ แลวในที่สุด พจนานุกรมนี้ก็พิมพเสร็จออกมาใน พ.ศ. ๒๕๔๖ เนื่องจากผูจัดทําเองยังไมมเี วลาแมแตจะตรวจปรูฟ พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท พิมพครั้งที่ ๑๐ ที่เสร็จออกมาใน พ.ศ. ๒๕๔๖ ซึ่งเปนครั้งแรกที่ใชขอมูลในระบบคอมพิวเตอรจึงมีหลักการทั่วไปวา ใหคงเนือหาไวอยางเดิมตามฉบับเรียงพิมพเกา ยังไมปรับปรุงหรือเพิมเติม ้ ่
  • 8. จค) งานเริ่มเขาทาง: ชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑๑. ผานไป ๒๘ ป จึงถึงทีชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑ บัดนี้ เวลาผานไป ๒๙ ปแลว นับแตพมพ พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท ออก ิมาครั้งแรก ใน พ.ศ. ๒๕๒๒ ขอมูลสวนใหญในพจนานุกรมนั้น ยังเปนขอมูลพื้นฐานที่ตั้งใจวาจะชําระ-เพิ่มเติม แตก็ขัดของตลอดมา ในชวง ๒๔ ปแรก ติดขัดดวยระบบการพิมพไมเอือแลวความบีบคันดานเวลาก็ซาเขาไป สวน ้ ้ ้ํในชวง ๔ ปทชดใกลนี้ ทังทีมขอมูลสะดวกใชอยูในคอมพิวเตอร ก็ตดขัดดวยขาดเวลาและโอกาส ี่ ิ ้ ่ี  ิ จนมาถึงขึนปใหม ๒๕๕๐ นี้ เมือหาโอกาสปลีกตัวจากวัด พอดีโรคทางเดินหายใจกําเริบขึนอีก ้ ่ ้คออักเสบลงไปถึงสายเสียง พูดยากลําบาก ตอดวยกลามเนือยึดสายเสียงอักเสบ โรคยืดเยือเกิน ๒ เดือน ้ ้ไดไปพักรักษาตัวในชนบทนานหนอย เปนโอกาสใหไดเริมงานชําระ-เพิมเติมพจนานุกรม แตในขันนี้ ่ ่ ้เรงทําเฉพาะสวนรีบดวนและสวนทีพบเฉพาะหนาใหเสร็จไปชันหนึงกอน เรียกวา “งานชําระ-เพิม ่ ้ ่ ่เติม ชวงที่ ๑” คิดวาลุลวงไปไดทหนึง คงจะปดงานจัดใหพรอมเพือเขาโรงพิมพไดทนกอนโรคจะหาย  ี ่ ่ ัแตแลวก็ไมเปนไปอยางนัน จึงมีเรืองตองเลาตออีก ้ ่๒. อะไรมากับ และจะมาตาม การชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑ งานชําระ-เพิ่มเติมนี้ คือการทําให พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท มีคุณสมบัติเต็มตามความมุงหมาย เพราะหนังสือที่พิมพเรื่อยมานั้น จัดทําขึ้นอยางรวบรัดเพื่อพอใชไปพลางกอน เพียงเปนขอมูลพื้นฐานอยางที่กลาวแลว (มีบางบางคําที่มีโอกาสขยายความไปกอนแลว) เนื่องจากตระหนักวา จะไมมีโอกาสทํางานชําระ-เพิ่มเติมอยางตอเนื่องใหเสร็จสิ้นไปในคราวเดียว จึงกะวาจะแบงงานนี้เปน ๓ ชวง สําหรับชวงที่ ๑ คิดวาเพียงจะแกไขปรับปรุงขอขาดตกบกพรองที่พบเฉพาะหนา โดยเฉพาะสวนหลงตาที่บังเอิญพบ และเพิ่มเติมคําศัพทและคําอธิบายที่รีบดวน หรือบังเอิญนึกได เสร็จแลวก็พิมพออกไปทีหนึ่งกอน งานปรับปรุงนอกจากนั้น เอาไวทําในชวงที่ ๒ และ ชวงที่ ๓ อยางไรก็ดี เมือตกลงยุตงานชวงที่ ๑ วาพอเทานีกอน (๑๖ มี.ค. ๒๕๕๐) พอดีไดอานจดหมาย ่ ิ ้ ของพระมหานิยม สีลสํวโร (เสนารินทร) ที่สงมาตั้งแต ๑๘ พ.ย. ๒๕๔๗ ก็มองเห็นวา ทานแจงคําผิด-ตก ที่สําคัญ แมจะมากแหง ก็ใชเวลาแกไขไมมาก จึงทําใหเสร็จไปดวยในคราวนี้ รวมเพิ่มที่แกไขอีกราว ๕๐ แหง อีกทั้งไดเห็นชัดวา ดวยฉันทะของทานเอง พระมหานิยมตรวจพจนานุกรม โดยเทียบกับเลมเดิมที่เปนตนฉบับไปดวยนี้ ทานใชเวลาอานจริงจังละเอียด จนทําใหคิดวา ในการชําระ-เพิ่มเติมชวงที่ ๒ ที่จะอานอยางตรวจปรูฟตลอดดวยนั้น งานสวนนี้คงเบาลงมาก จะไดมุงไปที่งานเพิ่มเติม-ปรับปรุงทัวไป จึงขออนุโมทนาพระมหานิยม สีลสํวโร ไว ณ ทีนี้ ่ ่ พอจะปดงาน หันมาดูรายการศัพททพระธรรมรักษาแจงมาตังแต ๑๔ ธ.ค.๒๕๒๘ จนถึง ก.ค. ี่ ้๒๕๒๙ วาไมพบในพจนานุกรมฯ รวมได ๒๘ คํา เปนศัพทในอรรถกถาชาดกแทบทังนัน เห็นวานาจะทํา ้ ้ใหเสร็จไปดวยเลย จึงตัดคํานอกขอบเขตออกไป ๖ ศัพท (๑๙ หัวศัพทททาเพิมตามเสนอของพระ ี่ ํ ่
  • 9. ฉธรรมรักษา คือ จุลกฐิน ฉาตกภัย ธุวภัต นิพทธทาน บุพจริยา ประชุมชาดก ปาฏิหาริยปกษ พาหิรทาน ัพาหิรภัณฑ วิตถารนัย สัตตสดกมหาทาน สัมมานะ สาธุกฬา สุคโตวาท อธิคมธรรม อภิสมพุทธคาถา ี ัอสทิสทาน อุปทวะ อุยยานบาล, อุทยานบาล) แลวแถมเองอีกประมาณ ๒๐ คํา ใชเวลาคน-เขียนจน เสร็จอีก ๔ วัน (ของพระมหานิยมราว ๕๐ ศัพท ทานตรวจใชเวลามากมาย แตเปนการแกคาทีพมพ ํ ่ ิผิด-ตก จึงใชเวลาเพียง ๖.๔๐ ชม. ก็เสร็จ สวนของพระธรรมรักษา แจงคําทีไมเจอ แมจะนอย ทําแค ่๑๙ หัวศัพท แตตองเขียนเพิมใหม จึงใชเวลามาก) ขออนุโมทนาพระธรรมรักษาดวย  ่ มีจดหนึงซึงการแกปญหาคอนขางซับซอน คือ คํา “อสิตดาบส” ทีไดรบความเอือเฟอจาก รอง ุ ่ ่  ่ ั ้ ศาสตราจารย ดร.ภัทรพร สิรกาญจน แจงใหทราบวา ทานทีทางานวิชาการ ทังฝายผูเ สนองาน และ ิ ่ํ ้ฝายผูพจารณางาน ประสบความติดของ เพราะหลักฐานชันตนกับเอกสารอางอิง มีขอมูลขัดแยงกัน  ิ ้ ใบแจงของ ดร.ภัทรพร สิรกาญจน ชวยทําใหเอะใจและไดตรวจสอบขอมูล ซึงไดแกปญหาดวยวิธี ิ ่ บอกขอมูลไปตามทีเ่ ปนของแหลงนันๆ โดยไมวนจฉัย ขออนุโมทนาทานผูแจง เปนอยางยิง ้ ิิ  ่ เมืองานปรับแกเพิมเติมดําเนินมาถึงวันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๕๐ มีศัพทตั้งที่เพิ่มขึ้นและที่มีความ ่ ่เปลี่ยนแปลงราว ๓๑๗ หัวศัพท (ไมนับการแกคําผิด-ตก ที่พระมหานิพนธชวยแจงมา ราว ๕๐ แหง)หนังสือหนาเพิมขึน ๔๘ หนา (จากเดิม ๓๗๖ หนา เปน ๔๒๔ หนา) คิดวาจะยุตเิ ทานีและสงโรงพิมพ ่ ้ ้ อยางไรก็ดี เมือเหลือบไปดูในหนังสือทีพมพรนเกา พ.ศ.๒๕๒๗ ซึงใชเปนทีทยอยบันทึกศัพท ่ ่ ิ ุ ่ ่ทีนกขึนมาวาควรเพิมหรือควรปรับปรุง ก็ไดเห็นวาบางศัพทนาจะเติมลงไปในคราวนีดวย ก็เลยรอเพิม ่ึ ้ ่  ้ ่อีกหนอย พอทําคํานีเ้ สร็จ เห็นวาคํานันก็นาทํา ก็เติมอีกหนอย แลวมีงานอืนทีเ่ รงแทรกเขามาเปน ้  ่ระยะๆ รวมแลวงานอืนแทรกราว ๘ เดือน และมีเวลาทํายืดมาราว ๖ เดือน ทําไปทํามาก็ยตลงในบัดนี้ ่ ุิ การแกไขและเพิมเติมทังหมดนี้ เปนการทําเปนจุดๆ มุงจําเพาะไปทีจดนันๆ จึงยังไมไดตรวจดู ่ ้  ุ่ ้ทัวตลอดทังเลม การแกคาทีพมพผดและการเพิมศัพทใหมจานวนมาก เปนเรืองทีมาจากความบังเอิญ ่ ้ ํ ่ ิ ิ ่ ํ ่ ่พบบังเอิญเห็น เชน จะดูคา “สรณคมน” วาควรอธิบายเพิมเติมหรือไม พอดีเหลือบไปเห็นคํา ํ ่“สรภัญญะ” ซึงอยูใกลๆ ทังทีไมไดนกไววาจะทําอะไรกับคํานีเ้ ลย แตพอเห็นวาไดใหความหมายไวสน ่  ้ ่ ึ  ั้นัก ก็เลยเขียนอธิบายใหมอยางคอนขางยาว, จะอธิบายคําวา “ภาณวาร” ใหชดขึน ก็พลอยนึกถึงคําวา ั ้“ภาณยักษ” ดวย ทังทีเ่ ดิมไมมคานี้ และไมไดตงใจมาแตเดิม ก็เลยบรรจุ “ภาณยักษ” เขามาดวย และ ้ ีํ ั้อธิบายเสียยาว, คําวา “ถวายพรพระ” “คาถาพาหุง” “ชัยมงคลคาถา” ฯลฯ ก็เขามาโดยบังเอิญทํานองนี้ แมคาทีพมพผด ซึงยังไมไดตงใจจะตรวจปรูฟ ก็พบโดยบังเอิญและแกไปมากมาย แมกระทัง ํ ่ ิ ิ ่ ั้  ่เมือหนังสือใกลจะเสร็จ เชน จะเติมขอความ ๑ บรรทัดวา “ศาสนวงศ ดู สาสนวงส” ตอนนันจะตอง ่ ้รักษาใหขอความบรรทัดแรกและบรรทัดสุดทายของหนานันคงอยูทเี่ ดิม จึงตองลดบรรทัดในหนานัน  ้  ้ลง ๑ บรรทัด ทําใหตองอานหาคําศัพทในหนานันซึงมีคาอธิบายทีพอจะบีบใหบรรทัดนอยลง ก็เลย  ้ ่ ํ ่เจอโดยบังเอิญวา ทีคา “ศีล ๘” มีขอความวา “จะรักษาประจําใจก็ได” เกิดความสงสัยวา ไมนาจะมี ่ํ  “ใจ” จึงเปดหนังสือเกาสมัยปกสีสมดู พบวามีแต “ประจํา” จึงไดแกโดยตัด “ใจ” ออกไป หรืออยาง เมือตรวจดูความเรียบรอยของหัวศัพททขนไปปรากฏบนหัวกระดาษ ก็ทาใหบงเอิญพบหัวศัพททพมพ ่ ี่ ึ้ ํ ั ี่ ิผิด “สปทาจาริกงคะ” (สปทานจาริกงคะ) และ “อปโลกนธรรม” (อปโลกนกรรม) จึงไดแกใหถกตอง ั ั ู
  • 10. ช๓. การชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑ ทําใหมีความเปลี่ยนแปลงอะไร การชําระ-เพิ่มเติมชวงที่ ๑ นี้ ถือวายุตลงในวันที่ ๑๙ มิถนายน ๒๕๕๑ ไดทําให ิ ุพจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท มีศัพทที่เพิ่มขึ้นและที่มีความเปลี่ยนแปลงรวมประมาณ ๑,๑๐๐ หัวศัพท กลายเปนเพิมอีก ๒๐๔ หนา (จากเดิม ๓๗๖ หนา เปน ๕๘๐ หนา) ่ หัวศัพท ที่มีก ารปรับ แก และที่เ พิ่ม ใหมใ นระยะ ๒ เดือ นแรก มี ตัวอยาง ดังนี้กัป, กัลป กิริยา กิเลสพันหา คงคา คณาจารย เครื่องรางชุมนุมเทวดา ตัณหา ๑๐๘ ทักขิณาบถ ทีฆนขสูตร ธรรมราชา ธัญชาตินัมมทา บริขาร บุพการ บุพนิมตแหงมรรค ปกตัตตะ ิ ปปญจะปริตร, ปริตต ปญญา ๓ พรหมจรรย มหานที ๕ มหายาน มาตรามานะ ยถากรรม ยมุนา โยนก โวการ (เชน จตุโวการ)  สมานฉันทสรภู สังคายนา สัจกิริยา สัจจาธิฏฐาน สีหนาท สุตะหีนยาน อจิรวดี อธิษฐาน อธิษฐานธรรม อภิสมพุทธคาถา ั อโศกมหาราชอาภัพ อายุ อายุสังขาร อาสภิวาจา อุตราบถ อุทยาน หัวศัพท ที่มีก ารปรับ แก และที่เ พิ่ม ใหมใ นระยะ ๑๔ เดือ นหลัง มี ตัวอยาง ดังนี้กรรมวาท กลาป คันธกุฎี คามวาสี คิหิวินัย จุณณิยบทจูฬมัชฌิมมหาศีล ฉันมื้อเดียว ชยมังคลัฏฐกคาถา ชวนะ ญาณ ๑๖ เดนตุลา ถวายพรพระ ธรรมทูต ธรรมสภา บังสุกุลตาย-เปน ปฏิกรรมปรมัตถธรรม ปานะ โปราณัฏฐกถา พุทธาวาส ภาณยักษ ยมกปาฏิหาริยรูปรูป, สุขมรูป วิถีจิต ุ วิปสสนูปกิเลส สมานฉันท สรณคมน สรภัญญะสังฆาวาส สารีริกธาตุ สุวรรณภูมิ สูกรมัททวะ อตัมมยตา อภิธัมมัตถสังคหะอรรถกถา อรัญวาสี อัชฏากาศ อากาศ อุปฏฐานศาลา  เอตทัคคะ การชําระ-เพิ่มเติมนี้ ทําให พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท มีลักษณะคืบเคลื่อนเขาไปใกลงานคางที่ ๓ ซึ่งไดหยุดลงเมื่อใกลสิ้นป ๒๕๒๑ เชน คํา “กัป, กัลป” ในการพิมพครั้งที่ ๑๐ พ.ศ. ๒๕๔๖ มีคาอธิบาย ๑๒ บรรทัด แตในฉบับชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑ นี้ ขยายเปน ํ๑๑๓ บรรทัด เมื่อนําไปเทียบกับฉบับงานคางที่ ๓ นั้น (ในการเขียนขยายคราวนี้ ไมไดหันไปดูงานคางนั้นเลย) ปรากฏวา คําอธิบายในฉบับชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑ นี้ ยังสั้นกวาเกาเกือบครึ่งหนึ่ง ถาตองการมองใหชัดวางานชําระ-เพิ่มเติมมีลักษณะอยางไร จะดูไดงายที่คําตัวอยางขางบนนั้น เฉพาะอยางยิ่งคําวา กัป, กัลป; กิเลสพันหา; เครื่องราง; ชาดก; ทักขิณาบถ; นัมมทา; บริขาร;ปริตร, ปริตต; ภาณวาร; มานะ; ยถากรรม; สรภัญญะ; สัจกิริยา; อธิษฐาน; อายุ บัดนี้ งานชําระ-เพิมเติม ชวงที่ ๑ ไดเสร็จสิ้นแลว โดยกําหนดเอาเองวาเพียงเทานี้ แตงาน ่ชําระ-เพิมเติม ชวงที่ ๒ และ ๓ ซึ่งรอขางหนา มีมากกวา ่ ขอทําความเขาใจรวมกันวา ตามที่คิดไว งานตรวจชําระ ๓ ชวง จะเปนดังนี้
  • 11. การชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑: แกไขปรับปรุงขอขาดตกบกพรองที่พบเฉพาะหนา โดยเฉพาะสวนหลงตาที่บังเอิญพบ และเพิ่มเติมคําศัพทและคําอธิบายที่รีบดวน หรือบังเอิญนึกได รวมทั้งศัพทท่บนทึกไวระหวางเวลาที่ผานมา (ไดเลือกทําแลวเฉพาะคําที่ไมซับซอนนัก) และบางคําที่ทานผู ีัใชหนังสือ ไดมน้ําใจแจงมาวาเจอคําผิดหรือคนหาไมพบ ี การชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๒: อาน-ตรวจตลอดเลม เพื่อจะไดมองเห็นคําพิมพผิด คําตกจุดและแงท่จะแกไข-ปรับปรุง-เพิ่มเติมทั่วทั้งหมด พรอมทั้งจัดปรับคําอธิบายศัพททั้งของเดิมและ ีสวนที่เพิ่มเติม ใหเขามาตรฐานเดียวกัน ทั้งในแงการแสดงความหมาย วิธีอธิบาย และอัตราสวนความยาวที่สัมพันธกับความสําคัญของศัพทนั้นๆ การชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๓: มุงที่การจัดระบบ เพื่อใหสม่ําเสมอ กลมกลืน เปนแบบแผนอันเดียวกันและทั่วกัน เชน มีคาอาน บอกที่มาในคัมภีร แสดงคําเดิมในภาษาบาลีและสันสกฤต ํและถาเปนไปได ใหคําแปลภาษาอังกฤษของศัพทตั้งหรือหัวศัพท พรอมทั้งแผนที่และภาพประกอบ งานชําระ-เพิมเติม ชวงที่ ๑ ไดเสร็จสิ้นลง โดยกําหนดเอาเองวาแคนี้กอน แตชวงที่ ๒ และ ่ ชวงที่ ๓ ไมอาจคาดหมายวาจะเสร็จเมื่อใด หากไมนิราศ-ไมไดโอกาสจากโรค ก็กลาวไดเพียงวาอยูในความตั้งใจที่จะทําตอไป พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๑
  • 12. คําปรารภ (ในการพิมพครั้งที่ ๑๐) เมื่อกลาวถึง พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท หลายทานนึกถึง พจนานุกรมพุทธศาสตรฉบับประมวลธรรม ดวย โดยเขาใจวาเปนหนังสือชุดที่มีสองเลมรวมกัน แตแทจริงเปนหนังสือที่เกิดขึ้นตางหากกัน ตางคราวตางวาระ และมีความเปนมาที่ทั้งตางหากจากกัน และตางแบบตางลักษณะกันก. ความเปนมา ชวงที่ ๑: งานสําเร็จ แตขยายไมได พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม เปนหนังสือที่คอยๆ กอตัวขึ้นทีละนอย เริ่มจากหนังสือStudent’s Thai–Pali–English Dictionary of Buddhist Terms เลมเล็กๆ ที่จัดทําเสร็จใน พ.ศ. ๒๕๐๖ตอแตนั้นก็ไดปรับปรุง–เพิ่มเติม–ขยายขนาดขึ้นเรื่อยๆ และไดขยายขอบเขตออกไปจนกลายเปนงานที่มีลักษณะเปนสารานุกรม เมื่อเวลาผานไปๆ ก็มองเห็นวางานทําสารานุกรมจะกินเวลายืดเยื้อยาวนานมาก ยิ่งมีงานอื่นแทรกเขามาบอยๆ ก็ยิ่งยากที่จะมองเห็นความจบสิ้น ในที่สุดจึงตกลงวาควรทําพจนานุกรมขนาดยอมๆ ขั้นพื้นฐานออกมากอน และไดรวบรวมคัดเลือกหมวดธรรมมาจัดทําคําอธิบายขึ้น ซึ่งไดบรรจบรวมกับหนังสือเลมเล็กเดิมที่สบมาแต พ.ศ. ๒๕๐๖ กลายเปนภาคหนึ่งๆ ใน ๓ ภาคของหนังสือที่รวมเปนเลมเดียวกันอันมีชื่อวา ืพจนานุกรมพุทธศาสตร เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๕ กาลลวงมาจนถึง พ.ศ. ๒๕๒๘ พจนานุกรมพุทธศาสตร ซึ่งพิมพครั้งที่ ๔ จึงมีช่อปจจุบันวา ืพจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม เพื่อใหเขาคูกับพจนานุกรมอีกเลมหนึ่งที่เปลี่ยนจากชื่อเดิมมาเปน พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท ถึงวาระนี้ พจนานุกรมสองเลมนี้จึงเสมือนเปนหนังสือที่รวมกันเปนชุดอันเดียว พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท ที่วานั้น เปนหนังสือที่เกิดขึ้นแบบทั้งเลมฉับพลันทันทีโดยแทรกตัวเขามาใน พ.ศ. ๒๕๒๒ ระหวางที่งานทําพจนานุกรมซึ่งขยายขอบเขตออกไปจนจะเปนสารานุกรมนั้น กําลังดําเนินอยู เนื่ อ งจากผูรวบรวมเรียบเรียงเห็ นว า งานทําสารานุก รม คงจะกินเวลายืดเยื้อไปอีกนาน และพจนานุกรมพุทธศาสตร ทีทาเสร็จไปแลว ก็มเี ฉพาะดานหลักธรรมซึงจัดเรียงตามลําดับหมวดธรรม ควรจะมี ่ํ ่พจนานุกรมเลมเล็กๆ งายๆ วาดวยพระพุทธศาสนาทั่วๆ ไป แบบเรียงตามลําดับอักษร ทีพอใชประโยชนพนๆ ่ ื้สําหรับผูเ ลาเรียนในขันตน โดยเฉพาะนักเรียนนักธรรม ออกมากอน ้ พรอมนั้นก็พอดีประจวบเหตุผลอีกอยางหนึ่งมาหนุน คือ ไดเห็นหนังสือ ศัพทหลักสูตรภาษาไทยสําหรับนักธรรม ชันตรี ชันโท และชันเอก ที่มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยจัดพิมพออกมาใน พ.ศ. ๒๕๐๓ ้ ้ ้เหลืออยูจํานวนมากมาย และดูเหมือนวาไมมีใครเอาใจใส หนังสือ ศัพทหลักสูตรภาษาไทย ชุดนั้น ทาง มจร. จัดพิมพขึ้นมาเพื่อสนองความตองการของนักเรียนนักธรรมที่จะตองสอบวิชาใหมซึ่งเพิ่มเขามาในหลักสูตร คือวิชาภาษาไทย แตแทบจะยังไมทันไดเผยแพรออกไป วิชาภาษาไทยนั้นก็ไดถูกยกเลิกเสีย หนังสือชุดนั้นจึงถูกทอดทิ้ง ไดมองเห็นวา หนังสือ ศัพทหลักสูตรภาษาไทย นัน ไมควรจะถูกทิงไปเสียเปลา ถานํามาจัดเรียงใหมในรูป ้ ้พจนานุกรม ก็จะใชประโยชนได อยางนอยศัพทตงหรือหัวศัพททมอยูกจะทุนแรงทุนเวลาในการเก็บศัพทเปนอันมาก ั้ ี่ ี  ็  
  • 13. โดยนัยนี้ ก็ไดนาหนังสือ ศัพทหลักสูตรภาษาไทย ชุดนันทัง ๙ ภาค (ศัพทสาหรับนักธรรมตรี–โท–เอก ํ ้ ้ ํชั้นละ ๓ วิชา จึงมีช้นละ ๓ ภาค พิมพรวมเปนชั้นละเลม) มาจัดเรียบเรียงเปนพจนานุกรมเลมเดียว ดังไดเลา ัไวแลวใน “แถลงการจัดทําหนังสือ ประกาศพระคุณ ขอบคุณ และอนุโมทนา (ในการพิมพครั้งที่ ๑)” ศัพทจํานวนมากทีเดียว ที่งายๆ พื้นๆ และตองการเพียงความหมายสั้นๆ หรือคําอธิบายเพียงเล็กนอย ไดคงไวตามเดิมบาง แกไขปรับปรุงบาง สวนศัพทที่ตองการคําอธิบายยาวๆ ก็เขียนขยาย และศัพทสําหรับการเรียนนักธรรมที่ตกหลนหรือศัพททั่วไปอันควรรูที่ยังไมมี ก็เติมเขามา รวมเปนของเกากับของใหมประมาณครึ่งตอครึ่ง จึงเกิดเปนพจนานุกรม ซึงในการพิมพครังแรก พ.ศ. ๒๕๒๒ เรียกชือวา พจนานุกรม ่ ้ ่พุทธศาสน ฉบับครู นักเรียน นักธรรม ตอมา ในการพิมพครั้งที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๒๗ พจนานุกรมเลมนั้นไดเปลี่ยนมีชื่ออยางปจจุบันวาพจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท คือหนังสือเลมนี้ เมื่อมีการเผยแพรมากขึ้น ผูขออนุญาตพิมพบางแหงจึงไดนําพจนานุกรมทั้งสองเลมนี้มาจัดรวมกันเปนชุด และลาสุดบางทีถึงกับทํากลองใสรวมกัน แมจะมีประวัติแหงการเกิดขึ้นตางหากกัน แตพจนานุกรมสองเลมนี้ก็มีลักษณะที่เหมือนกันอยางหนึ่งคือเปนงานในชวงระหวางที่งานทําพจนานุกรมซึ่งตอเนื่องมาแตเดิมและขยายออกไปจนกลายเปนสารานุกรมแสดงอาการวาจะเปนเรื่องยืดเยื้อตองรออีกยาวนาน หลังจากการพิมพลงตัวแลว พจนานุกรมสองเลมนี้ก็มีชะตากรรมอยางเดียวกัน คือขึ้นตอระบบการทําตนแบบและการพิมพยุคกอนนั้น ซึ่งตนแบบอยูในแผนกระดาษที่ตายตัว แกไขและขยับขยายไดยาก ยิ่งเปนหนังสือขนาดหนาและมีรูปแบบซับซอน ก็แทบปรับเปลี่ยนอะไรไมไดเลย ดวยเหตุนี้ การพิมพพจนานุกรมสองเลมนั้นในครั้งตอๆ มา จึงตองพิมพซ้ําตามตนแบบเดิม ถาจําเปนจริงๆ ที่จะตองแกไข ก็แกไดเพียง ๔–๕ บรรทัด ยิ่งเมื่อเวลาผานมานานขึ้น แผนกระดาษตนแบบทั้งหมดก็ผุเปอยหรือสูญหายไป (ตนแบบของ พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท ซึ่งทําขึ้นใหมในการพิมพครั้งที่ ๒ ไดสูญหายไปตั้งแตเมื่อการพิมพครั้งที่ ๒ นั้นเสร็จสิ้นลง) ทําใหการพิมพตอจากนั้นตองใชวิธีถายภาพจากหนังสือที่พิมพครั้งกอนๆ ซึ่งจะไดตัวหนังสือที่เลือนลางลงไปเรื่อยๆ ไดแตรอเวลาที่จะพิมพทําตนแบบขึ้นใหม โดยจะถือโอกาสเพิ่มเติมดวยพรอมกัน อยางไรก็ตาม เนื่องจาก พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท นี้ มีศัพทและคําอธิบายที่จะเพิ่มมากมาย เมื่อแกไขตนแบบเดิมไมได ก็จึงใสสวนเพิ่มเขามาตางหากตอทายเลมในการพิมพครั้งที่ ๓ พ.ศ.๒๕๒๘ โดยทําเปน “ภาคผนวก” (มีศัพทต้งหรือหัวศัพทเพิ่ม ๑๒๔ ศัพท รวม ๒๔ หนา ขยายขนาดเลม ัหนังสือเฉพาะตัวพจนานุกรมแทๆ ขึ้นเปน ๔๖๖ หนา) ตอแตนั้นมา ก็พิมพซ้ําอยางที่กลาวขางตนข. ความเปนมา ชวงที่ ๒: เขายุคใหม มีฐานที่จะกาวตอ ระหวางรอเวลาที่จะพิมพทําตนแบบใหม พรอมกับเขียนเพิ่มเติม ซึ่งมองไมเห็นวาจะมีโอกาสทําไดเมื่อใด กาลก็ลวงมา จนถึงยุคคอมพิวเตอร  ระบบคอมพิวเตอรไดชวยใหการพิมพเจริญกาวหนาอยางมหัศจรรย ซึ่งแกปญหาสําคัญในการทําพจนานุกรมไดทงหมด โดยเฉพาะ ั้ • การพิมพขอมูลใหมทําไดอยางดีและคลองสะดวก • รักษาขอมูลใหมนั้นไวไดสมบูรณและยืนนาน โดยมีคุณภาพคงเดิม หรือจะปรับใหดียิ่งขึ้นก็ได
  • 14. • ขอมูลใหมที่เก็บไวนั้น จะแกไข–ปรับปรุง–เพิ่มเติม ที่จุดไหนสวนใด อยางไร และเมื่อใด ก็ไดตามปรารถนา ถึงตอนนี้ ก็เห็นทางที่จะทําใหงานทําพจนานุกรมกาวตอไป แตก็ตองรอขั้นตอนสําคัญ คือจุดตั้งตนครั้งใหม ไดแกการพิมพขอมูลพจนานุกรมทั้งหมดในเลมหนังสือลงในคอมพิวเตอร ซึ่งตองใชเวลาและแรงงานมากทีเดียว ถามีขอมูลที่พิมพลงในคอมพิวเตอรไวพรอมแลว ถึงจะยังไมมีเวลาที่จะแกไข–ปรับปรุง–เพิ่มเติม ก็อุนใจได เพราะสามารถเก็บรอไว มีโอกาสเมื่อใด ก็ทําไดเมื่อนั้น แตตองเริ่มขั้นเตรียมขอมูลนั้นใหไดกอน ขณะที่ผรวบรวมเรียบเรียงเองพิมพดีดไมเปน กับทั้งมีงานอื่นพันตัวนุงนัง ไมไดดําเนินการอันใดใน ูเรื่องนี้ ก็ไดมีทานที่มีใจรักและทานที่มองเห็นประโยชน ไดพิมพขอมูล พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวล ศัพท ทั้งหมดของเลมหนังสือลงในคอมพิวเตอร ดวยความสมัครใจของตนเอง โดยมิไดนัดหมาย เทาที่ทราบ/เทาที่พบ ๔ ราย เปน ๔ ชุด คือ ๑. พระมหาเจิม สุวโจ แหงสถาบันวิจัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ไดเริ่มจัดทํางานนี้ตั้งแตระยะตนๆ ของยุคแหงการพิมพดวยระบบคอมพิวเตอร ซึ่งทั้งอุปกรณและบุคลากรดานนี้ยังไมพรั่งพรอม ใชเวลาหลายป จนในที่สด ไดมอบขอมูลที่เตรียมเสร็จแลวแกผูรวบรวมเรียบเรียง เมื่อวันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๔๑ ุ ขอมูลทีพระมหาเจิม สุวโจ เตรียมไวนี้ ไดจดวางรูปแบบเสร็จแลว รอเพียงงานขันทีจะสงเขาโรงพิมพ ่ ั ้ ่รวมทังการตรวจครังสุดทาย นับวาพรอมพอสมควร แตผรวบรวมเรียบเรียงก็ไมมเี วลาตรวจ เวลาก็ผานมาเรือยๆ ้ ้ ู  ่ ๒. รศ. ดร.สมศีล ฌานวังศะ ราชบัณฑิต ไดเตรียมขอมูลพจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท(พรอมทั้งพจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม) โดยบุตรหญิง–ชาย คือน.ส.ภาวนา ตั้งแตยังเปนด.ญ.ภาวนา ฌานวังศะ และนองชาย คือ นายปญญา ตั้งแตยังเปนด.ช.ปญญา ฌานวังศะ ไดชวยกันแบงเบาภาระดวยการพิมพขอมูลทังหมดของเลมหนังสือลงในคอมพิวเตอร ภายใตการดูแลของ ดร.สมศีล ฌานวังศะ  ้ซึ่งเปนผูตรวจความเรียบรอยและจัดรูปแบบขอมูลนั้นตามเลมหนังสืออีกทีหนึ่ง ๓. พระไตรปฎก (ในแผน CD – ระบบคอมพิวเตอร) ฉบับสมาคมศิษยเกา มหาจุฬาลงกรณราช-วิทยาลัย ซึ่งเสร็จออกเผยแพรในชวงตนของ พ.ศ. ๒๕๔๓ ไดขอบรรจุ พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม และ พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท ไวในโปรแกรมดวย ผูจัดทําจึงไดพิมพขอมูลทั้งหมดของหนังสือทั้งสองเลมนั้นลงในคอมพิวเตอร แตเนื่องจากเปนขอมูลสําหรับโปรแกรมคอมพิวเตอร จึงไมไดจัดรูปแบบเพื่อการตีพิมพอยางเลมหนังสือ ๔. พจนานุกรมพุทธศาสน (ในแผน CD – ระบบคอมพิวเตอร) รุน ๑.๕ (ในโปรแกรมวา พจนานุกรมพุทธศาสตร Version <1.2>) พ.ศ. ๒๕๔๔ จัดทําโดยคณะวิศวกรรมศาสตรคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยรังสิตซึ่งก็ไมไดจัดรูปแบบเพื่อการตีพิมพอยางเลมหนังสือ เพราะเปนขอมูลสําหรับโปรแกรมคอมพิวเตอร ขอมูลทัง ๔ ชุดนี้ ผูจดทําชุดนันๆ ไดนาศัพทตงและคําอธิบายทังหมดใน “ภาคผนวก” รวม ๒๔ หนา ้ ั ้ ํ ั้ ้๑๒๔ ศัพท ของฉบับเรียงพิมพระบบเกา มาแทรกเขาในเนือหาหลักของเลมตามลําดับอักษรเสร็จเรียบรอยดวย ้ เมื่อมีชุดขอมูลใหเลือก ก็แนนอนวาจะตองพิจารณาเฉพาะชุดที่จัดรูปแบบไวแลวเพื่อการตีพิมพอยางเลมหนังสือ คือชุดที่ ๑ และชุดที่ ๒ แตทั้งที่มีขอมูลนั้นแลว เวลาก็ผานไปๆ โดยผูรวบรวมเรียบเรียงมิไดดําเนินการใดๆ เพราะวาแมจะมีขอมูลครบทั้งหมดแลว แตก็ยังมีงานสุดทายในขั้นสงโรงพิมพ โดยเฉพาะการพิสจนอักษร (ตรวจปรูฟ) ตลอด ูเลมอีกครั้ง ซึ่งควรเปนภาระของผูรวบรวมเรียบเรียงเอง