SlideShare a Scribd company logo
พระไตรปิฎกภาษาไทย                        ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๔๕ เล่ม (ปกสีฟ้า)                                     ทั้งออนไลน์และออฟไลน์                    ที่มาของข้อมูล : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับ มจร.                                      MCUTRAI Version 1.0                      พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑                               พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เวรัญชกัณฑ์                                         พระวินัยปิฎก                                       มหาวิภังค์ ภาค ๑                                       _____________                   ขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น                                             เวรัญชกัณฑ์                                       เรื่องเวรัญชพราหมณ์[๑] สมัยนั้น พระผูมีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ ควงต้นสะเดาอันเป็น                   ้ที่อยู่ของนเฬรุยักษ์ เขตเมืองเวรัญชา พร้อมกับภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ประมาณ ๕๐๐ รูปเวรัญชพราหมณ์ได้ฟังข่าวว่า ท่านพระสมณโคดม เป็นศากยบุตร เสด็จออกผนวชจากศากยตระกูล ประทับอยู่ ณ ควงต้นสะเดาอันเป็นที่อยู่ของนเฬรุยักษ์ เขตเมืองเวรัญชา พร้อมกับภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ประมาณ ๕๐๐ รูป ท่านพระโคดมผู้เจริญนั้นมีกิตติศัพท์อันงามขจรไปอย่างนี้ว่า แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาค พระองค์นั้นเป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้ด้วยพระองค์เองโดยชอบ เพียบพร้อมด้วยวิชชาและจรณะเสด็จไปดี รูแจ้งโลก เป็นสารถีฝึกผู้ที่ควรฝึกได้อย่างยอดเยียม เป็นศาสดาของ            ้                                              ่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นพระพุทธเจ้า เป็นพระผูมีพระภาค๑                                                     ้เชิงอรรถ :๑ พระพุทธคุณ ทั้ง ๙ บทนี้ แต่ละบทมีอรรถอเนกประการ คือ๑. ชื่อว่าเป็นพระอรหันต์ เพราะห่างไกลจากกิเลส, เพราะกำาจัดข้าศึกคือกิเลส, เพราะหักซี่กำาแห่งสังสารวัฏคือการเวียนว่ายตายเกิด, เพราะเป็นผู้ควรรับไทยธรรม, เพราะไม่ทำาบาปในที่ลับ๒. ชื่อว่า ตรัสรูด้วยพระองค์เองโดยชอบ เพราะตรัสรู้ธรรมทั้งปวงโดยชอบและด้วยพระองค์เอง                 ้๓. ชื่อว่าเพียบพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ เพราะมีวิชชา ๓ และวิชชา ๘ ดังนี้ วิชชา ๓ คือ :-(๑) ปุพเพนิวาสานุสติญาณ ความรู้ที่ให้ระลึกชาติได้ (๒) จุตูปปาตญาณ ความรู้จุติ (ตาย) และอุบัติ(เกิด)ของสัตว์ (๓) อาสวักขยญาณ ความรู้ที่ทำาให้สิ้นอาสวะ วิชชา ๘ คือ (๑) วิปสสนาญาณ ญาณที่เป็น                                                                            ัวิปัสสนา(๒) มโนมยิทธิ มีฤทธิทางใจ (๓) อิทธิวิธิ แสดงฤทธิ์ได้ต่าง ๆ (๔) ทิพพโสต หูทิพย์ (๕) เจโตปริยญาณ                        ์รู้จักกำาหนดจิตผู้อื่นได้ (๖) ปุพเพนิวาสานุสติญาณ ความรู้ที่ให้ระลึกชาติได้ (๗) ทิพพจักขุ ตาทิพย์{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า :๑ }                               พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เวรัญชกัณฑ์
พระองค์ทรงรู้แจ้งโลกนี้พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก และหมู่สัตว์พร้อมทั้งสมณพราหมณ์เทวดาและมนุษย์ด้วยพระองค์เองแล้ว จึงทรงประกาศให้ผู้อื่นรู้ตาม ทรงแสดงธรรมมีความงามในเบื้องต้น มีความงามในท่ามกลางและมีความงามในที่สุด ทรงประกาศพรหมจรรย์ พร้อมทั้งอรรถและพยัญชนะ บริสุทธิ์บริบูรณ์ครบถ้วน การได้พบพระอรหันต์ทั้งหลายเช่นนี้ เป็นความดีอย่างแท้จริงเวรัญชพราหมณ์กล่าวตำาหนิพระผู้มีพระภาค[๒] ๑ต่อมา เวรัญชพราหมณ์เดินทางไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับได้สนทนาปราศรัยกับพระผู้มีพระภาคพอเป็นที่บันเทิงใจ พอเป็นที่ระลึกถึงกันและกันเชิงอรรถ :(= จุตปปาตญาณ) (๘) อาสวักขยญาณ ความรู้ที่ทำาให้สิ้นอาสวะ จรณะ ๑๕ คือ (๑) สีลสัมปทา ความถึง       ูพร้อมด้วยศีล (๒) อินทรียสังวร การสำารวมอินทรีย์ (๓) โภชเนมัตตัญญุตา ความเป็นผูรู้จักประมาณในการ                                                                                   ้บริโภค (๔) ชาคริยานุโยค การหมั่นประกอบความเพียรเป็นเครื่องตื่น (๕) มีศรัทธา (๖) มีหิริ (๗) มีโอตตัปปะ (๘) เป็นพหูสูต (๙) วิรยารัมภะ ปรารภความเพียร (๑๐) มีสติมั่นคง (๑๑) มีปัญญา                                    ิ(๑๒)ปฐมฌาน(๑๓) ทุติยฌาน (๑๔) ตติยฌาน (๑๕) จตุตถฌาน๔. ชื่อว่า เสด็จไปดี เพราะมีการเสด็จไปงาม เพราะเสด็จไปสู่ฐานะที่ดี เพราะเสด็จไปโดยชอบ และเพราะตรัสไว้โดยชอบ๕. ชื่อว่า รูแจ้งโลก เพราะทรงรู้แจ้งโลก เหตุเกิดโลก ความดับโลก วิธปฏิบัติให้ลุถึงความดับโลก (ทุกข์             ้                                                         ีสมุทัย นิโรธ มรรค) และทรงรู้แจ้งโลกทั้ง ๓ คือ สังขารโลก สัตวโลก โอกาสโลก๖. ชื่อว่า เป็นสารถีฝึกผู้ที่ควรฝึกได้อย่างยอดเยี่ยม เพราะทรงฝึกฝนคนที่ควรฝึกฝน ทั้งเทวดา มนุษย์อมนุษย์ สัตว์ดิรจฉาน ด้วยอุบายต่างๆ                  ั๗. ชื่อว่า เป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เพราะทรงสั่งสอนเทวดาและมนุษย์ด้วยประโยชน์ในโลกนี้ ประโยชน์ในโลกหน้า และประโยชน์อย่างยิ่งคือพระนิพพาน ตามสมควรแก่ประโยชน์ที่เทวดาและมนุษย์จะพึงได้รบ และเพราะทรงช่วยพาหมู่สัตว์ให้พ้นความกันดารคือความเกิด ดุจสัตถวาหะคือหัวหน้า                    ักองเกวียนพาบริวารข้ามทางกันดาร๘. ชื่อว่า เป็นพระพุทธเจ้า เพราะทรงรู้สิ่งที่ควรรู้ทั้งหมดด้วยพระองค์เองและทรงสอนให้ผู้อื่นรู้ตาม๙. ชื่อว่า เป็นพระผู้มีพระภาค เพราะ (๑) ทรงมีโชค (๒) ทรงทำาลายข้าศึกคือกิเลส (๓) ทรงประกอบด้วยภคธรรม ๖ ประการ (คือ ความเป็นใหญ่เหนือจิตของตน, โลกุตตรธรรม, ยศ, สิร, ความสำาเร็จ                                                                                 ิประโยชน์ตามต้องการ และความเพียร) (๔) ทรงจำาแนกแจกแจงธรรม (๕) ทรงเสพอริยธรรม (๖) ทรงคายตัณหาในภพทั้งสาม (๗) ทรงเป็นที่เคารพของชาวโลก (๘) ทรงอบรมพระองค์ดีแล้ว (๙) ทรงมีส่วนแห่งปัจจัย๔ เป็นต้น (ตามนัย วิ.อ. ๑/๑/๑๐๓-๑๑๘, สารตฺถ.ฏีกา. ๑/๒๗๐-๔๐๐)อนึ่ง พุทธคุณนี้ ท่านแบ่งเป็น ๑๐ ประการ โดยแยกพุทธคุณข้อ ๖ เป็น ๒ ประการ คือ (๑) เป็นผูยอด     ้เยียม   ่(๒) เป็นสารถีฝึกผู้ที่ควรฝึกได้ (วิสุทฺธิ. ๑/๒๖๕, วิ.อ ๑/๑/๑๑๒-๑๑๓)๑ องฺ.อฏฺฐก. ๒๓/๑๑/๑๔๓-๑๔๙{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า :๒ }                               พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เวรัญชกัณฑ์
แล้วนั่ง ณ ที่สมควร กราบทูลว่า “ท่านพระโคดม ข้าพเจ้าได้ทราบมาว่า พระสมณโคดมไม่ยอมไหว้ ไม่ลุกรับพวกพราหมณ์ผู้แก่ ผู้เฒ่า ผู้ใหญ่ ผูล่วงกาลผ่านวัย                                                                     ้หรือไม่เชื้อเชิญให้นั่ง เรื่องที่ข้าพเจ้าได้ทราบมานั้นจริงทีเดียว การที่ท่านพระโคดมทำาเช่นนั้นไม่สมควรเลย”พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า “พราหมณ์ เรายังไม่เห็นใครไม่ว่าในโลกไหนๆในบริษัทไหนๆ ทีเราควรจะไหว้ ลุกรับหรือเชื้อเชิญให้นั่ง เพราะว่าตถาคตไหว้ ลุกรับ                  ่หรือเชื้อเชิญผู้ใดให้นั่ง ศีรษะของผู้นั้นจะต้องขาดตกไป”[๓] พราหมณ์กราบทูลต่อไปว่า “ท่านพระโคดม เป็นคนไม่มีรส๑”พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า “พราหมณ์ ข้อที่เขากล่าวหาเรานั้นมีมูลอยู่เพราะตถาคตละรส คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะได้หมดสิ้น ตัดรากถอนโคนเหมือนต้นตาลที่ถูกตัดรากถอนโคนไปแล้วเหลือแต่พื้นที่ ทำาให้ไม่มี เกิดขึ้นต่อไปไม่ได้ข้อที่เขากล่าวหาเรานั้นมีมูลอยู่ แต่ไม่ใช่ที่ท่านกล่าวถึง”[๔] พราหมณ์กราบทูลต่อไปว่า “ท่านพระโคดม เป็นคนไม่มีสมบัติ”พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า “พราหมณ์ ข้อที่เขากล่าวหาเรานั้นมีมูลอยู่เพราะตถาคตละสมบัติคือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะได้หมดสิ้น ตัดรากถอนโคนเหมือนต้นตาลที่ถูกตัดรากถอนโคนไปแล้วเหลือแต่พื้นที่ ทำาให้ไม่มี เกิดขึ้นต่อไปไม่ได้ข้อที่เขากล่าวหาเรานั้นมีมูลอยู่ แต่ไม่ใช่ที่ท่านกล่าวถึง”[๕] พราหมณ์กราบทูลต่อไปว่า “ท่านพระโคดม สอนไม่ให้ทำา”พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า “พราหมณ์ ข้อที่เขากล่าวหาเรานั้นมีมูลอยู่เพราะเราสอนไม่ให้ทำากายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ตลอดถึงการไม่ให้ทำาบาปอกุศลธรรมต่างๆ ข้อที่เขากล่าวหาเรานั้นมีมูลอยู่ แต่ไม่ใช่ที่ท่านกล่าวถึง”เชิงอรรถ :๑ ข้อที่พราหมณ์ตำาหนิพระผู้มีพระภาคว่า เป็นคนไม่มีรส ในที่นี้ หมายถึงเป็นคนไม่มีสัมมาคารวะเช่น การกราบไหว้ การต้อนรับ พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า พระองค์ละรสได้แล้ว หมายถึงพระองค์ละอัสสาทะ ความพอใจในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสได้แล้ว จึงเป็นคนไม่มีรส คือไม่ยินดีในรูป เสียง กลิ่น รสสัมผัส (วิ.อ. ๑/๓/๑๒๕-๑๒๖){ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า :๓ }                                พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เวรัญชกัณฑ์[๖] พราหมณ์กราบทูลต่อไปว่า “ท่านพระโคดม สอนให้ทำาลาย”พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า “พราหมณ์ ข้อที่เขากล่าวหาเรานั้นมีมูลอยู่เพราะเราสอนให้ทำาลายราคะ โทสะ โมหะ ตลอดถึงให้ทำาลายบาปอกุศลธรรมต่างๆข้อที่เขากล่าวหาเรานั้นมีมูลอยู่ แต่ไม่ใช่ที่ท่านกล่าวถึง”[๗] พราหมณ์กราบทูลต่อไปว่า “ท่านพระโคดม เป็นคนช่างรังเกียจ”พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า “พราหมณ์ ข้อที่เขากล่าวหาเรานั้นมีมูลอยู่เพราะเราช่างรังเกียจกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต และบาปอกุศลธรรมต่างๆ ข้อที่เขากล่าวหาเรานั้นมีมูลอยู่ แต่ไม่ใช่ที่ท่านกล่าวถึง”[๘] พราหมณ์กราบทูลต่อไปว่า “ท่านพระโคดม เป็นคนช่างกำาจัด”พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า “พราหมณ์ ข้อที่เขากล่าวหาเรานั้นมีมูลอยู่เพราะเราแสดงธรรมเพื่อกำาจัดราคะ โทสะ โมหะ และบาปอกุศลธรรมต่างๆ ข้อที่เขากล่าวหาเรานั้นมีมูลอยู่ แต่ไม่ใช่ที่ท่านกล่าวถึง”[๙] พราหมณ์กราบทูลต่อไปว่า “ท่านพระโคดม เป็นคนช่างเผาผลาญ”
พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า “พราหมณ์ ข้อที่เขากล่าวหาเรานั้นมีมูลอยู่เพราะเรากล่าวถึงบาปอกุศลธรรมทั้งหลาย คือ กายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริตว่าเป็นสิ่งที่ควรเผาผลาญ พราหมณ์ เราเรียกคนที่ละบาปอกุศลธรรมทั้งหลายทีควร    ่เผาผลาญ ตัดรากถอนโคนเหมือนต้นตาลที่ถูกตัดรากถอนโคนไปแล้วเหลือแต่พื้นที่ทำาให้ไม่มี เกิดขึ้นต่อไปไม่ได้ว่า เป็นคนช่างเผาผลาญ ตถาคตละบาปอกุศลธรรมต่างๆที่ควรเผาผลาญได้หมดสิ้น ข้อที่เขากล่าวหาเรานั้นมีมูลอยู่ แต่ไม่ใช่ที่ท่านกล่าวถึง”[๑๐] พราหมณ์กราบทูลต่อไปว่า “ท่านพระโคดม เป็นคนไม่ผุดไม่เกิด”พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า “พราหมณ์ ข้อที่เขากล่าวหาเรานั้นมีมูลอยู่เพราะเราเรียกคนที่ละการอยู่ในครรภ์และการเกิดใหม่ได้หมด ตัดรากถอนโคนเหมือนต้นตาลที่ถูกตัดรากถอนโคนไปแล้วเหลือแต่พื้นที่ ทำาให้ไม่มี เกิดขึ้นต่อไปไม่ได้ว่า เป็นคนไม่ผุดไม่เกิด ตถาคตละการอยู่ในครรภ์และการเกิดใหม่ได้หมดสิ้นแล้วข้อที่เขากล่าวหาเรานั้นมีมูลอยู่ แต่ไม่ใช่ที่ท่านกล่าวถึง”{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า :๔ }                                  พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เวรัญชกัณฑ์                                          ทรงอุปมาด้วยลูกไก่[๑๑] “พราหมณ์ ไข่ ๘ ฟอง ๑๐ ฟอง หรือ ๑๒ ฟอง ที่แม่ไก่กกหรือฟักดีแล้ว ลูกไก่ตัวที่ใช้เล็บหรือจะงอยปากทำาลายกระเปาะ๑ ไข่ออกมาได้ก่อน ควรเรียกมันว่า เป็นตัวพี่ หรือตัวน้อง” “ควรเรียกว่า พี่ เพราะมันแก่กว่าเขา”“เช่นเดียวกันนั่นแหละพราหมณ์ ในขณะที่หมู่สัตว์ ถูกกระเปาะไข่คืออวิชชาห่อหุ้มอยู่ เราได้ทำาลายกระเปาะไข่คืออวิชชา ผู้เดียวเท่านั้นสำาเร็จอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณอันยอดเยี่ยม จึงเป็นพี่ใหญ่ผู้ประเสริฐที่สดของโลก                                                        ุ                                                ฌาน ๔พราหมณ์ เราปรารภความเพียร ไม่ย่อหย่อน มีสติตั้งมั่น ไม่หลงลืม มีกายสงบ ไม่กระสับกระส่าย มีจิตแน่วแน่เป็นสมาธิ                                               ปฐมฌานเราสงัดจากกามและอกุศลธรรมทั้งหลายแล้ว บรรลุปฐมฌานที่มีวิตก วิจารปีติ และสุขอันเกิดจากวิเวกอยู่                                               ทุติยฌานเพราะวิตก วิจารสงบระงับไปแล้ว เราบรรลุทุตยฌาน มีความผ่องใสภายใน มี                                              ิภาวะที่จตเป็นหนึ่งผุดขึ้น๒ ไม่มีวิตกไม่มีวิจาร มีแต่ปติและสุขอันเกิดจากสมาธิเท่านั้นอยู่        ิ                                            ี                                               ตติยฌานเพราะปีติจางคลายไปแล้ว เรามีอุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย ได้บรรลุตติยฌานที่พระอริยะทั้งหลายสรรเสริญว่า ผู้มีอุเบกขา มีสติ อยู่เป็นสุข
เชิงอรรถ :๑ กระเปาะ คือ เปลือกไข่ส่วนที่มีสัณฐานนูนกลม คำาว่า “กระเปาะ” คือ รูปนูนกลม สิ่งต่างๆ ที่มีสัณฐานคล้ายคลึงเช่นนั้น เรียกว่า กระเปาะ เช่น กระเปาะไข่ กระเปาะดอกไม้๒ เจตโส เอโกทิภาวำ ภาวะที่จิตเป็นหนึ่งผุดขึ้น คำาว่า “เอโกทิ” เป็นชื่อของสมาธิ ทุตยฌาน ชื่อว่า                                                                                       ิเอโกทิภาวะ เพราะทำาสมาธิที่ชื่อว่าเอโกทินี้ให้เกิดเจริญขึ้น พระผู้มีพระภาคตรัสว่า “มีภาวะที่จิตเป็นหนึ่งผุดขึ้น” เพราะสมาธิชื่อเอโกทินี้มีแก่จิตเท่านั้น ไม่มีแก่สัตว์ ไม่มีแก่ชีวะ (วิ.อ. ๑/๑๑/๑๔๓-๑๔๔){ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า :๕ }                                   พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เวรัญชกัณฑ์                                                 จตุตถฌานเพราะละสุขและทุกข์ได้แล้ว เพราะโสมนัสและโทมนัสดับไปก่อนแล้ว เราได้บรรลุจตุตถฌานที่ไม่มีทุกข์ ไม่มีสข มีสติบริสทธิ์เพราะอุเบกขาอยู่”                                 ุ          ุ                                                 วิชชา ๓                                           ปุพเพนิวาสานุสติญาณ[๑๒] “เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผุดผ่อง ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากความเศร้าหมอง อ่อน เหมาะแก่การใช้งาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ เรานั้น ได้น้อมจิตไปเพื่อปุพเพนิวาสานุสติญาณ ระลึกชาติก่อนได้หลายชาติ คือ ๑ ชาติบ้าง ๒ชาติบ้าง ๓ ชาติบ้าง ๔ ชาติบ้าง ๕ ชาติบ้าง ๑๐ ชาติบ้าง ๒๐ ชาติบ้าง ๓๐ ชาติบ้าง๔๐ ชาติบ้าง ๕๐ ชาติบ้าง ๑๐๐ ชาติบ้าง ๑,๐๐๐ ชาติบ้าง ๑๐,๐๐๐ ชาติบ้างตลอดสังวัฏฏกัปบ้าง ตลอดวิวัฏฏกัปบ้าง ตลอดสังวัฏฏกัปและวิวัฏฏกัปบ้าง หลายกัปว่า ในภพโน้น เรามีชื่ออย่างนั้น มีตระกูล มีวรรณะ มีอาหาร เสวยสุขทุกข์ และมีอายุอย่างนั้นๆ จุติจากภพนั้นก็ไปเกิดในภพโน้น มีชื่อ มีตระกูล มีวรรณะ มีอาหารเสวยสุขทุกข์ และมีอายุอย่างนั้นๆ จุติจากภพนั้นจึงมาเกิดในภพนี้ เราระลึกชาติก่อนได้หลายชาติ พร้อมทั้งลักษณะทั่วไป และชีวประวัติอย่างนี้พราหมณ์ เราได้บรรลุวิชชาที่ ๑ ในยามแรกแห่งราตรี ความมืดมิดคืออวิชชา เรากำาจัดได้แล้ว แสงสว่างคือวิชชาได้เกิดขึ้นแก่เรา เปรียบเหมือนแสงสว่างเกิดขึ้นแก่บุคคลผู้ไม่ประมาท มีความเพียร อุทิศกายและใจพราหมณ์ นี้คือการเจาะกระเปาะไข่คืออวิชชาออกมาครั้งที่ ๑ ของเราเหมือนการเจาะออกจากกระเปาะไข่ของลูกไก่”                                               จุตปปาตญาณ                                                  ู[๑๓] “เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผุดผ่อง ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากความเศร้าหมอง อ่อน เหมาะแก่การใช้งาน ตั้งมั่นไม่หวั่นไหวอย่างนี้ เรานั้นได้น้อมจิตไปเพื่อจุตปปาตญาณ เห็นหมู่สัตว์ผู้กำาลังจุติ กำาลังอุบัติ ทั้งชั้นตำ่าและชั้นสูง งาม             ู{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า :๖ }
พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เวรัญชกัณฑ์และไม่งาม เกิดดีและไม่ดี ด้วยตาทิพย์อันบริสุทธิเหนือมนุษย์ เรารู้ชัดถึงหมู่สัตว์ผู้                                               ์เป็นไปตามกรรมว่า สัตว์ที่ประกอบกายทุจริต วจีทจริต มโนทุจริต กล่าวร้ายพระอริยะ                                                 ุมีความเห็นผิด และชักชวนผู้อื่นให้ทำากรรมตามความเห็นผิด พวกเขาหลังจากตายแล้วจะไปบังเกิดในอบาย ทุคติ วินิบาต นรก แต่หมู่สัตว์ทประกอบกายสุจริต วจีสุจริต                                                       ี่มโนสุจริต ไม่กล่าวร้ายพระอริยะ มีความเห็นชอบ ชักชวนผู้อื่นให้ทำากรรมตามความเห็นชอบ พวกเขาหลังจากตายแล้ว จะไปบังเกิดในสุคติโลกสวรรค์พราหมณ์ เราได้บรรลุวิชชาที่ ๒ ในยามที่ ๒ แห่งราตรี ความมืดมิดคืออวิชชา เรากำาจัดได้แล้ว แสงสว่างคือวิชชาได้เกิดขึ้นแก่เรา เปรียบเหมือนแสงสว่างเกิดแก่บุคคลผู้ไม่ประมาท มีความเพียร อุทิศกายและใจพราหมณ์ นี้คือการเจาะกระเปาะไข่คืออวิชชาออกมาครั้งที่ ๒ ของเราเหมือนการเจาะออกจากกระเปาะไข่ของลูกไก่”                                            อาสวักขยญาณ[๑๔] “เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผุดผ่อง ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากความเศร้าหมอง อ่อน เหมาะแก่การใช้งาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ เรานั้นได้น้อมจิตไปเพื่ออาสวักขยญาณ ได้รู้ชัดตามความเป็นจริงว่า นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัยนี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา นี้อาสวะ นี้อาสวสมุทัย นี้อาสวนิโรธ นี้อาสวนิโรธคามินีปฏิปทา เมื่อเรารูเห็นอยู่อย่างนี้ จิตได้หลุดพ้นจากกามาสวะ                                  ้ภวาสวะ อวิชชาสวะ เมื่อจิตหลุดพ้นแล้ว ก็รู้ว่า หลุดพ้นแล้ว รูชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว                                                              ้อยู่จบพรหมจรรย์แล้ว๑ ทำากิจที่ควรทำาเสร็จแล้ว ไม่มีกิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้อีกต่อไปพราหมณ์ เราได้บรรลุวิชชาที่ ๓ ในยามที่ ๓ แห่งราตรี ความมืดมิดคืออวิชชาเรากำาจัดได้แล้ว แสงสว่างคือวิชชาได้เกิดขึ้นแก่เรา เปรียบเหมือนแสงสว่างเกิดขึ้นแก่บุคคลผู้ไม่ประมาท มีความเพียร อุทิศกายและใจเชิงอรรถ :๑ คำาว่า “พรหมจรรย์” ในที่นี้หมายเอาอริยมรรค คือ พระอรหันต์อยู่ประพฤติอริยมรรคจบแล้ว ส่วนกัลยาณปุถุชนและพระเสขะ ๗ พวก ยังต้องอยู่ประพฤติมรรคพรหมจรรย์ต่อไป (วิ.อ. ๑/๑๔/๑๖๙){ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า :๗ }                                 พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เวรัญชกัณฑ์พราหมณ์ นี้คือการเจาะกระเปาะไข่คืออวิชชาออกมาครั้งที่ ๓ ของเราเหมือนการเจาะออกจากกระเปาะไข่ของลูกไก่”                                 เวรัญชพราหมณ์แสดงตนเป็นอุบาสก[๑๕] เมื่อตรัสอย่างนี้ เวรัญชพราหมณ์ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคดังนี้ว่า“ท่านพระโคดมเป็นพี่ใหญ่ ผู้ประเสริฐที่สุด ท่านพระโคดม ภาษิตของพระองค์ชัดเจนไพเราะยิ่งนัก ท่านพระโคดม ภาษิตของพระองค์ชัดเจนไพเราะยิ่งนัก พระองค์ทรงประกาศธรรมแจ่มแจ้ง โดยประการต่างๆ เปรียบเหมือนบุคคลหงายของที่ควำ่าเปิดของที่ปิด บอกทางแก่ผู้หลงทาง หรือตามประทีปในที่มืด ด้วยตั้งใจว่า คนมี
ตาดีจักเห็นรูป ข้าพระองค์นี้ขอถึงท่านพระโคดมพร้อมทั้งพระธรรมและพระสงฆ์เป็นสรณะ ขอท่านพระโคดมจงทรงจำาข้าพระองค์ว่าเป็นอุบาสกผู้ถึงสรณะ ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปจนตลอดชีวิต และขอท่านพระโคดมพร้อมกับภิกษุสงฆ์ทรงรับคำานิมนต์ของข้าพระองค์ อยู่จำาพรรษาที่เมืองเวรัญชาด้วยเถิด”พระผู้มีพระภาคทรงรับคำานิมนต์โดยดุษณีภาพ ครั้นเวรัญชพราหมณ์ทราบว่าพระผู้มีพระภาคทรงรับนิมนต์แล้วจึงลุกขึ้นจากอาสนะถวายบังคมพระผู้มีพระภาคกระทำาประทักษิณแล้วจากไป๑                                เมืองเวรัญชาเกิดข้าวยากหมากแพง[๑๖] สมัยนั้น เมืองเวรัญชาเกิดข้าวยากหมากแพง ประชาชนมีความเป็นอยู่แร้นแค้น ใช้สลากปันส่วนซื้ออาหาร ล้มตายกันกระดูกขาวเกลื่อน ยากที่พระอริยะจะบิณฑบาตยังชีพได้เชิงอรรถ :๑ กระทำาประทักษิณ คือ เดินเวียนขวา พราหมณ์เดินประนมมือเวียนไปทางขวาตามเข็มนาฬิกา ๓ รอบโดยมีพระผู้มีพระภาคอยู่ทางขวา เสร็จแล้วหันหน้าไปทางพระผู้มีพระภาค เดินถอยหลังจนสุดสายตา คือจนมองไม่เห็นพระผู้มีพระภาค คุกเข่าลงกราบด้วยเบญจางคประดิษฐ์แล้วเดินจากไป (วิ.อ.๑/๑๕/๑๗๖-๑๗๗){ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า :๘ }                               พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เวรัญชกัณฑ์ต่อมา พวกพ่อค้าม้าชาวเมืองอุตตราบถ มีม้าอยู่ประมาณ ๕๐๐ ตัว เข้าพักแรมช่วงฤดูฝนในเมืองเวรัญชา พวกเขาตระเตรียมข้าวนึ่ง๑ เพื่อถวายพระภิกษุรปละ                                                                      ูประมาณ ๑ ทะนานไว้ที่คอกม้า รุงเช้า ภิกษุทั้งหลายครองอันตรวาสก ถือบาตรและ                             ่จีวรไปบิณฑบาตในเมืองเวรัญชา บิณฑบาตไม่ได้เลย จึงไปทีคอกม้า รับข้าวนึ่งรูป                                                        ่ละประมาณ ๑ ทะนาน นำาไปตำาให้ละเอียดแล้วฉัน ส่วนพระอานนท์บดข้าวนึ่งประมาณ๑ ทะนานบนหินบดแล้วน้อมเข้าไปถวายพระผู้มีพระภาค พระองค์เสวยข้าวนั้น                                          พุทธประเพณีพระผู้มีพระภาคได้ทรงสดับเสียงครก พระตถาคตเจ้าทั้งหลายทรงทราบเรื่องตรัสถามก็มี ไม่ตรัสถามก็มี ทรงทราบกาลอันควร ตรัสถามก็มี ไม่ตรัสถามก็มี ตรัสถามเรื่องที่เป็นประโยชน์ ไม่ตรัสถามเรื่องที่ไม่เป็นประโยชน์ เพราะพระตถาคตเจ้าทั้งหลายทรงขจัดเรื่องที่ไม่เป็นประโยชน์เสียด้วยอริยมรรคแล้ว พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทั้งหลายสอบถามภิกษุทั้งหลายด้วยเหตุ ๒ ประการ คือ จะทรงแสดงธรรมอย่างหนึ่ง จะทรงบัญญัติสิกขาบทแก่พระสาวกอย่างหนึ่งลำาดับนั้น พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกพระอานนท์มารับสั่งถามว่า “นั่นเสียงครกใช่ไหม อานนท์”พระอานนท์จึงกราบทูลเรื่องนั้นให้ทรงทราบ“อานนท์ ดีแล้วๆ พวกเธอเป็นสัตบุรุษ ชนะได้เด็ดขาดแล้ว ข้าวสาลีเจือด้วยเนื้อเพื่อนพรหมจารีในภายหลังจะพากันดูหมิ่น”๒
เชิงอรรถ :๑ ปูลกำ นาม นิตฺถุสำ กตฺวา ฯเปฯ ที่ชื่อว่า ข้าวนึ่ง ได้แก่ ข้าวสารเหนียวที่เอาแกลบออกแล้วนึ่งเก็บไว้ จะเรียกว่า ข้าวตาก ก็ได้ พวกพ่อค้านิยมนำาติดตัวไปในเวลาเดินทางไปค้าขายยังต่างเมือง เพื่อเป็นอาหารม้าในถิ่นที่อาหารม้าหายาก (วิ.อ. ๑/๑๖/๑๗๙)๒ ในอนาคต เพื่อนพรหมจารีในภายหลัง เช่นพวกภิกษุฉัพพัคคีย์ จักดูหมิ่นข้าวสุกเจือด้วยเนื้อที่เขาถวายเพราะความเลื่อมใสในข้อปฏิบัตของพวกเธอ ซึ่งทำาได้ยากที่เมืองเวรัญชา (วิ.อ. ๑/๑๖/๑๘๔-๕,                                           ิสารตฺถ.ฏีกา ๑/๑๖/๕๓๙){ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า :๙ }                                  พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เวรัญชกัณฑ์                                   พระมหาโมคคัลลานะเปล่งสีหนาท[๑๗] ครั้งนั้น ท่านพระมหาโมคคัลลานะเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ครันถึงแล้วได้ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคแล้วนั่งลง ณ ที่สมควร ท่าน            ้พระมหาโมคคัลลานะผู้นั่งอยู่ ณ ที่สมควรแล้วได้กราบทูลพระผูมีพระภาคดังนี้ว่า                                                                ้“เวลานี้เมืองเวรัญชาเกิดข้าวยากหมากแพง ประชาชนมีความเป็นอยู่แร้นแค้น ใช้สลากปันส่วนซื้ออาหาร ล้มตายกันกระดูกขาวเกลื่อน ยากที่พระอริยะจะบิณฑบาตยังชีพได้ พระพุทธเจ้าข้า พื้นดินใต้มหาปฐพีนี้มีโอชะ มีรสอร่อย เหมือนนำ้าผึ้งหวี่ที่ไม่มีตัวอ่อน ขอประทานพระวโรกาส ข้าพระพุทธเจ้าจะพลิกแผ่นดิน เพื่อให้ภิกษุทั้งหลายได้ฉันง้วนดิน”“ในแผ่นดินมีสัตว์อาศัยอยู่ เธอจักทำาอย่างไรกับสัตว์เหล่านั้น โมคคัลลานะ”“ข้าพระพุทธเจ้าจักเนรมิตฝ่ามือข้างหนึ่งให้เป็นเช่นแผ่นดินใหญ่ ย้ายเหล่าสัตว์ที่อาศัยแผ่นดินอยู่ไปรวมกันที่ฝ่ามือนั้น แล้วใช้มืออีกข้างหนึ่งพลิกแผ่นดินพระพุทธเจ้าข้า”“อย่าเลย โมคคัลลานะ เธออย่าพอใจที่จะพลิกแผ่นดินเลย หมู่สัตว์จะเข้าใจผิดได้”“ขอประทานพระวโรกาสให้ภิกษุสงฆ์ทุกรูปไปบิณฑบาตในอุตตรกุรุทวีปเถิดพระพุทธเจ้าข้า”“เธอจักทำาอย่างไรกับภิกษุที่ไม่มีฤทธิ์”“ข้าพระพุทธเจ้าจักทำาให้ภิกษุสงฆ์ทุกรูปไปได้ พระพุทธเจ้าข้า”“อย่าเลย โมคคัลลานะ เธออย่าพอใจการที่จะพาภิกษุสงฆ์ทุกรูปไปบิณฑบาตที่อุตตรกุรุทวีปเลย”                  พระสารีบุตรทูลถามถึงเหตุที่ทำาให้พรหมจรรย์ดำารงอยู่นานและไม่นาน[๑๘] ครั้งนั้น ท่านพระสารีบุตรหลีกเร้นอยู่ในที่สงัด รำาพึงขึ้นมาอย่างนี้ว่า“พรหมจรรย์๑ ของพระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าพระองค์ไหนดำารงอยู่ไม่นาน ของพระเชิงอรรถ :๑ “พรหมจรรย์” ในที่นี้หมายถึง ศาสนา (วิ.อ. ๑/๑๘/๑๘๙){ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า :๑๐ }
พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เวรัญชกัณฑ์ผู้มีพระภาคพุทธเจ้าพระองค์ไหนดำารงอยู่นาน” ครั้นเวลาเย็นจึงออกจากที่พักเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ครั้นถึงแล้วได้ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคแล้วนั่งลงณ ที่สมควร ท่านพระสารีบุตรผู้นั่งอยู่ ณ ที่สมควรแล้ว ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคดังนี้ว่า “พระพุทธเจ้าข้า เมื่อข้าพระองค์หลีกเร้นอยู่ในที่สงัด ได้เกิดความรำาพึงขึ้นมาอย่างนี้ว่า ‘พรหมจรรย์ของพระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าพระองค์ไหนดำารงอยู่ไม่นาน ของพระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าพระองค์ไหนดำารงอยู่นาน’ พรหมจรรย์ของพระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าพระองค์ไหนดำารงอยู่ไม่นาน ของพระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าพระองค์ไหนดำารงอยู่นาน พระพุทธเจ้าข้า”พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า “สารีบุตร พรหมจรรย์ของพระพุทธเจ้าวิปัสสีพระพุทธเจ้าสิขี พระพุทธเจ้าเวสสภู ดำารงอยู่ไม่นาน พรหมจรรย์ของพระพุทธเจ้ากกุสันธะ พระพุทธเจ้าโกนาคมนะ และพระพุทธเจ้ากัสสปะ ดำารงอยู่นาน”[๑๙] “อะไรเป็นเหตุเป็นปัจจัยทำาให้พรหมจรรย์ของพระพุทธเจ้าวิปัสสีพระพุทธเจ้าสิขี และพระพุทธเจ้าเวสสภู ดำารงอยู่ไม่นาน พระพุทธเจ้าข้า”“สารีบุตร พระพุทธเจ้าวิปัสสี พระพุทธเจ้าสิขี พระพุทธเจ้าเวสสภู ทรงผ่อนคลายทีจะแสดงธรรมโดยพิสดารแก่สาวก สุตตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน        ่อิติวุตตกะ ชาดก อัพภูตธรรม เวทัลละ๑ ของพระพุทธเจ้าทั้ง ๓ พระองค์จึงมีน้อยมิได้ทรงบัญญัติสิกขาบทไว้แก่สาวก ไม่มีการแสดงปาติโมกข์ เมื่อหมดพระพุทธเจ้าและสาวกผู้ตรัสรู้ตามแล้ว สาวกชั้นหลัง ๆ ต่างชื่อ ต่างโคตร ต่างชาติวรรณะ ได้เข้ามาบวชจากต่างตระกูล เธอเหล่านั้นพาให้พรหมจรรย์สญสิ้นไปเร็วพลัน เหมือนดอก                                                     ูไม้นานาพรรณกองอยู่บนแผ่นกระดาน ยังไม่ร้อยด้วยด้าย ย่อมถูกลมพัดกระจัดกระจายไป เพราะเหตุไร เพราะไม่ได้เอาด้ายร้อยไว้ ข้อนี้ฉันใด เมื่อหมดพระพุทธเจ้าและสาวกผู้ตรัสรู้ตามแล้ว สาวกชั้นหลังๆ ต่างชื่อ ต่างโคตร ต่างชาติวรรณะ ได้เข้ามาบวชจากต่างตระกูล เธอเหล่านั้นพาให้พรหมจรรย์สูญสิ้นไปเร็วพลันฉันนั้นเชิงอรรถ :๑ สุตตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาดก อัพภูตธรรม เวทัลละ รวมเรียกว่า “นวังคสัตถุศาสน์”{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า :๑๑ }                                   พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เวรัญชกัณฑ์อนึ่ง พระพุทธเจ้าเหล่านั้นไม่ทรงผ่อนคลายที่จะกำาหนดจิตของสาวกด้วยพระทัยแล้วทรงสั่งสอน สารีบุตร เรื่องเคยเกิดขึ้นแล้ว พระพุทธเจ้าเวสสภู ทรงกำาหนดจิตภิกษุสงฆ์แล้วทรงสั่งสอนภิกษุสงฆ์ ๑,๐๐๐ รูป ในราวป่าน่าสะพึงกลัวแห่งหนึ่งว่า “เธอทั้งหลายจงพิจารณาเช่นนี้ อย่าพิจารณาอย่างนั้น จงตั้งใจอย่างนี้อย่าตั้งใจอย่างนั้น จงละสิ่งนี้ จงเข้าถึงสิ่งนี้อยู่เถิด” จิตของภิกษุ ๑,๐๐๐ รูป ที่พระพุทธเจ้าเวสสภูทรงสั่งสอน หลุดพ้นจากอาสวะ เพราะไม่มีความถือมั่น สารีบุตรเพราะราวป่าน่าสะพึงกลัว น่าสยดสยอง จึงมีเรื่องดังนี้ คือ ภิกษุผู้ไม่ปราศจากราคะ เข้าไปราวป่า ส่วนมากเกิดความกลัวขนลุกขนพองสารีบุตร นี้คือเหตุปัจจัยที่ทำาให้พรหมจรรย์ของพระพุทธเจ้าวิปัสสี พระ
พุทธเจ้าสิขี พระพุทธเจ้าเวสสภูดำารงอยู่ไม่นาน”[๒๐] “อะไรเป็นเหตุเป็นปัจจัยทำาให้พรหมจรรย์ของพระพุทธเจ้ากกุสันธะพระพุทธเจ้าโกนาคมนะ และพระพุทธเจ้ากัสสปะดำารงอยู่นาน พระพุทธเจ้าข้า”“สารีบุตร พระพุทธเจ้ากกุสันธะ พระพุทธเจ้าโกนาคมนะ และพระพุทธเจ้ากัสสปะ ไม่ทรงผ่อนคลายที่จะทรงแสดงธรรมโดยพิสดารแก่สาวก สุตตะ เคยยะเวยยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาดก อัพภูตธรรม เวทัลละของพระพุทธเจ้า ๓พระองค์จึงมีมาก ทรงบัญญัติสิกขาบทไว้แก่สาวก มีการแสดงปาติโมกข์ เมื่อหมดพระพุทธเจ้าและสาวกผู้ตรัสรู้ตามแล้ว สาวกชั้นหลังๆ ต่างชื่อ ต่างโคตร ต่างชาติวรรณะ ได้เข้ามาบวชจากต่างตระกูล เธอเหล่านั้นพาให้พรหมจรรย์ดำารงอยู่นานเหมือนดอกไม้นานาพรรณกองอยู่บนแผ่นกระดานเอาด้ายร้อยไว้ ย่อมไม่ถูกลมพัดกระจัดกระจายไป เพราะเหตุไร เพราะเอาด้ายร้อยไว้ ข้อนี้ฉันใด เมื่อหมดพระพุทธเจ้าและสาวกผู้ตรัสรู้ตามแล้ว สาวกชั้นหลังๆ ต่างชื่อ ต่างโคตร ต่างชาติวรรณะ ได้เข้ามาบวชจากต่างตระกูล เธอเหล่านั้นพาให้พรหมจรรย์ดำารงอยู่นานฉันนั้นสารีบุตร นี้คือเหตุปัจจัยที่ทำาให้พรหมจรรย์ของพระพุทธเจ้ากกุสันธะ พระพุทธเจ้าโกนาคมนะ และพระพุทธเจ้ากัสสปะ ดำารงอยู่นาน”{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า :๑๒ }                               พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เวรัญชกัณฑ์                               ทรงปรารภเหตุที่จะบัญญัติสิกขาบท[๒๑] ลำาดับนั้น ท่านพระสารีบตรลุกขึ้นห่มผ้าเฉวียงบ่าประนมมือไปทาง                            ุพระผู้มีพระภาค กราบทูลว่า “ถึงเวลาแล้วพระพุทธเจ้าข้า ที่พระผู้มีพระภาคจะทรงบัญญัติสิกขาบท ทรงยกปาติโมกข์ขึ้นแสดงแก่พระสาวกอันจะเป็นเหตุให้พรหมจรรย์ดำารงอยู่ได้ยืนนาน”“จงรอไปก่อนเถิดสารีบุตร ตถาคตรู้เวลาในเรื่องที่จะบัญญัติสิกขาบทนั้นศาสดาจะยังไม่บัญญัติสิกขาบทแก่สาวก ไม่ยกปาติโมกข์ขึ้นแสดง ตลอดเวลาที่ยังไม่เกิดอาสวัฏฐานิยธรรม๑ บางอย่างในสงฆ์ เมื่อเกิดอาสวัฏฐานิยธรรมบางอย่างในสงฆ์ ตถาคตจึงจะบัญญัติสิกขาบท จะยกปาติโมกข์ขึ้นแสดงแก่สาวก เพื่อขจัดธรรมเหล่านั้นสารีบุตร อาสวัฏฐานิยธรรมบางอย่างยังไม่เกิดในสงฆ์ ตราบเท่าที่สงฆ์ยังไม่เป็นหมู่ใหญ่เพราะมีภิกษุบวชนาน เมื่อสงฆ์เป็นหมู่ใหญ่เพราะมีภิกษุบวชนาน และมีอาสวัฏฐานิยธรรมบางอย่างเกิดในสงฆ์ ตถาคตจะบัญญัติสิกขาบท จะยกปาติโมกข์ขึ้นแสดงแก่สาวก เพื่อขจัดธรรมเหล่านั้นสารีบุตร อาสวัฏฐานิยธรรมบางอย่างยังไม่เกิดในสงฆ์ ตราบเท่าที่สงฆ์ยังไม่เป็นหมู่ใหญ่เพราะแพร่หลาย เมื่อสงฆ์เป็นหมู่ใหญ่เพราะแพร่หลาย และมีอาสวัฏฐานิยธรรมบางอย่างเกิดในสงฆ์ ตถาคตจะบัญญัติสิกขาบท จะยกปาติโมกข์ขึ้นแสดงแก่สาวก เพื่อขจัดธรรมเหล่านั้นสารีบุตร อาสวัฏฐานิยธรรมบางอย่างยังไม่เกิดในสงฆ์ ตราบเท่าที่สงฆ์ยังไม่เป็นหมู่ใหญ่เพราะมีลาภสักการะมาก เมื่อสงฆ์เป็นหมู่ใหญ่เพราะมีลาภสักการะมาก และมีอาสวัฏฐานิยธรรมบางอย่างเกิดในสงฆ์ ตถาคตจะบัญญัติสิกขาบท จะยกปาติโมกข์ขึ้นแสดงแก่สาวก เพื่อขจัดธรรมเหล่านั้นเชิงอรรถ :
๑ ตตฺถ อาสวา ติฏฐนฺติ เอเตสูติ อาสเวหิ ฐาตพฺพา น โวกฺกมิตพฺพาติ วา อาสวฏฐานียา แปล                 ฺสรุปความว่า ธรรมเป็นที่ตั้งอาสวะ ความชั่วต่างๆ เช่น การกล่าวให้ร้ายคนอื่น ความเดือดร้อน และการจองจำา (วิ.อ. ๑/๒๑/๑๙๗){ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า :๑๓ }                                  พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เวรัญชกัณฑ์สารีบุตร อาสวัฏฐานิยธรรมบางอย่างยังไม่เกิดในสงฆ์ ตราบเท่าที่สงฆ์ยังไม่เป็นหมู่ใหญ่เพราะความเป็นพหูสูต เมื่อสงฆ์เป็นหมู่ใหญ่เพราะความเป็นพหูสูตและมีอาสวัฏฐานิยธรรมบางอย่างเกิดในสงฆ์ ตถาคตจะบัญญัติสิกขาบท จะยกปาติโมกข์ขึ้นแสดงแก่สาวก เพื่อขจัดธรรมเหล่านั้นสารีบุตร ก็ภิกษุสงฆ์ยังไม่มีเสนียด ไม่มีโทษ ไม่มีสิ่งมัวหมอง บริสุทธิ์ผุดผ่อง ดำารงอยู่ในสารคุณ แท้จริงในภิกษุ ๕๐๐ รูปนี้ ผู้มีคุณธรรมอย่างตำ่าก็ชั้นโสดาบัน ไม่มีทางตกตำ่า มีความแน่นอนที่จะสำาเร็จสัมโพธิในวันข้างหน้า๑”                                      เสด็จนิเวศน์เวรัญชพราหมณ์[๒๒] ต่อมา พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกท่านพระอานนท์มารับสั่งว่า“อานนท์ พระตถาคตทั้งหลายยังมิได้บอกลาผู้ที่นิมนต์ให้อยู่จำาพรรษา จะไม่จากไปเรื่องนี้เป็นประเพณีของพระตถาคตทั้งหลาย เราจะไปลาเวรัญชพราหมณ์” พระอานนท์ทูลสนองพระพุทธดำารัสแล้วครั้นแล้วพระผู้มีพระภาคทรงครองอันตรวาสก ถือบาตรและจีวร๒ มีพระอานนท์ตามเสด็จ เสด็จพระพุทธดำาเนินไปถึงนิเวศน์ของเวรัญชพราหมณ์ ครั้นถึงแล้วจึงประทับนั่งบนอาสนะที่เขาจัดถวาย ทรงบอกเวรัญชพราหมณ์ผู้มาเฝ้าว่า“ท่านนิมนต์เราอยู่จำาพรรษา เราขอลาท่าน ต้องการจะจาริกไปในชนบท”เวรัญชพราหมณ์กราบทูลว่า “เป็นความจริง ข้าพระพุทธเจ้านิมนต์ท่านพระโคดมอยู่จำาพรรษา แต่ข้าพระพุทธเจ้ายังไม่ได้ถวายไทยธรรมที่ได้ตั้งใจเอาไว้ สิ่งนั้นเชิงอรรถ :๑ สัมโพธิปรายณะ จะสำาเร็จสัมโพธิในวันข้างหน้า คือ อุปริ มคฺคตฺตยำ อวสฺสำ สมฺปาปโก... ปฏิลทฺธ-ปฐมมคฺคตฺตา จะบรรลุมรรค ๓ ชั้นสูงขึ้นไปแน่นอน เพราะได้ปฐมมรรค(คือโสดาปัตติมรรค)แล้ว (วิ.อ.๑/๒๑/๒๐๓); อุปริมคฺคตฺตยสงฺขาตา สมฺโพธิ สัมโพธิ คือ มรรค ๓ (สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค อรหัตตมรรค)ที่สูงขึ้นไป (สารตฺถ.ฏีกา. ๑/๒๑/๕๕๙).๒ คำาว่า “ทรงครองอันตรวาสกถือบาตรและจีวร” นี้มิใช่ว่าก่อนหน้านี้ พระผู้มีพระภาคมิได้ทรงนุ่งสบงมิใช่ว่าพระองค์ถือบาตรและจีวรไปโดยเปลือยพระกายส่วนบน คำาว่า “ครองอันตรวาสก” หมายถึงพระองค์ผลัดเปลี่ยนสบงหรือขยับสบงที่นุ่งอยู่ให้กระชับ คำาว่า “ถือบาตรและจีวร” หมายถึงถือบาตรด้วยมือ ถือจีวรด้วยกาย คือ ห่มจีวรอุ้มบาตรนั่นเอง (วิ.อ. ๑/๑๖/๑๘๐, ที.อ. ๒/๑๕๓/๑๔๓, ม.อ. ๑/๖๓/๑๖๓, อุทาน.อ.๖๕){ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า :๑๔ }                                  พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เวรัญชกัณฑ์
มิใช่จะไม่มีและมิใช่ว่าข้าพระพุทธเจ้าจะไม่เต็มใจถวาย ไตรมาสที่ผ่านมา พระองค์ยังมิได้รบไทยธรรมนั้น เพราะผู้ครองเรือนมีกิจมาก มีธุระมาก ขอท่านพระโคดม       ัพร้อมกับภิกษุสงฆ์จงรับอาหารของข้าพระพุทธเจ้าเพื่อเจริญกุศลในวันพรุ่งนี้เถิด”พระผู้มีพระภาคทรงรับคำานิมนต์โดยดุษณีภาพ ทรงชี้แจงให้เวรัญชพราหมณ์เห็นชัด ชวนให้อยากรับเอาไปปฏิบัติ เร้าใจให้อาจหาญแกล้วกล้า ปลอบชโลมใจให้สดชื่นร่าเริงด้วยธรรมีกถา แล้วเสด็จลุกจากอาสนะหลีกไปเมื่อผ่านราตรีนั้นไป เวรัญชพราหมณ์สั่งให้เตรียมของเคียวของฉันอัน                                                     ้ประณีตไว้ในบ้านแล้วให้คนไปกราบทูลภัตกาลแด่พระผู้มีพระภาคว่า “ท่านพระโคดมถึงเวลาแล้ว ภัตตาหารเสร็จแล้ว”[๒๓] ครั้นเวลาเช้า พระผู้มีพระภาคทรงครองอันตรวาสก ถือบาตรและจีวรเสด็จพระพุทธดำาเนินไปยังนิเวศน์ของเวรัญชพราหมณ์ ประทับนั่งเหนือพระพุทธอาสน์พร้อมภิกษุสงฆ์ ครั้นแล้วเวรัญชพราหมณ์ประเคนของเคี้ยวของฉันอันประณีตด้วยตัวเอง กระทั่งพระผู้มีพระภาคเสวยเสร็จแล้วละพระหัตถ์จากบาตร จึงทูลถวายไตรจีวรให้ทรงครอง และถวายผ้าคู่ให้ภิกษุครองรูปละสำารับพระผู้มีพระภาคทรงชี้แจงให้เวรัญชพราหมณ์เห็นชัด ชวนให้อยากรับเอาไปปฏิบัติ เร้าใจให้อาจหาญแกล้วกล้า ปลอบชโลมใจให้สดชื่นร่าเริงด้วยธรรมีกถาแล้วเสด็จจากไปพระพุทธองค์ประทับอยู่ ณ เมืองเวรัญชาตามพระอัธยาศัยแล้วได้เสด็จพระพุทธดำาเนินไปยังเมืองท่าปยาคะ ไม่ทรงแวะเมืองโสเรยยะ เมืองสังกัสสะ เมืองกัณณกุชชะ ทรงข้ามแม่นำ้าคงคาที่เมืองท่าปยาคะ เสด็จพระพุทธดำาเนินถึงกรุงพาราณสี ครั้นประทับที่กรุงพาราณสีตามพระอัธยาศัยแล้ว เสด็จจาริกไปโดยลำาดับจนถึงกรุงเวสาลี ทราบว่าพระองค์ประทับอยู่ ณ กูฏาคารศาลา ป่ามหาวัน เขตกรุงเวสาลีนั้น                                        เวรัญชภาณวาร จบ{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า :๑๕ }หน้าว่าง{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า :๑๖ }           พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ [๑. ปาราชิกกัณฑ์] ปาราชิกสิกขาบทที่ ๑ สุทินนภาณวาร                                          ๑. ปาราชิกกัณฑ์                                       ปาราชิกสิกขาบทที่ ๑                                     ว่าด้วยการเสพเมถุนธรรม                                           สุทินภาณวาร[๒๔] สมัยนั้น ที่หมู่บ้านกลันทคามไม่ห่างจากกรุงเวสาลี มีบุตรชายเศรษฐีชาวกลันทคาม ชื่อสุทิน วันหนึ่ง เขามีธระบางอย่างจึงเดินทางไปในกรุงเวสาลีกับเพื่อนๆ                                     ุขณะนั้น พระผู้มีพระภาคกำาลังประทับนั่งแสดงธรรมห้อมล้อมด้วยบริษัทจำานวนมากเขาได้เห็นแล้ว มีความคิดว่า “ทำาอย่างไรหนอ เราจึงจะได้ฟังธรรมบ้าง” จึงเข้าไปยัง
บริษัทแล้วนั่ง ณ ทีสมควร ได้มีความคิดดังนี้ว่า “ธรรมตามที่พระผู้มีพระภาคทรง                   ่แสดงนั้น เราเข้าใจว่า ‘การที่ผู้อยู่ครองเรือนจะประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์บริบรณ์อย่างยิ่งเหมือนสังข์ที่ขัดแล้ว มิใช่กระทำาได้ง่าย’ อย่ากระนั้นเลย เราควรจะ     ูปลงผม โกนหนวด นุ่งห่มผ้ากาสายะออกจากเรือนไปบวชเป็นอนาคาริก” ต่อจากนั้นเมื่อพระผูมีพระภาคทรงชี้แจงให้เห็นชัด ชวนให้อยากรับเอาไปปฏิบัติ เร้าใจให้          ้อาจหาญแกล้วกล้า ปลอบชโลมใจให้สดชื่นร่าเริงด้วยธรรมีกถาแล้ว บริษัทก็ลุกขึ้นถวายบังคมพระผู้มีพระภาค ทำาประทักษิณแล้วจากไป[๒๕] หลังจากบริษัทจากไปไม่นาน สุทินกลันทบุตรเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายบังคมแล้วนั่งลง ณ ที่สมควร สุทินกลันทบุตรผู้นั่ง ณ ที่สมควรแล้วได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคดังนี้ว่า “พระพุทธเจ้าข้า ธรรมตามที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดงนั้น ข้าพระพุทธเจ้าเข้าใจว่า ‘การที่ผู้อยู่ครองเรือนจะประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิบริบูรณ์อย่างยิ่งเหมือนสังข์ที่ขัดแล้ว มิใช่กระทำาได้ง่าย’                     ์ข้าพระพุทธเจ้าปรารถนาจะปลงผม โกนหนวด นุ่งห่มผ้ากาสายะ ออกจากเรือนมาบวช เป็นอนาคาริก ขอพระผู้มีพระภาคทรงพระกรุณาให้ข้าพระพุทธเจ้าบวชด้วยเถิด”“สุทิน มารดาบิดาอนุญาตให้เธอออกจากเรือนบวชเป็นอนาคาริกแล้วหรือ”“ยังมิได้อนุญาต พระพุทธเจ้าข้า”{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า :๑๗ }           พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ [๑. ปาราชิกกัณฑ์] ปาราชิกสิกขาบทที่ ๑ สุทินนภาณวาร“สุทิน พระตถาคตทั้งหลายย่อมไม่บวชให้กุลบุตรที่มารดาบิดายังไม่อนุญาต”“ข้าพระพุทธเจ้า จักหาวิธีให้มารดาบิดาอนุญาตให้ข้าพระพุทธเจ้าออกจากเรือนมาบวชเป็นอนาคาริก พระพุทธเจ้าข้า”                                           ขออนุญาตออกบวช[๒๖] ต่อมา สุทินกลันทบุตรทำาธุระในกรุงเวสาลีเสร็จแล้ว กลับไปหามารดาบิดาที่กลันทคาม ครั้นถึงแล้วจึงกล่าวกับมารดาบิดาดังนี้ว่า “คุณพ่อคุณแม่ธรรมตามที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดงนั้น ลูกเข้าใจว่า ‘การที่ผู้อยู่ครองเรือนจะประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์บริบรณ์อย่างยิ่งเหมือนสังข์ที่ขัดแล้วนี้มิใช่ทำาได้ง่าย’                                   ูลูกปรารถนาจะปลงผม โกนหนวด นุ่งห่มผ้ากาสายะ ออกจากเรือนไปบวชเป็นอนาคาริก คุณพ่อคุณแม่โปรดอนุญาตให้ลูกออกไปบวชเป็นอนาคาริกเถิด”เมื่อสุทินกลันทบุตรกล่าวอย่างนี้ มารดาบิดาตอบว่า “ลูกสุทิน เจ้าเป็นลูกคนเดียว เป็นที่รักที่ชอบใจของพ่อแม่ เจริญเติบโตมาด้วยความสุขสบาย ได้รับการเลี้ยงดูมาอย่างดี ความทุกข์ยากสักนิดหนึ่งลูกก็ยังไม่รู้จัก ถึงลูกจะตายไป พ่อแม่ก็ไม่ปรารถนาจะจาก แล้วเหตุไฉน พ่อแม่จะยอมให้ลูกผู้ยังมีชีวิตอยู่ออกจากเรือนไปบวชเป็นอนาคาริกเล่า”สุทินกลันทบุตรได้กล่าวกับมารดาบิดาดังนี้เป็นครั้งที่ ๒ ฯลฯ เป็นครั้งที่ ๓ฯลฯ แม้ครั้งที่ ๓ มารดาบิดาก็ตอบว่า “ลูกสุทิน เจ้าเป็นลูกคนเดียว ฯลฯ เหตุไฉนพ่อแม่จะยอมให้ลูกผู้ยังมีชีวิตอยู่ออกจากเรือนไปบวชเป็นอนาคาริกเล่า”[๒๗] ลำาดับนั้น สุทินกลันทบุตรวิตกว่า มารดาบิดาไม่อนุญาตให้เราบวชแน่จึงนอนบนพื้นที่ไม่มีเครื่องปูลาด ณ ที่นั้นเอง ตัดสินใจว่า เราจักตาย หรือจักได้บวชก็ที่ตรงนี้แหละ และแล้วเขาก็อดอาหารไปเรื่อยๆ ตั้งแต่ ๑ มื้อ ๒ มื้อ ๓ มื้อ ๔ มื้อ ๕มื้อ ๖ มื้อ จนถึง ๗ มื้อ
มารดาบิดาไม่อนุญาต[๒๘] ถึงกระนั้น มารดาบิดาของเขาก็คงยืนยันว่า “ลูกสุทิน เจ้าเป็นลูกคนเดียว เป็นทีรักที่ชอบใจของพ่อแม่ เจริญเติบโตมาด้วยความสุขสบาย ได้รับการ            ่{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า :๑๘ }           พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ [๑. ปาราชิกกัณฑ์] ปาราชิกสิกขาบทที่ ๑ สุทินนภาณวารเลี้ยงดูมาอย่างดี ความทุกข์ยากสักนิดหนึ่ง ลูกก็ยังไม่รู้จัก ถึงลูกจะตายไป พ่อแม่ก็ไม่ปรารถนาจะจาก แล้วเหตุไฉนพ่อแม่จะยอมให้ลูกผู้ยังมีชีวิตอยู่ออกจากเรือนไปบวชเป็นอนาคาริกได้เล่า ลุกขึ้นเถิด ลูกสุทิน จงกิน จงดื่ม จงรื่นเริง จงพอใจกินดื่ม รืนเริง ใช้สอยโภคทรัพย์ทำาบุญเถิด ถึงอย่างไร พ่อแม่ก็จะไม่อนุญาตให้ลูก       ่บวชแน่”เมื่อมารดาบิดากล่าวอย่างนี้ สุทินกลันทบุตรได้นิ่งเฉยเสีย มารดาบิดาได้ยืนยันกะสุทินกลันทบุตรแม้ครั้งที่ ๒ ฯลฯแม้ครั้งที่ ๓ ว่า “ลูกสุทิน เจ้าเป็นลูกคนเดียวเป็นที่รัก เป็นที่ชอบใจของพ่อแม่ ฯลฯ ลูกสุทิน จงกิน จงดื่ม จงรื่นเริง จงพอใจกิน ดืม ่รื่นเริง ใช้สอยโภคทรัพย์ทำาบุญเถิด ถึงอย่างไร พ่อแม่ก็จะไม่อนุญาตให้ลูกบวชแน่”สุทินกลันทบุตรก็ได้นิ่งเป็นครั้งที่ ๓                                          พวกเพื่อนช่วยเจรจาต่อมา พวกเพื่อนของสุทินกลันทบุตร พากันเข้าไปหาถึงที่อยู่ ครั้นถึงแล้วได้ปลอบใจว่า “สุทินเพื่อนรัก เพื่อนเป็นลูกคนเดียว เป็นที่รักที่ชอบใจของพ่อแม่เจริญเติบโตมาด้วยความสุขสบาย ได้รบการเลี้ยงดูมาอย่างดี ความทุกข์ยากสักนิด                                         ัหนึ่ง เพื่อนก็ยังไม่รู้จัก ถึงเพื่อนจะตายไป พ่อแม่ก็ไม่ปรารถนาจะจาก แล้วเหตุไฉนพ่อแม่จะยอมให้เพื่อนผู้ยังมีชีวิตอยู่ออกจากเรือนไปบวชเป็นอนาคาริกได้เล่า ลุกขึ้นเถิดเพื่อนรัก เพื่อนจงกิน จงดื่ม จงรื่นเริง พอใจกิน ดื่ม รืนเริง ใช้สอยโภคทรัพย์ทำาบุญ                                                       ่เถิด ถึงจะอย่างไร พ่อแม่ก็ไม่อนุญาตให้เพื่อนบวชแน่”เมื่อพวกเพื่อนกล่าวอย่างนี้ สุทินกลันทบุตรก็ได้แต่นิ่งเฉย พวกเพื่อนได้ปลอบใจสุทินกลันทบุตรเป็นครั้งที่ ๒ ฯลฯ เป็นครั้งที่ ๓ ว่า “สุทินเพื่อนรัก เพื่อนเป็นลูกคนเดียว เป็นที่รักที่ชอบใจของพ่อแม่ ฯลฯ พ่อแม่ก็ไม่อนุญาตให้เพื่อนบวชแน่” สุทินกลันทบุตรก็ได้นิ่งเฉยเป็นครั้งที่ ๓[๒๙] ต่อมา พวกสหายพากันเข้าไปหามารดาบิดาของสุทินกลันทบุตรถึงที่อยู่ กล่าวว่า “คุณพ่อคุณแม่ครับ สุทินนอนบนพื้นที่ไม่มีเครื่องปูลาดตัดสินใจว่าเราจักตาย หรือจักได้บวชก็ที่ตรงนี้แหละ ถ้าคุณพ่อคุณแม่ไม่ยอมให้เขาบวช เขาจัก{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า :๑๙ }           พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ [๑. ปาราชิกกัณฑ์] ปาราชิกสิกขาบทที่ ๑ สุทินนภาณวารตาย ณ ที่ตรงนั้นแน่ แต่ถ้ายอมให้เขาออกบวช คุณพ่อคุณแม่ ก็ยังจะได้พบเห็นเขาแม้บวชแล้ว ถ้าไม่ยินดีจะบวชอยู่ต่อไป เขาจะมีทางไปที่ไหนอื่นเล่า จะต้องกลับ
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑

More Related Content

What's hot

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒Tongsamut vorasan
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒Tongsamut vorasan
 
Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tongsamut vorasan
 
Tri91 30++สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๑
Tri91 30++สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๑Tri91 30++สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๑
Tri91 30++สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๑Tongsamut vorasan
 
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
Sarod Paichayonrittha
 
Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓
Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓
Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓Tongsamut vorasan
 
อนุสรณ์ ประวัตินายเลิศ ยงยันต์
อนุสรณ์ ประวัตินายเลิศ ยงยันต์อนุสรณ์ ประวัตินายเลิศ ยงยันต์
อนุสรณ์ ประวัตินายเลิศ ยงยันต์Wes Yod
 
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒Tongsamut vorasan
 
Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒
Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒
Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒Tongsamut vorasan
 
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔Tongsamut vorasan
 
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรมพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรมTongsamut vorasan
 
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)Tongsamut vorasan
 
Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tongsamut vorasan
 
Tri91 32+อังคุตรนิกาย+เอกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๑
Tri91 32+อังคุตรนิกาย+เอกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๑Tri91 32+อังคุตรนิกาย+เอกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๑
Tri91 32+อังคุตรนิกาย+เอกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๑Tongsamut vorasan
 
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551Chao Chao
 
คู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สาย
คู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สายคู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สาย
คู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สายPanda Jing
 
Tri91 39+ขุททกนิกาย+ขุททกปาฐะ+เล่ม+๑+ภาค+๑
Tri91 39+ขุททกนิกาย+ขุททกปาฐะ+เล่ม+๑+ภาค+๑Tri91 39+ขุททกนิกาย+ขุททกปาฐะ+เล่ม+๑+ภาค+๑
Tri91 39+ขุททกนิกาย+ขุททกปาฐะ+เล่ม+๑+ภาค+๑Tongsamut vorasan
 
Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tongsamut vorasan
 

What's hot (20)

ติวOne tsocial
ติวOne tsocialติวOne tsocial
ติวOne tsocial
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒
 
Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
 
Tri91 30++สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๑
Tri91 30++สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๑Tri91 30++สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๑
Tri91 30++สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๑
 
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
 
Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓
Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓
Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓
 
อนุสรณ์ ประวัตินายเลิศ ยงยันต์
อนุสรณ์ ประวัตินายเลิศ ยงยันต์อนุสรณ์ ประวัตินายเลิศ ยงยันต์
อนุสรณ์ ประวัตินายเลิศ ยงยันต์
 
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒
 
Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒
Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒
Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒
 
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
 
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรมพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
 
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
 
Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
 
Tri91 32+อังคุตรนิกาย+เอกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๑
Tri91 32+อังคุตรนิกาย+เอกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๑Tri91 32+อังคุตรนิกาย+เอกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๑
Tri91 32+อังคุตรนิกาย+เอกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๑
 
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
 
Community
CommunityCommunity
Community
 
คู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สาย
คู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สายคู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สาย
คู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สาย
 
Tri91 39+ขุททกนิกาย+ขุททกปาฐะ+เล่ม+๑+ภาค+๑
Tri91 39+ขุททกนิกาย+ขุททกปาฐะ+เล่ม+๑+ภาค+๑Tri91 39+ขุททกนิกาย+ขุททกปาฐะ+เล่ม+๑+ภาค+๑
Tri91 39+ขุททกนิกาย+ขุททกปาฐะ+เล่ม+๑+ภาค+๑
 
Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
 

More from Tongsamut vorasan

หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
Tongsamut vorasan
 
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษFood reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Tongsamut vorasan
 
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
Tongsamut vorasan
 
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
Tongsamut vorasan
 
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
Tongsamut vorasan
 
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติเจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
Tongsamut vorasan
 
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตเจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
Tongsamut vorasan
 
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมเพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
Tongsamut vorasan
 
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
Tongsamut vorasan
 
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
Tongsamut vorasan
 
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
Tongsamut vorasan
 
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
Tongsamut vorasan
 
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
Tongsamut vorasan
 
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
Tongsamut vorasan
 
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกากำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
Tongsamut vorasan
 
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
Tongsamut vorasan
 
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นหลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
Tongsamut vorasan
 
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทหนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
Tongsamut vorasan
 
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
Tongsamut vorasan
 
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
Tongsamut vorasan
 

More from Tongsamut vorasan (20)

หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
 
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษFood reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
 
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
 
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
 
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
 
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติเจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
 
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตเจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
 
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมเพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
 
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
 
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
 
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
 
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
 
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
 
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
 
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกากำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
 
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
 
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นหลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
 
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทหนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
 
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
 
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
 

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑

  • 1. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๔๕ เล่ม (ปกสีฟ้า) ทั้งออนไลน์และออฟไลน์ ที่มาของข้อมูล : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับ มจร. MCUTRAI Version 1.0 พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑ พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เวรัญชกัณฑ์ พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ ภาค ๑ _____________ ขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น เวรัญชกัณฑ์ เรื่องเวรัญชพราหมณ์[๑] สมัยนั้น พระผูมีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ ควงต้นสะเดาอันเป็น ้ที่อยู่ของนเฬรุยักษ์ เขตเมืองเวรัญชา พร้อมกับภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ประมาณ ๕๐๐ รูปเวรัญชพราหมณ์ได้ฟังข่าวว่า ท่านพระสมณโคดม เป็นศากยบุตร เสด็จออกผนวชจากศากยตระกูล ประทับอยู่ ณ ควงต้นสะเดาอันเป็นที่อยู่ของนเฬรุยักษ์ เขตเมืองเวรัญชา พร้อมกับภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ประมาณ ๕๐๐ รูป ท่านพระโคดมผู้เจริญนั้นมีกิตติศัพท์อันงามขจรไปอย่างนี้ว่า แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาค พระองค์นั้นเป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้ด้วยพระองค์เองโดยชอบ เพียบพร้อมด้วยวิชชาและจรณะเสด็จไปดี รูแจ้งโลก เป็นสารถีฝึกผู้ที่ควรฝึกได้อย่างยอดเยียม เป็นศาสดาของ ้ ่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นพระพุทธเจ้า เป็นพระผูมีพระภาค๑ ้เชิงอรรถ :๑ พระพุทธคุณ ทั้ง ๙ บทนี้ แต่ละบทมีอรรถอเนกประการ คือ๑. ชื่อว่าเป็นพระอรหันต์ เพราะห่างไกลจากกิเลส, เพราะกำาจัดข้าศึกคือกิเลส, เพราะหักซี่กำาแห่งสังสารวัฏคือการเวียนว่ายตายเกิด, เพราะเป็นผู้ควรรับไทยธรรม, เพราะไม่ทำาบาปในที่ลับ๒. ชื่อว่า ตรัสรูด้วยพระองค์เองโดยชอบ เพราะตรัสรู้ธรรมทั้งปวงโดยชอบและด้วยพระองค์เอง ้๓. ชื่อว่าเพียบพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ เพราะมีวิชชา ๓ และวิชชา ๘ ดังนี้ วิชชา ๓ คือ :-(๑) ปุพเพนิวาสานุสติญาณ ความรู้ที่ให้ระลึกชาติได้ (๒) จุตูปปาตญาณ ความรู้จุติ (ตาย) และอุบัติ(เกิด)ของสัตว์ (๓) อาสวักขยญาณ ความรู้ที่ทำาให้สิ้นอาสวะ วิชชา ๘ คือ (๑) วิปสสนาญาณ ญาณที่เป็น ัวิปัสสนา(๒) มโนมยิทธิ มีฤทธิทางใจ (๓) อิทธิวิธิ แสดงฤทธิ์ได้ต่าง ๆ (๔) ทิพพโสต หูทิพย์ (๕) เจโตปริยญาณ ์รู้จักกำาหนดจิตผู้อื่นได้ (๖) ปุพเพนิวาสานุสติญาณ ความรู้ที่ให้ระลึกชาติได้ (๗) ทิพพจักขุ ตาทิพย์{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า :๑ } พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เวรัญชกัณฑ์
  • 2. พระองค์ทรงรู้แจ้งโลกนี้พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก และหมู่สัตว์พร้อมทั้งสมณพราหมณ์เทวดาและมนุษย์ด้วยพระองค์เองแล้ว จึงทรงประกาศให้ผู้อื่นรู้ตาม ทรงแสดงธรรมมีความงามในเบื้องต้น มีความงามในท่ามกลางและมีความงามในที่สุด ทรงประกาศพรหมจรรย์ พร้อมทั้งอรรถและพยัญชนะ บริสุทธิ์บริบูรณ์ครบถ้วน การได้พบพระอรหันต์ทั้งหลายเช่นนี้ เป็นความดีอย่างแท้จริงเวรัญชพราหมณ์กล่าวตำาหนิพระผู้มีพระภาค[๒] ๑ต่อมา เวรัญชพราหมณ์เดินทางไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับได้สนทนาปราศรัยกับพระผู้มีพระภาคพอเป็นที่บันเทิงใจ พอเป็นที่ระลึกถึงกันและกันเชิงอรรถ :(= จุตปปาตญาณ) (๘) อาสวักขยญาณ ความรู้ที่ทำาให้สิ้นอาสวะ จรณะ ๑๕ คือ (๑) สีลสัมปทา ความถึง ูพร้อมด้วยศีล (๒) อินทรียสังวร การสำารวมอินทรีย์ (๓) โภชเนมัตตัญญุตา ความเป็นผูรู้จักประมาณในการ ้บริโภค (๔) ชาคริยานุโยค การหมั่นประกอบความเพียรเป็นเครื่องตื่น (๕) มีศรัทธา (๖) มีหิริ (๗) มีโอตตัปปะ (๘) เป็นพหูสูต (๙) วิรยารัมภะ ปรารภความเพียร (๑๐) มีสติมั่นคง (๑๑) มีปัญญา ิ(๑๒)ปฐมฌาน(๑๓) ทุติยฌาน (๑๔) ตติยฌาน (๑๕) จตุตถฌาน๔. ชื่อว่า เสด็จไปดี เพราะมีการเสด็จไปงาม เพราะเสด็จไปสู่ฐานะที่ดี เพราะเสด็จไปโดยชอบ และเพราะตรัสไว้โดยชอบ๕. ชื่อว่า รูแจ้งโลก เพราะทรงรู้แจ้งโลก เหตุเกิดโลก ความดับโลก วิธปฏิบัติให้ลุถึงความดับโลก (ทุกข์ ้ ีสมุทัย นิโรธ มรรค) และทรงรู้แจ้งโลกทั้ง ๓ คือ สังขารโลก สัตวโลก โอกาสโลก๖. ชื่อว่า เป็นสารถีฝึกผู้ที่ควรฝึกได้อย่างยอดเยี่ยม เพราะทรงฝึกฝนคนที่ควรฝึกฝน ทั้งเทวดา มนุษย์อมนุษย์ สัตว์ดิรจฉาน ด้วยอุบายต่างๆ ั๗. ชื่อว่า เป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เพราะทรงสั่งสอนเทวดาและมนุษย์ด้วยประโยชน์ในโลกนี้ ประโยชน์ในโลกหน้า และประโยชน์อย่างยิ่งคือพระนิพพาน ตามสมควรแก่ประโยชน์ที่เทวดาและมนุษย์จะพึงได้รบ และเพราะทรงช่วยพาหมู่สัตว์ให้พ้นความกันดารคือความเกิด ดุจสัตถวาหะคือหัวหน้า ักองเกวียนพาบริวารข้ามทางกันดาร๘. ชื่อว่า เป็นพระพุทธเจ้า เพราะทรงรู้สิ่งที่ควรรู้ทั้งหมดด้วยพระองค์เองและทรงสอนให้ผู้อื่นรู้ตาม๙. ชื่อว่า เป็นพระผู้มีพระภาค เพราะ (๑) ทรงมีโชค (๒) ทรงทำาลายข้าศึกคือกิเลส (๓) ทรงประกอบด้วยภคธรรม ๖ ประการ (คือ ความเป็นใหญ่เหนือจิตของตน, โลกุตตรธรรม, ยศ, สิร, ความสำาเร็จ ิประโยชน์ตามต้องการ และความเพียร) (๔) ทรงจำาแนกแจกแจงธรรม (๕) ทรงเสพอริยธรรม (๖) ทรงคายตัณหาในภพทั้งสาม (๗) ทรงเป็นที่เคารพของชาวโลก (๘) ทรงอบรมพระองค์ดีแล้ว (๙) ทรงมีส่วนแห่งปัจจัย๔ เป็นต้น (ตามนัย วิ.อ. ๑/๑/๑๐๓-๑๑๘, สารตฺถ.ฏีกา. ๑/๒๗๐-๔๐๐)อนึ่ง พุทธคุณนี้ ท่านแบ่งเป็น ๑๐ ประการ โดยแยกพุทธคุณข้อ ๖ เป็น ๒ ประการ คือ (๑) เป็นผูยอด ้เยียม ่(๒) เป็นสารถีฝึกผู้ที่ควรฝึกได้ (วิสุทฺธิ. ๑/๒๖๕, วิ.อ ๑/๑/๑๑๒-๑๑๓)๑ องฺ.อฏฺฐก. ๒๓/๑๑/๑๔๓-๑๔๙{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า :๒ } พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เวรัญชกัณฑ์
  • 3. แล้วนั่ง ณ ที่สมควร กราบทูลว่า “ท่านพระโคดม ข้าพเจ้าได้ทราบมาว่า พระสมณโคดมไม่ยอมไหว้ ไม่ลุกรับพวกพราหมณ์ผู้แก่ ผู้เฒ่า ผู้ใหญ่ ผูล่วงกาลผ่านวัย ้หรือไม่เชื้อเชิญให้นั่ง เรื่องที่ข้าพเจ้าได้ทราบมานั้นจริงทีเดียว การที่ท่านพระโคดมทำาเช่นนั้นไม่สมควรเลย”พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า “พราหมณ์ เรายังไม่เห็นใครไม่ว่าในโลกไหนๆในบริษัทไหนๆ ทีเราควรจะไหว้ ลุกรับหรือเชื้อเชิญให้นั่ง เพราะว่าตถาคตไหว้ ลุกรับ ่หรือเชื้อเชิญผู้ใดให้นั่ง ศีรษะของผู้นั้นจะต้องขาดตกไป”[๓] พราหมณ์กราบทูลต่อไปว่า “ท่านพระโคดม เป็นคนไม่มีรส๑”พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า “พราหมณ์ ข้อที่เขากล่าวหาเรานั้นมีมูลอยู่เพราะตถาคตละรส คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะได้หมดสิ้น ตัดรากถอนโคนเหมือนต้นตาลที่ถูกตัดรากถอนโคนไปแล้วเหลือแต่พื้นที่ ทำาให้ไม่มี เกิดขึ้นต่อไปไม่ได้ข้อที่เขากล่าวหาเรานั้นมีมูลอยู่ แต่ไม่ใช่ที่ท่านกล่าวถึง”[๔] พราหมณ์กราบทูลต่อไปว่า “ท่านพระโคดม เป็นคนไม่มีสมบัติ”พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า “พราหมณ์ ข้อที่เขากล่าวหาเรานั้นมีมูลอยู่เพราะตถาคตละสมบัติคือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะได้หมดสิ้น ตัดรากถอนโคนเหมือนต้นตาลที่ถูกตัดรากถอนโคนไปแล้วเหลือแต่พื้นที่ ทำาให้ไม่มี เกิดขึ้นต่อไปไม่ได้ข้อที่เขากล่าวหาเรานั้นมีมูลอยู่ แต่ไม่ใช่ที่ท่านกล่าวถึง”[๕] พราหมณ์กราบทูลต่อไปว่า “ท่านพระโคดม สอนไม่ให้ทำา”พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า “พราหมณ์ ข้อที่เขากล่าวหาเรานั้นมีมูลอยู่เพราะเราสอนไม่ให้ทำากายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ตลอดถึงการไม่ให้ทำาบาปอกุศลธรรมต่างๆ ข้อที่เขากล่าวหาเรานั้นมีมูลอยู่ แต่ไม่ใช่ที่ท่านกล่าวถึง”เชิงอรรถ :๑ ข้อที่พราหมณ์ตำาหนิพระผู้มีพระภาคว่า เป็นคนไม่มีรส ในที่นี้ หมายถึงเป็นคนไม่มีสัมมาคารวะเช่น การกราบไหว้ การต้อนรับ พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า พระองค์ละรสได้แล้ว หมายถึงพระองค์ละอัสสาทะ ความพอใจในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสได้แล้ว จึงเป็นคนไม่มีรส คือไม่ยินดีในรูป เสียง กลิ่น รสสัมผัส (วิ.อ. ๑/๓/๑๒๕-๑๒๖){ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า :๓ } พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เวรัญชกัณฑ์[๖] พราหมณ์กราบทูลต่อไปว่า “ท่านพระโคดม สอนให้ทำาลาย”พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า “พราหมณ์ ข้อที่เขากล่าวหาเรานั้นมีมูลอยู่เพราะเราสอนให้ทำาลายราคะ โทสะ โมหะ ตลอดถึงให้ทำาลายบาปอกุศลธรรมต่างๆข้อที่เขากล่าวหาเรานั้นมีมูลอยู่ แต่ไม่ใช่ที่ท่านกล่าวถึง”[๗] พราหมณ์กราบทูลต่อไปว่า “ท่านพระโคดม เป็นคนช่างรังเกียจ”พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า “พราหมณ์ ข้อที่เขากล่าวหาเรานั้นมีมูลอยู่เพราะเราช่างรังเกียจกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต และบาปอกุศลธรรมต่างๆ ข้อที่เขากล่าวหาเรานั้นมีมูลอยู่ แต่ไม่ใช่ที่ท่านกล่าวถึง”[๘] พราหมณ์กราบทูลต่อไปว่า “ท่านพระโคดม เป็นคนช่างกำาจัด”พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า “พราหมณ์ ข้อที่เขากล่าวหาเรานั้นมีมูลอยู่เพราะเราแสดงธรรมเพื่อกำาจัดราคะ โทสะ โมหะ และบาปอกุศลธรรมต่างๆ ข้อที่เขากล่าวหาเรานั้นมีมูลอยู่ แต่ไม่ใช่ที่ท่านกล่าวถึง”[๙] พราหมณ์กราบทูลต่อไปว่า “ท่านพระโคดม เป็นคนช่างเผาผลาญ”
  • 4. พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า “พราหมณ์ ข้อที่เขากล่าวหาเรานั้นมีมูลอยู่เพราะเรากล่าวถึงบาปอกุศลธรรมทั้งหลาย คือ กายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริตว่าเป็นสิ่งที่ควรเผาผลาญ พราหมณ์ เราเรียกคนที่ละบาปอกุศลธรรมทั้งหลายทีควร ่เผาผลาญ ตัดรากถอนโคนเหมือนต้นตาลที่ถูกตัดรากถอนโคนไปแล้วเหลือแต่พื้นที่ทำาให้ไม่มี เกิดขึ้นต่อไปไม่ได้ว่า เป็นคนช่างเผาผลาญ ตถาคตละบาปอกุศลธรรมต่างๆที่ควรเผาผลาญได้หมดสิ้น ข้อที่เขากล่าวหาเรานั้นมีมูลอยู่ แต่ไม่ใช่ที่ท่านกล่าวถึง”[๑๐] พราหมณ์กราบทูลต่อไปว่า “ท่านพระโคดม เป็นคนไม่ผุดไม่เกิด”พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า “พราหมณ์ ข้อที่เขากล่าวหาเรานั้นมีมูลอยู่เพราะเราเรียกคนที่ละการอยู่ในครรภ์และการเกิดใหม่ได้หมด ตัดรากถอนโคนเหมือนต้นตาลที่ถูกตัดรากถอนโคนไปแล้วเหลือแต่พื้นที่ ทำาให้ไม่มี เกิดขึ้นต่อไปไม่ได้ว่า เป็นคนไม่ผุดไม่เกิด ตถาคตละการอยู่ในครรภ์และการเกิดใหม่ได้หมดสิ้นแล้วข้อที่เขากล่าวหาเรานั้นมีมูลอยู่ แต่ไม่ใช่ที่ท่านกล่าวถึง”{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า :๔ } พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เวรัญชกัณฑ์ ทรงอุปมาด้วยลูกไก่[๑๑] “พราหมณ์ ไข่ ๘ ฟอง ๑๐ ฟอง หรือ ๑๒ ฟอง ที่แม่ไก่กกหรือฟักดีแล้ว ลูกไก่ตัวที่ใช้เล็บหรือจะงอยปากทำาลายกระเปาะ๑ ไข่ออกมาได้ก่อน ควรเรียกมันว่า เป็นตัวพี่ หรือตัวน้อง” “ควรเรียกว่า พี่ เพราะมันแก่กว่าเขา”“เช่นเดียวกันนั่นแหละพราหมณ์ ในขณะที่หมู่สัตว์ ถูกกระเปาะไข่คืออวิชชาห่อหุ้มอยู่ เราได้ทำาลายกระเปาะไข่คืออวิชชา ผู้เดียวเท่านั้นสำาเร็จอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณอันยอดเยี่ยม จึงเป็นพี่ใหญ่ผู้ประเสริฐที่สดของโลก ุ ฌาน ๔พราหมณ์ เราปรารภความเพียร ไม่ย่อหย่อน มีสติตั้งมั่น ไม่หลงลืม มีกายสงบ ไม่กระสับกระส่าย มีจิตแน่วแน่เป็นสมาธิ ปฐมฌานเราสงัดจากกามและอกุศลธรรมทั้งหลายแล้ว บรรลุปฐมฌานที่มีวิตก วิจารปีติ และสุขอันเกิดจากวิเวกอยู่ ทุติยฌานเพราะวิตก วิจารสงบระงับไปแล้ว เราบรรลุทุตยฌาน มีความผ่องใสภายใน มี ิภาวะที่จตเป็นหนึ่งผุดขึ้น๒ ไม่มีวิตกไม่มีวิจาร มีแต่ปติและสุขอันเกิดจากสมาธิเท่านั้นอยู่ ิ ี ตติยฌานเพราะปีติจางคลายไปแล้ว เรามีอุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย ได้บรรลุตติยฌานที่พระอริยะทั้งหลายสรรเสริญว่า ผู้มีอุเบกขา มีสติ อยู่เป็นสุข
  • 5. เชิงอรรถ :๑ กระเปาะ คือ เปลือกไข่ส่วนที่มีสัณฐานนูนกลม คำาว่า “กระเปาะ” คือ รูปนูนกลม สิ่งต่างๆ ที่มีสัณฐานคล้ายคลึงเช่นนั้น เรียกว่า กระเปาะ เช่น กระเปาะไข่ กระเปาะดอกไม้๒ เจตโส เอโกทิภาวำ ภาวะที่จิตเป็นหนึ่งผุดขึ้น คำาว่า “เอโกทิ” เป็นชื่อของสมาธิ ทุตยฌาน ชื่อว่า ิเอโกทิภาวะ เพราะทำาสมาธิที่ชื่อว่าเอโกทินี้ให้เกิดเจริญขึ้น พระผู้มีพระภาคตรัสว่า “มีภาวะที่จิตเป็นหนึ่งผุดขึ้น” เพราะสมาธิชื่อเอโกทินี้มีแก่จิตเท่านั้น ไม่มีแก่สัตว์ ไม่มีแก่ชีวะ (วิ.อ. ๑/๑๑/๑๔๓-๑๔๔){ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า :๕ } พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เวรัญชกัณฑ์ จตุตถฌานเพราะละสุขและทุกข์ได้แล้ว เพราะโสมนัสและโทมนัสดับไปก่อนแล้ว เราได้บรรลุจตุตถฌานที่ไม่มีทุกข์ ไม่มีสข มีสติบริสทธิ์เพราะอุเบกขาอยู่” ุ ุ วิชชา ๓ ปุพเพนิวาสานุสติญาณ[๑๒] “เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผุดผ่อง ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากความเศร้าหมอง อ่อน เหมาะแก่การใช้งาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ เรานั้น ได้น้อมจิตไปเพื่อปุพเพนิวาสานุสติญาณ ระลึกชาติก่อนได้หลายชาติ คือ ๑ ชาติบ้าง ๒ชาติบ้าง ๓ ชาติบ้าง ๔ ชาติบ้าง ๕ ชาติบ้าง ๑๐ ชาติบ้าง ๒๐ ชาติบ้าง ๓๐ ชาติบ้าง๔๐ ชาติบ้าง ๕๐ ชาติบ้าง ๑๐๐ ชาติบ้าง ๑,๐๐๐ ชาติบ้าง ๑๐,๐๐๐ ชาติบ้างตลอดสังวัฏฏกัปบ้าง ตลอดวิวัฏฏกัปบ้าง ตลอดสังวัฏฏกัปและวิวัฏฏกัปบ้าง หลายกัปว่า ในภพโน้น เรามีชื่ออย่างนั้น มีตระกูล มีวรรณะ มีอาหาร เสวยสุขทุกข์ และมีอายุอย่างนั้นๆ จุติจากภพนั้นก็ไปเกิดในภพโน้น มีชื่อ มีตระกูล มีวรรณะ มีอาหารเสวยสุขทุกข์ และมีอายุอย่างนั้นๆ จุติจากภพนั้นจึงมาเกิดในภพนี้ เราระลึกชาติก่อนได้หลายชาติ พร้อมทั้งลักษณะทั่วไป และชีวประวัติอย่างนี้พราหมณ์ เราได้บรรลุวิชชาที่ ๑ ในยามแรกแห่งราตรี ความมืดมิดคืออวิชชา เรากำาจัดได้แล้ว แสงสว่างคือวิชชาได้เกิดขึ้นแก่เรา เปรียบเหมือนแสงสว่างเกิดขึ้นแก่บุคคลผู้ไม่ประมาท มีความเพียร อุทิศกายและใจพราหมณ์ นี้คือการเจาะกระเปาะไข่คืออวิชชาออกมาครั้งที่ ๑ ของเราเหมือนการเจาะออกจากกระเปาะไข่ของลูกไก่” จุตปปาตญาณ ู[๑๓] “เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผุดผ่อง ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากความเศร้าหมอง อ่อน เหมาะแก่การใช้งาน ตั้งมั่นไม่หวั่นไหวอย่างนี้ เรานั้นได้น้อมจิตไปเพื่อจุตปปาตญาณ เห็นหมู่สัตว์ผู้กำาลังจุติ กำาลังอุบัติ ทั้งชั้นตำ่าและชั้นสูง งาม ู{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า :๖ }
  • 6. พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เวรัญชกัณฑ์และไม่งาม เกิดดีและไม่ดี ด้วยตาทิพย์อันบริสุทธิเหนือมนุษย์ เรารู้ชัดถึงหมู่สัตว์ผู้ ์เป็นไปตามกรรมว่า สัตว์ที่ประกอบกายทุจริต วจีทจริต มโนทุจริต กล่าวร้ายพระอริยะ ุมีความเห็นผิด และชักชวนผู้อื่นให้ทำากรรมตามความเห็นผิด พวกเขาหลังจากตายแล้วจะไปบังเกิดในอบาย ทุคติ วินิบาต นรก แต่หมู่สัตว์ทประกอบกายสุจริต วจีสุจริต ี่มโนสุจริต ไม่กล่าวร้ายพระอริยะ มีความเห็นชอบ ชักชวนผู้อื่นให้ทำากรรมตามความเห็นชอบ พวกเขาหลังจากตายแล้ว จะไปบังเกิดในสุคติโลกสวรรค์พราหมณ์ เราได้บรรลุวิชชาที่ ๒ ในยามที่ ๒ แห่งราตรี ความมืดมิดคืออวิชชา เรากำาจัดได้แล้ว แสงสว่างคือวิชชาได้เกิดขึ้นแก่เรา เปรียบเหมือนแสงสว่างเกิดแก่บุคคลผู้ไม่ประมาท มีความเพียร อุทิศกายและใจพราหมณ์ นี้คือการเจาะกระเปาะไข่คืออวิชชาออกมาครั้งที่ ๒ ของเราเหมือนการเจาะออกจากกระเปาะไข่ของลูกไก่” อาสวักขยญาณ[๑๔] “เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผุดผ่อง ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากความเศร้าหมอง อ่อน เหมาะแก่การใช้งาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ เรานั้นได้น้อมจิตไปเพื่ออาสวักขยญาณ ได้รู้ชัดตามความเป็นจริงว่า นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัยนี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา นี้อาสวะ นี้อาสวสมุทัย นี้อาสวนิโรธ นี้อาสวนิโรธคามินีปฏิปทา เมื่อเรารูเห็นอยู่อย่างนี้ จิตได้หลุดพ้นจากกามาสวะ ้ภวาสวะ อวิชชาสวะ เมื่อจิตหลุดพ้นแล้ว ก็รู้ว่า หลุดพ้นแล้ว รูชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว ้อยู่จบพรหมจรรย์แล้ว๑ ทำากิจที่ควรทำาเสร็จแล้ว ไม่มีกิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้อีกต่อไปพราหมณ์ เราได้บรรลุวิชชาที่ ๓ ในยามที่ ๓ แห่งราตรี ความมืดมิดคืออวิชชาเรากำาจัดได้แล้ว แสงสว่างคือวิชชาได้เกิดขึ้นแก่เรา เปรียบเหมือนแสงสว่างเกิดขึ้นแก่บุคคลผู้ไม่ประมาท มีความเพียร อุทิศกายและใจเชิงอรรถ :๑ คำาว่า “พรหมจรรย์” ในที่นี้หมายเอาอริยมรรค คือ พระอรหันต์อยู่ประพฤติอริยมรรคจบแล้ว ส่วนกัลยาณปุถุชนและพระเสขะ ๗ พวก ยังต้องอยู่ประพฤติมรรคพรหมจรรย์ต่อไป (วิ.อ. ๑/๑๔/๑๖๙){ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า :๗ } พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เวรัญชกัณฑ์พราหมณ์ นี้คือการเจาะกระเปาะไข่คืออวิชชาออกมาครั้งที่ ๓ ของเราเหมือนการเจาะออกจากกระเปาะไข่ของลูกไก่” เวรัญชพราหมณ์แสดงตนเป็นอุบาสก[๑๕] เมื่อตรัสอย่างนี้ เวรัญชพราหมณ์ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคดังนี้ว่า“ท่านพระโคดมเป็นพี่ใหญ่ ผู้ประเสริฐที่สุด ท่านพระโคดม ภาษิตของพระองค์ชัดเจนไพเราะยิ่งนัก ท่านพระโคดม ภาษิตของพระองค์ชัดเจนไพเราะยิ่งนัก พระองค์ทรงประกาศธรรมแจ่มแจ้ง โดยประการต่างๆ เปรียบเหมือนบุคคลหงายของที่ควำ่าเปิดของที่ปิด บอกทางแก่ผู้หลงทาง หรือตามประทีปในที่มืด ด้วยตั้งใจว่า คนมี
  • 7. ตาดีจักเห็นรูป ข้าพระองค์นี้ขอถึงท่านพระโคดมพร้อมทั้งพระธรรมและพระสงฆ์เป็นสรณะ ขอท่านพระโคดมจงทรงจำาข้าพระองค์ว่าเป็นอุบาสกผู้ถึงสรณะ ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปจนตลอดชีวิต และขอท่านพระโคดมพร้อมกับภิกษุสงฆ์ทรงรับคำานิมนต์ของข้าพระองค์ อยู่จำาพรรษาที่เมืองเวรัญชาด้วยเถิด”พระผู้มีพระภาคทรงรับคำานิมนต์โดยดุษณีภาพ ครั้นเวรัญชพราหมณ์ทราบว่าพระผู้มีพระภาคทรงรับนิมนต์แล้วจึงลุกขึ้นจากอาสนะถวายบังคมพระผู้มีพระภาคกระทำาประทักษิณแล้วจากไป๑ เมืองเวรัญชาเกิดข้าวยากหมากแพง[๑๖] สมัยนั้น เมืองเวรัญชาเกิดข้าวยากหมากแพง ประชาชนมีความเป็นอยู่แร้นแค้น ใช้สลากปันส่วนซื้ออาหาร ล้มตายกันกระดูกขาวเกลื่อน ยากที่พระอริยะจะบิณฑบาตยังชีพได้เชิงอรรถ :๑ กระทำาประทักษิณ คือ เดินเวียนขวา พราหมณ์เดินประนมมือเวียนไปทางขวาตามเข็มนาฬิกา ๓ รอบโดยมีพระผู้มีพระภาคอยู่ทางขวา เสร็จแล้วหันหน้าไปทางพระผู้มีพระภาค เดินถอยหลังจนสุดสายตา คือจนมองไม่เห็นพระผู้มีพระภาค คุกเข่าลงกราบด้วยเบญจางคประดิษฐ์แล้วเดินจากไป (วิ.อ.๑/๑๕/๑๗๖-๑๗๗){ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า :๘ } พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เวรัญชกัณฑ์ต่อมา พวกพ่อค้าม้าชาวเมืองอุตตราบถ มีม้าอยู่ประมาณ ๕๐๐ ตัว เข้าพักแรมช่วงฤดูฝนในเมืองเวรัญชา พวกเขาตระเตรียมข้าวนึ่ง๑ เพื่อถวายพระภิกษุรปละ ูประมาณ ๑ ทะนานไว้ที่คอกม้า รุงเช้า ภิกษุทั้งหลายครองอันตรวาสก ถือบาตรและ ่จีวรไปบิณฑบาตในเมืองเวรัญชา บิณฑบาตไม่ได้เลย จึงไปทีคอกม้า รับข้าวนึ่งรูป ่ละประมาณ ๑ ทะนาน นำาไปตำาให้ละเอียดแล้วฉัน ส่วนพระอานนท์บดข้าวนึ่งประมาณ๑ ทะนานบนหินบดแล้วน้อมเข้าไปถวายพระผู้มีพระภาค พระองค์เสวยข้าวนั้น พุทธประเพณีพระผู้มีพระภาคได้ทรงสดับเสียงครก พระตถาคตเจ้าทั้งหลายทรงทราบเรื่องตรัสถามก็มี ไม่ตรัสถามก็มี ทรงทราบกาลอันควร ตรัสถามก็มี ไม่ตรัสถามก็มี ตรัสถามเรื่องที่เป็นประโยชน์ ไม่ตรัสถามเรื่องที่ไม่เป็นประโยชน์ เพราะพระตถาคตเจ้าทั้งหลายทรงขจัดเรื่องที่ไม่เป็นประโยชน์เสียด้วยอริยมรรคแล้ว พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทั้งหลายสอบถามภิกษุทั้งหลายด้วยเหตุ ๒ ประการ คือ จะทรงแสดงธรรมอย่างหนึ่ง จะทรงบัญญัติสิกขาบทแก่พระสาวกอย่างหนึ่งลำาดับนั้น พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกพระอานนท์มารับสั่งถามว่า “นั่นเสียงครกใช่ไหม อานนท์”พระอานนท์จึงกราบทูลเรื่องนั้นให้ทรงทราบ“อานนท์ ดีแล้วๆ พวกเธอเป็นสัตบุรุษ ชนะได้เด็ดขาดแล้ว ข้าวสาลีเจือด้วยเนื้อเพื่อนพรหมจารีในภายหลังจะพากันดูหมิ่น”๒
  • 8. เชิงอรรถ :๑ ปูลกำ นาม นิตฺถุสำ กตฺวา ฯเปฯ ที่ชื่อว่า ข้าวนึ่ง ได้แก่ ข้าวสารเหนียวที่เอาแกลบออกแล้วนึ่งเก็บไว้ จะเรียกว่า ข้าวตาก ก็ได้ พวกพ่อค้านิยมนำาติดตัวไปในเวลาเดินทางไปค้าขายยังต่างเมือง เพื่อเป็นอาหารม้าในถิ่นที่อาหารม้าหายาก (วิ.อ. ๑/๑๖/๑๗๙)๒ ในอนาคต เพื่อนพรหมจารีในภายหลัง เช่นพวกภิกษุฉัพพัคคีย์ จักดูหมิ่นข้าวสุกเจือด้วยเนื้อที่เขาถวายเพราะความเลื่อมใสในข้อปฏิบัตของพวกเธอ ซึ่งทำาได้ยากที่เมืองเวรัญชา (วิ.อ. ๑/๑๖/๑๘๔-๕, ิสารตฺถ.ฏีกา ๑/๑๖/๕๓๙){ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า :๙ } พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เวรัญชกัณฑ์ พระมหาโมคคัลลานะเปล่งสีหนาท[๑๗] ครั้งนั้น ท่านพระมหาโมคคัลลานะเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ครันถึงแล้วได้ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคแล้วนั่งลง ณ ที่สมควร ท่าน ้พระมหาโมคคัลลานะผู้นั่งอยู่ ณ ที่สมควรแล้วได้กราบทูลพระผูมีพระภาคดังนี้ว่า ้“เวลานี้เมืองเวรัญชาเกิดข้าวยากหมากแพง ประชาชนมีความเป็นอยู่แร้นแค้น ใช้สลากปันส่วนซื้ออาหาร ล้มตายกันกระดูกขาวเกลื่อน ยากที่พระอริยะจะบิณฑบาตยังชีพได้ พระพุทธเจ้าข้า พื้นดินใต้มหาปฐพีนี้มีโอชะ มีรสอร่อย เหมือนนำ้าผึ้งหวี่ที่ไม่มีตัวอ่อน ขอประทานพระวโรกาส ข้าพระพุทธเจ้าจะพลิกแผ่นดิน เพื่อให้ภิกษุทั้งหลายได้ฉันง้วนดิน”“ในแผ่นดินมีสัตว์อาศัยอยู่ เธอจักทำาอย่างไรกับสัตว์เหล่านั้น โมคคัลลานะ”“ข้าพระพุทธเจ้าจักเนรมิตฝ่ามือข้างหนึ่งให้เป็นเช่นแผ่นดินใหญ่ ย้ายเหล่าสัตว์ที่อาศัยแผ่นดินอยู่ไปรวมกันที่ฝ่ามือนั้น แล้วใช้มืออีกข้างหนึ่งพลิกแผ่นดินพระพุทธเจ้าข้า”“อย่าเลย โมคคัลลานะ เธออย่าพอใจที่จะพลิกแผ่นดินเลย หมู่สัตว์จะเข้าใจผิดได้”“ขอประทานพระวโรกาสให้ภิกษุสงฆ์ทุกรูปไปบิณฑบาตในอุตตรกุรุทวีปเถิดพระพุทธเจ้าข้า”“เธอจักทำาอย่างไรกับภิกษุที่ไม่มีฤทธิ์”“ข้าพระพุทธเจ้าจักทำาให้ภิกษุสงฆ์ทุกรูปไปได้ พระพุทธเจ้าข้า”“อย่าเลย โมคคัลลานะ เธออย่าพอใจการที่จะพาภิกษุสงฆ์ทุกรูปไปบิณฑบาตที่อุตตรกุรุทวีปเลย” พระสารีบุตรทูลถามถึงเหตุที่ทำาให้พรหมจรรย์ดำารงอยู่นานและไม่นาน[๑๘] ครั้งนั้น ท่านพระสารีบุตรหลีกเร้นอยู่ในที่สงัด รำาพึงขึ้นมาอย่างนี้ว่า“พรหมจรรย์๑ ของพระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าพระองค์ไหนดำารงอยู่ไม่นาน ของพระเชิงอรรถ :๑ “พรหมจรรย์” ในที่นี้หมายถึง ศาสนา (วิ.อ. ๑/๑๘/๑๘๙){ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า :๑๐ }
  • 9. พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เวรัญชกัณฑ์ผู้มีพระภาคพุทธเจ้าพระองค์ไหนดำารงอยู่นาน” ครั้นเวลาเย็นจึงออกจากที่พักเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ครั้นถึงแล้วได้ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคแล้วนั่งลงณ ที่สมควร ท่านพระสารีบุตรผู้นั่งอยู่ ณ ที่สมควรแล้ว ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคดังนี้ว่า “พระพุทธเจ้าข้า เมื่อข้าพระองค์หลีกเร้นอยู่ในที่สงัด ได้เกิดความรำาพึงขึ้นมาอย่างนี้ว่า ‘พรหมจรรย์ของพระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าพระองค์ไหนดำารงอยู่ไม่นาน ของพระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าพระองค์ไหนดำารงอยู่นาน’ พรหมจรรย์ของพระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าพระองค์ไหนดำารงอยู่ไม่นาน ของพระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าพระองค์ไหนดำารงอยู่นาน พระพุทธเจ้าข้า”พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า “สารีบุตร พรหมจรรย์ของพระพุทธเจ้าวิปัสสีพระพุทธเจ้าสิขี พระพุทธเจ้าเวสสภู ดำารงอยู่ไม่นาน พรหมจรรย์ของพระพุทธเจ้ากกุสันธะ พระพุทธเจ้าโกนาคมนะ และพระพุทธเจ้ากัสสปะ ดำารงอยู่นาน”[๑๙] “อะไรเป็นเหตุเป็นปัจจัยทำาให้พรหมจรรย์ของพระพุทธเจ้าวิปัสสีพระพุทธเจ้าสิขี และพระพุทธเจ้าเวสสภู ดำารงอยู่ไม่นาน พระพุทธเจ้าข้า”“สารีบุตร พระพุทธเจ้าวิปัสสี พระพุทธเจ้าสิขี พระพุทธเจ้าเวสสภู ทรงผ่อนคลายทีจะแสดงธรรมโดยพิสดารแก่สาวก สุตตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน ่อิติวุตตกะ ชาดก อัพภูตธรรม เวทัลละ๑ ของพระพุทธเจ้าทั้ง ๓ พระองค์จึงมีน้อยมิได้ทรงบัญญัติสิกขาบทไว้แก่สาวก ไม่มีการแสดงปาติโมกข์ เมื่อหมดพระพุทธเจ้าและสาวกผู้ตรัสรู้ตามแล้ว สาวกชั้นหลัง ๆ ต่างชื่อ ต่างโคตร ต่างชาติวรรณะ ได้เข้ามาบวชจากต่างตระกูล เธอเหล่านั้นพาให้พรหมจรรย์สญสิ้นไปเร็วพลัน เหมือนดอก ูไม้นานาพรรณกองอยู่บนแผ่นกระดาน ยังไม่ร้อยด้วยด้าย ย่อมถูกลมพัดกระจัดกระจายไป เพราะเหตุไร เพราะไม่ได้เอาด้ายร้อยไว้ ข้อนี้ฉันใด เมื่อหมดพระพุทธเจ้าและสาวกผู้ตรัสรู้ตามแล้ว สาวกชั้นหลังๆ ต่างชื่อ ต่างโคตร ต่างชาติวรรณะ ได้เข้ามาบวชจากต่างตระกูล เธอเหล่านั้นพาให้พรหมจรรย์สูญสิ้นไปเร็วพลันฉันนั้นเชิงอรรถ :๑ สุตตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาดก อัพภูตธรรม เวทัลละ รวมเรียกว่า “นวังคสัตถุศาสน์”{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า :๑๑ } พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เวรัญชกัณฑ์อนึ่ง พระพุทธเจ้าเหล่านั้นไม่ทรงผ่อนคลายที่จะกำาหนดจิตของสาวกด้วยพระทัยแล้วทรงสั่งสอน สารีบุตร เรื่องเคยเกิดขึ้นแล้ว พระพุทธเจ้าเวสสภู ทรงกำาหนดจิตภิกษุสงฆ์แล้วทรงสั่งสอนภิกษุสงฆ์ ๑,๐๐๐ รูป ในราวป่าน่าสะพึงกลัวแห่งหนึ่งว่า “เธอทั้งหลายจงพิจารณาเช่นนี้ อย่าพิจารณาอย่างนั้น จงตั้งใจอย่างนี้อย่าตั้งใจอย่างนั้น จงละสิ่งนี้ จงเข้าถึงสิ่งนี้อยู่เถิด” จิตของภิกษุ ๑,๐๐๐ รูป ที่พระพุทธเจ้าเวสสภูทรงสั่งสอน หลุดพ้นจากอาสวะ เพราะไม่มีความถือมั่น สารีบุตรเพราะราวป่าน่าสะพึงกลัว น่าสยดสยอง จึงมีเรื่องดังนี้ คือ ภิกษุผู้ไม่ปราศจากราคะ เข้าไปราวป่า ส่วนมากเกิดความกลัวขนลุกขนพองสารีบุตร นี้คือเหตุปัจจัยที่ทำาให้พรหมจรรย์ของพระพุทธเจ้าวิปัสสี พระ
  • 10. พุทธเจ้าสิขี พระพุทธเจ้าเวสสภูดำารงอยู่ไม่นาน”[๒๐] “อะไรเป็นเหตุเป็นปัจจัยทำาให้พรหมจรรย์ของพระพุทธเจ้ากกุสันธะพระพุทธเจ้าโกนาคมนะ และพระพุทธเจ้ากัสสปะดำารงอยู่นาน พระพุทธเจ้าข้า”“สารีบุตร พระพุทธเจ้ากกุสันธะ พระพุทธเจ้าโกนาคมนะ และพระพุทธเจ้ากัสสปะ ไม่ทรงผ่อนคลายที่จะทรงแสดงธรรมโดยพิสดารแก่สาวก สุตตะ เคยยะเวยยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาดก อัพภูตธรรม เวทัลละของพระพุทธเจ้า ๓พระองค์จึงมีมาก ทรงบัญญัติสิกขาบทไว้แก่สาวก มีการแสดงปาติโมกข์ เมื่อหมดพระพุทธเจ้าและสาวกผู้ตรัสรู้ตามแล้ว สาวกชั้นหลังๆ ต่างชื่อ ต่างโคตร ต่างชาติวรรณะ ได้เข้ามาบวชจากต่างตระกูล เธอเหล่านั้นพาให้พรหมจรรย์ดำารงอยู่นานเหมือนดอกไม้นานาพรรณกองอยู่บนแผ่นกระดานเอาด้ายร้อยไว้ ย่อมไม่ถูกลมพัดกระจัดกระจายไป เพราะเหตุไร เพราะเอาด้ายร้อยไว้ ข้อนี้ฉันใด เมื่อหมดพระพุทธเจ้าและสาวกผู้ตรัสรู้ตามแล้ว สาวกชั้นหลังๆ ต่างชื่อ ต่างโคตร ต่างชาติวรรณะ ได้เข้ามาบวชจากต่างตระกูล เธอเหล่านั้นพาให้พรหมจรรย์ดำารงอยู่นานฉันนั้นสารีบุตร นี้คือเหตุปัจจัยที่ทำาให้พรหมจรรย์ของพระพุทธเจ้ากกุสันธะ พระพุทธเจ้าโกนาคมนะ และพระพุทธเจ้ากัสสปะ ดำารงอยู่นาน”{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า :๑๒ } พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เวรัญชกัณฑ์ ทรงปรารภเหตุที่จะบัญญัติสิกขาบท[๒๑] ลำาดับนั้น ท่านพระสารีบตรลุกขึ้นห่มผ้าเฉวียงบ่าประนมมือไปทาง ุพระผู้มีพระภาค กราบทูลว่า “ถึงเวลาแล้วพระพุทธเจ้าข้า ที่พระผู้มีพระภาคจะทรงบัญญัติสิกขาบท ทรงยกปาติโมกข์ขึ้นแสดงแก่พระสาวกอันจะเป็นเหตุให้พรหมจรรย์ดำารงอยู่ได้ยืนนาน”“จงรอไปก่อนเถิดสารีบุตร ตถาคตรู้เวลาในเรื่องที่จะบัญญัติสิกขาบทนั้นศาสดาจะยังไม่บัญญัติสิกขาบทแก่สาวก ไม่ยกปาติโมกข์ขึ้นแสดง ตลอดเวลาที่ยังไม่เกิดอาสวัฏฐานิยธรรม๑ บางอย่างในสงฆ์ เมื่อเกิดอาสวัฏฐานิยธรรมบางอย่างในสงฆ์ ตถาคตจึงจะบัญญัติสิกขาบท จะยกปาติโมกข์ขึ้นแสดงแก่สาวก เพื่อขจัดธรรมเหล่านั้นสารีบุตร อาสวัฏฐานิยธรรมบางอย่างยังไม่เกิดในสงฆ์ ตราบเท่าที่สงฆ์ยังไม่เป็นหมู่ใหญ่เพราะมีภิกษุบวชนาน เมื่อสงฆ์เป็นหมู่ใหญ่เพราะมีภิกษุบวชนาน และมีอาสวัฏฐานิยธรรมบางอย่างเกิดในสงฆ์ ตถาคตจะบัญญัติสิกขาบท จะยกปาติโมกข์ขึ้นแสดงแก่สาวก เพื่อขจัดธรรมเหล่านั้นสารีบุตร อาสวัฏฐานิยธรรมบางอย่างยังไม่เกิดในสงฆ์ ตราบเท่าที่สงฆ์ยังไม่เป็นหมู่ใหญ่เพราะแพร่หลาย เมื่อสงฆ์เป็นหมู่ใหญ่เพราะแพร่หลาย และมีอาสวัฏฐานิยธรรมบางอย่างเกิดในสงฆ์ ตถาคตจะบัญญัติสิกขาบท จะยกปาติโมกข์ขึ้นแสดงแก่สาวก เพื่อขจัดธรรมเหล่านั้นสารีบุตร อาสวัฏฐานิยธรรมบางอย่างยังไม่เกิดในสงฆ์ ตราบเท่าที่สงฆ์ยังไม่เป็นหมู่ใหญ่เพราะมีลาภสักการะมาก เมื่อสงฆ์เป็นหมู่ใหญ่เพราะมีลาภสักการะมาก และมีอาสวัฏฐานิยธรรมบางอย่างเกิดในสงฆ์ ตถาคตจะบัญญัติสิกขาบท จะยกปาติโมกข์ขึ้นแสดงแก่สาวก เพื่อขจัดธรรมเหล่านั้นเชิงอรรถ :
  • 11. ๑ ตตฺถ อาสวา ติฏฐนฺติ เอเตสูติ อาสเวหิ ฐาตพฺพา น โวกฺกมิตพฺพาติ วา อาสวฏฐานียา แปล ฺสรุปความว่า ธรรมเป็นที่ตั้งอาสวะ ความชั่วต่างๆ เช่น การกล่าวให้ร้ายคนอื่น ความเดือดร้อน และการจองจำา (วิ.อ. ๑/๒๑/๑๙๗){ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า :๑๓ } พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เวรัญชกัณฑ์สารีบุตร อาสวัฏฐานิยธรรมบางอย่างยังไม่เกิดในสงฆ์ ตราบเท่าที่สงฆ์ยังไม่เป็นหมู่ใหญ่เพราะความเป็นพหูสูต เมื่อสงฆ์เป็นหมู่ใหญ่เพราะความเป็นพหูสูตและมีอาสวัฏฐานิยธรรมบางอย่างเกิดในสงฆ์ ตถาคตจะบัญญัติสิกขาบท จะยกปาติโมกข์ขึ้นแสดงแก่สาวก เพื่อขจัดธรรมเหล่านั้นสารีบุตร ก็ภิกษุสงฆ์ยังไม่มีเสนียด ไม่มีโทษ ไม่มีสิ่งมัวหมอง บริสุทธิ์ผุดผ่อง ดำารงอยู่ในสารคุณ แท้จริงในภิกษุ ๕๐๐ รูปนี้ ผู้มีคุณธรรมอย่างตำ่าก็ชั้นโสดาบัน ไม่มีทางตกตำ่า มีความแน่นอนที่จะสำาเร็จสัมโพธิในวันข้างหน้า๑” เสด็จนิเวศน์เวรัญชพราหมณ์[๒๒] ต่อมา พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกท่านพระอานนท์มารับสั่งว่า“อานนท์ พระตถาคตทั้งหลายยังมิได้บอกลาผู้ที่นิมนต์ให้อยู่จำาพรรษา จะไม่จากไปเรื่องนี้เป็นประเพณีของพระตถาคตทั้งหลาย เราจะไปลาเวรัญชพราหมณ์” พระอานนท์ทูลสนองพระพุทธดำารัสแล้วครั้นแล้วพระผู้มีพระภาคทรงครองอันตรวาสก ถือบาตรและจีวร๒ มีพระอานนท์ตามเสด็จ เสด็จพระพุทธดำาเนินไปถึงนิเวศน์ของเวรัญชพราหมณ์ ครั้นถึงแล้วจึงประทับนั่งบนอาสนะที่เขาจัดถวาย ทรงบอกเวรัญชพราหมณ์ผู้มาเฝ้าว่า“ท่านนิมนต์เราอยู่จำาพรรษา เราขอลาท่าน ต้องการจะจาริกไปในชนบท”เวรัญชพราหมณ์กราบทูลว่า “เป็นความจริง ข้าพระพุทธเจ้านิมนต์ท่านพระโคดมอยู่จำาพรรษา แต่ข้าพระพุทธเจ้ายังไม่ได้ถวายไทยธรรมที่ได้ตั้งใจเอาไว้ สิ่งนั้นเชิงอรรถ :๑ สัมโพธิปรายณะ จะสำาเร็จสัมโพธิในวันข้างหน้า คือ อุปริ มคฺคตฺตยำ อวสฺสำ สมฺปาปโก... ปฏิลทฺธ-ปฐมมคฺคตฺตา จะบรรลุมรรค ๓ ชั้นสูงขึ้นไปแน่นอน เพราะได้ปฐมมรรค(คือโสดาปัตติมรรค)แล้ว (วิ.อ.๑/๒๑/๒๐๓); อุปริมคฺคตฺตยสงฺขาตา สมฺโพธิ สัมโพธิ คือ มรรค ๓ (สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค อรหัตตมรรค)ที่สูงขึ้นไป (สารตฺถ.ฏีกา. ๑/๒๑/๕๕๙).๒ คำาว่า “ทรงครองอันตรวาสกถือบาตรและจีวร” นี้มิใช่ว่าก่อนหน้านี้ พระผู้มีพระภาคมิได้ทรงนุ่งสบงมิใช่ว่าพระองค์ถือบาตรและจีวรไปโดยเปลือยพระกายส่วนบน คำาว่า “ครองอันตรวาสก” หมายถึงพระองค์ผลัดเปลี่ยนสบงหรือขยับสบงที่นุ่งอยู่ให้กระชับ คำาว่า “ถือบาตรและจีวร” หมายถึงถือบาตรด้วยมือ ถือจีวรด้วยกาย คือ ห่มจีวรอุ้มบาตรนั่นเอง (วิ.อ. ๑/๑๖/๑๘๐, ที.อ. ๒/๑๕๓/๑๔๓, ม.อ. ๑/๖๓/๑๖๓, อุทาน.อ.๖๕){ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า :๑๔ } พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เวรัญชกัณฑ์
  • 12. มิใช่จะไม่มีและมิใช่ว่าข้าพระพุทธเจ้าจะไม่เต็มใจถวาย ไตรมาสที่ผ่านมา พระองค์ยังมิได้รบไทยธรรมนั้น เพราะผู้ครองเรือนมีกิจมาก มีธุระมาก ขอท่านพระโคดม ัพร้อมกับภิกษุสงฆ์จงรับอาหารของข้าพระพุทธเจ้าเพื่อเจริญกุศลในวันพรุ่งนี้เถิด”พระผู้มีพระภาคทรงรับคำานิมนต์โดยดุษณีภาพ ทรงชี้แจงให้เวรัญชพราหมณ์เห็นชัด ชวนให้อยากรับเอาไปปฏิบัติ เร้าใจให้อาจหาญแกล้วกล้า ปลอบชโลมใจให้สดชื่นร่าเริงด้วยธรรมีกถา แล้วเสด็จลุกจากอาสนะหลีกไปเมื่อผ่านราตรีนั้นไป เวรัญชพราหมณ์สั่งให้เตรียมของเคียวของฉันอัน ้ประณีตไว้ในบ้านแล้วให้คนไปกราบทูลภัตกาลแด่พระผู้มีพระภาคว่า “ท่านพระโคดมถึงเวลาแล้ว ภัตตาหารเสร็จแล้ว”[๒๓] ครั้นเวลาเช้า พระผู้มีพระภาคทรงครองอันตรวาสก ถือบาตรและจีวรเสด็จพระพุทธดำาเนินไปยังนิเวศน์ของเวรัญชพราหมณ์ ประทับนั่งเหนือพระพุทธอาสน์พร้อมภิกษุสงฆ์ ครั้นแล้วเวรัญชพราหมณ์ประเคนของเคี้ยวของฉันอันประณีตด้วยตัวเอง กระทั่งพระผู้มีพระภาคเสวยเสร็จแล้วละพระหัตถ์จากบาตร จึงทูลถวายไตรจีวรให้ทรงครอง และถวายผ้าคู่ให้ภิกษุครองรูปละสำารับพระผู้มีพระภาคทรงชี้แจงให้เวรัญชพราหมณ์เห็นชัด ชวนให้อยากรับเอาไปปฏิบัติ เร้าใจให้อาจหาญแกล้วกล้า ปลอบชโลมใจให้สดชื่นร่าเริงด้วยธรรมีกถาแล้วเสด็จจากไปพระพุทธองค์ประทับอยู่ ณ เมืองเวรัญชาตามพระอัธยาศัยแล้วได้เสด็จพระพุทธดำาเนินไปยังเมืองท่าปยาคะ ไม่ทรงแวะเมืองโสเรยยะ เมืองสังกัสสะ เมืองกัณณกุชชะ ทรงข้ามแม่นำ้าคงคาที่เมืองท่าปยาคะ เสด็จพระพุทธดำาเนินถึงกรุงพาราณสี ครั้นประทับที่กรุงพาราณสีตามพระอัธยาศัยแล้ว เสด็จจาริกไปโดยลำาดับจนถึงกรุงเวสาลี ทราบว่าพระองค์ประทับอยู่ ณ กูฏาคารศาลา ป่ามหาวัน เขตกรุงเวสาลีนั้น เวรัญชภาณวาร จบ{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า :๑๕ }หน้าว่าง{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า :๑๖ } พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ [๑. ปาราชิกกัณฑ์] ปาราชิกสิกขาบทที่ ๑ สุทินนภาณวาร ๑. ปาราชิกกัณฑ์ ปาราชิกสิกขาบทที่ ๑ ว่าด้วยการเสพเมถุนธรรม สุทินภาณวาร[๒๔] สมัยนั้น ที่หมู่บ้านกลันทคามไม่ห่างจากกรุงเวสาลี มีบุตรชายเศรษฐีชาวกลันทคาม ชื่อสุทิน วันหนึ่ง เขามีธระบางอย่างจึงเดินทางไปในกรุงเวสาลีกับเพื่อนๆ ุขณะนั้น พระผู้มีพระภาคกำาลังประทับนั่งแสดงธรรมห้อมล้อมด้วยบริษัทจำานวนมากเขาได้เห็นแล้ว มีความคิดว่า “ทำาอย่างไรหนอ เราจึงจะได้ฟังธรรมบ้าง” จึงเข้าไปยัง
  • 13. บริษัทแล้วนั่ง ณ ทีสมควร ได้มีความคิดดังนี้ว่า “ธรรมตามที่พระผู้มีพระภาคทรง ่แสดงนั้น เราเข้าใจว่า ‘การที่ผู้อยู่ครองเรือนจะประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์บริบรณ์อย่างยิ่งเหมือนสังข์ที่ขัดแล้ว มิใช่กระทำาได้ง่าย’ อย่ากระนั้นเลย เราควรจะ ูปลงผม โกนหนวด นุ่งห่มผ้ากาสายะออกจากเรือนไปบวชเป็นอนาคาริก” ต่อจากนั้นเมื่อพระผูมีพระภาคทรงชี้แจงให้เห็นชัด ชวนให้อยากรับเอาไปปฏิบัติ เร้าใจให้ ้อาจหาญแกล้วกล้า ปลอบชโลมใจให้สดชื่นร่าเริงด้วยธรรมีกถาแล้ว บริษัทก็ลุกขึ้นถวายบังคมพระผู้มีพระภาค ทำาประทักษิณแล้วจากไป[๒๕] หลังจากบริษัทจากไปไม่นาน สุทินกลันทบุตรเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายบังคมแล้วนั่งลง ณ ที่สมควร สุทินกลันทบุตรผู้นั่ง ณ ที่สมควรแล้วได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคดังนี้ว่า “พระพุทธเจ้าข้า ธรรมตามที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดงนั้น ข้าพระพุทธเจ้าเข้าใจว่า ‘การที่ผู้อยู่ครองเรือนจะประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิบริบูรณ์อย่างยิ่งเหมือนสังข์ที่ขัดแล้ว มิใช่กระทำาได้ง่าย’ ์ข้าพระพุทธเจ้าปรารถนาจะปลงผม โกนหนวด นุ่งห่มผ้ากาสายะ ออกจากเรือนมาบวช เป็นอนาคาริก ขอพระผู้มีพระภาคทรงพระกรุณาให้ข้าพระพุทธเจ้าบวชด้วยเถิด”“สุทิน มารดาบิดาอนุญาตให้เธอออกจากเรือนบวชเป็นอนาคาริกแล้วหรือ”“ยังมิได้อนุญาต พระพุทธเจ้าข้า”{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า :๑๗ } พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ [๑. ปาราชิกกัณฑ์] ปาราชิกสิกขาบทที่ ๑ สุทินนภาณวาร“สุทิน พระตถาคตทั้งหลายย่อมไม่บวชให้กุลบุตรที่มารดาบิดายังไม่อนุญาต”“ข้าพระพุทธเจ้า จักหาวิธีให้มารดาบิดาอนุญาตให้ข้าพระพุทธเจ้าออกจากเรือนมาบวชเป็นอนาคาริก พระพุทธเจ้าข้า” ขออนุญาตออกบวช[๒๖] ต่อมา สุทินกลันทบุตรทำาธุระในกรุงเวสาลีเสร็จแล้ว กลับไปหามารดาบิดาที่กลันทคาม ครั้นถึงแล้วจึงกล่าวกับมารดาบิดาดังนี้ว่า “คุณพ่อคุณแม่ธรรมตามที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดงนั้น ลูกเข้าใจว่า ‘การที่ผู้อยู่ครองเรือนจะประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์บริบรณ์อย่างยิ่งเหมือนสังข์ที่ขัดแล้วนี้มิใช่ทำาได้ง่าย’ ูลูกปรารถนาจะปลงผม โกนหนวด นุ่งห่มผ้ากาสายะ ออกจากเรือนไปบวชเป็นอนาคาริก คุณพ่อคุณแม่โปรดอนุญาตให้ลูกออกไปบวชเป็นอนาคาริกเถิด”เมื่อสุทินกลันทบุตรกล่าวอย่างนี้ มารดาบิดาตอบว่า “ลูกสุทิน เจ้าเป็นลูกคนเดียว เป็นที่รักที่ชอบใจของพ่อแม่ เจริญเติบโตมาด้วยความสุขสบาย ได้รับการเลี้ยงดูมาอย่างดี ความทุกข์ยากสักนิดหนึ่งลูกก็ยังไม่รู้จัก ถึงลูกจะตายไป พ่อแม่ก็ไม่ปรารถนาจะจาก แล้วเหตุไฉน พ่อแม่จะยอมให้ลูกผู้ยังมีชีวิตอยู่ออกจากเรือนไปบวชเป็นอนาคาริกเล่า”สุทินกลันทบุตรได้กล่าวกับมารดาบิดาดังนี้เป็นครั้งที่ ๒ ฯลฯ เป็นครั้งที่ ๓ฯลฯ แม้ครั้งที่ ๓ มารดาบิดาก็ตอบว่า “ลูกสุทิน เจ้าเป็นลูกคนเดียว ฯลฯ เหตุไฉนพ่อแม่จะยอมให้ลูกผู้ยังมีชีวิตอยู่ออกจากเรือนไปบวชเป็นอนาคาริกเล่า”[๒๗] ลำาดับนั้น สุทินกลันทบุตรวิตกว่า มารดาบิดาไม่อนุญาตให้เราบวชแน่จึงนอนบนพื้นที่ไม่มีเครื่องปูลาด ณ ที่นั้นเอง ตัดสินใจว่า เราจักตาย หรือจักได้บวชก็ที่ตรงนี้แหละ และแล้วเขาก็อดอาหารไปเรื่อยๆ ตั้งแต่ ๑ มื้อ ๒ มื้อ ๓ มื้อ ๔ มื้อ ๕มื้อ ๖ มื้อ จนถึง ๗ มื้อ
  • 14. มารดาบิดาไม่อนุญาต[๒๘] ถึงกระนั้น มารดาบิดาของเขาก็คงยืนยันว่า “ลูกสุทิน เจ้าเป็นลูกคนเดียว เป็นทีรักที่ชอบใจของพ่อแม่ เจริญเติบโตมาด้วยความสุขสบาย ได้รับการ ่{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า :๑๘ } พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ [๑. ปาราชิกกัณฑ์] ปาราชิกสิกขาบทที่ ๑ สุทินนภาณวารเลี้ยงดูมาอย่างดี ความทุกข์ยากสักนิดหนึ่ง ลูกก็ยังไม่รู้จัก ถึงลูกจะตายไป พ่อแม่ก็ไม่ปรารถนาจะจาก แล้วเหตุไฉนพ่อแม่จะยอมให้ลูกผู้ยังมีชีวิตอยู่ออกจากเรือนไปบวชเป็นอนาคาริกได้เล่า ลุกขึ้นเถิด ลูกสุทิน จงกิน จงดื่ม จงรื่นเริง จงพอใจกินดื่ม รืนเริง ใช้สอยโภคทรัพย์ทำาบุญเถิด ถึงอย่างไร พ่อแม่ก็จะไม่อนุญาตให้ลูก ่บวชแน่”เมื่อมารดาบิดากล่าวอย่างนี้ สุทินกลันทบุตรได้นิ่งเฉยเสีย มารดาบิดาได้ยืนยันกะสุทินกลันทบุตรแม้ครั้งที่ ๒ ฯลฯแม้ครั้งที่ ๓ ว่า “ลูกสุทิน เจ้าเป็นลูกคนเดียวเป็นที่รัก เป็นที่ชอบใจของพ่อแม่ ฯลฯ ลูกสุทิน จงกิน จงดื่ม จงรื่นเริง จงพอใจกิน ดืม ่รื่นเริง ใช้สอยโภคทรัพย์ทำาบุญเถิด ถึงอย่างไร พ่อแม่ก็จะไม่อนุญาตให้ลูกบวชแน่”สุทินกลันทบุตรก็ได้นิ่งเป็นครั้งที่ ๓ พวกเพื่อนช่วยเจรจาต่อมา พวกเพื่อนของสุทินกลันทบุตร พากันเข้าไปหาถึงที่อยู่ ครั้นถึงแล้วได้ปลอบใจว่า “สุทินเพื่อนรัก เพื่อนเป็นลูกคนเดียว เป็นที่รักที่ชอบใจของพ่อแม่เจริญเติบโตมาด้วยความสุขสบาย ได้รบการเลี้ยงดูมาอย่างดี ความทุกข์ยากสักนิด ัหนึ่ง เพื่อนก็ยังไม่รู้จัก ถึงเพื่อนจะตายไป พ่อแม่ก็ไม่ปรารถนาจะจาก แล้วเหตุไฉนพ่อแม่จะยอมให้เพื่อนผู้ยังมีชีวิตอยู่ออกจากเรือนไปบวชเป็นอนาคาริกได้เล่า ลุกขึ้นเถิดเพื่อนรัก เพื่อนจงกิน จงดื่ม จงรื่นเริง พอใจกิน ดื่ม รืนเริง ใช้สอยโภคทรัพย์ทำาบุญ ่เถิด ถึงจะอย่างไร พ่อแม่ก็ไม่อนุญาตให้เพื่อนบวชแน่”เมื่อพวกเพื่อนกล่าวอย่างนี้ สุทินกลันทบุตรก็ได้แต่นิ่งเฉย พวกเพื่อนได้ปลอบใจสุทินกลันทบุตรเป็นครั้งที่ ๒ ฯลฯ เป็นครั้งที่ ๓ ว่า “สุทินเพื่อนรัก เพื่อนเป็นลูกคนเดียว เป็นที่รักที่ชอบใจของพ่อแม่ ฯลฯ พ่อแม่ก็ไม่อนุญาตให้เพื่อนบวชแน่” สุทินกลันทบุตรก็ได้นิ่งเฉยเป็นครั้งที่ ๓[๒๙] ต่อมา พวกสหายพากันเข้าไปหามารดาบิดาของสุทินกลันทบุตรถึงที่อยู่ กล่าวว่า “คุณพ่อคุณแม่ครับ สุทินนอนบนพื้นที่ไม่มีเครื่องปูลาดตัดสินใจว่าเราจักตาย หรือจักได้บวชก็ที่ตรงนี้แหละ ถ้าคุณพ่อคุณแม่ไม่ยอมให้เขาบวช เขาจัก{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า :๑๙ } พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ [๑. ปาราชิกกัณฑ์] ปาราชิกสิกขาบทที่ ๑ สุทินนภาณวารตาย ณ ที่ตรงนั้นแน่ แต่ถ้ายอมให้เขาออกบวช คุณพ่อคุณแม่ ก็ยังจะได้พบเห็นเขาแม้บวชแล้ว ถ้าไม่ยินดีจะบวชอยู่ต่อไป เขาจะมีทางไปที่ไหนอื่นเล่า จะต้องกลับ