SlideShare a Scribd company logo
วิช าค่า ยพัฒ นา
         ทัก ษะภาษา
เรื่อ ง แนวทางการจัด กิจ กรรมค่า ยอาเซีย
               จัด ทำา โดย
         นางสาวรุ่ง นภา ปัญ ญาดี
         รหัสห้อ ง D5 ชัน ปี 3
               5381123284
                        ้
                  เสนอ
              อาจารย์ พัฐ ฬภ
               รณ์  พรชุต ิ
          มหาวิท ยาลัย ราชภัฏ
          บ้า นสมเด็จ เจ้า พระยา
แนวทางการจัด กิจ กรรมค่า ยอาเซีย น
   ในการจัดกิจกรรมพัฒนาความรู้และเสริมสร้างความ
  เป็นพลเมืองอาเซียนให้ผู้เรียนจะช่วยเพิ่มศักยภาพใน
  การเรียนรู้ให้ผู้เรียน อันจะเป็นพลังการขับเคลื่อนการ
  พัฒนาโรงเรียนสู่ประชาคมอาเซียนในทุกพืนทีอย่างมี
                                               ้ ่
 ประสิทธิภาพ สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้น
      ฐานโดยสำานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
     พิจารณาเห็นว่า มีความจำาเป็นอย่างยิ่งทีจะสร้าง
                                             ่
 ศักยภาพให้แก่สถานศึกษาและเขตพื้นทีการศึกษาเกี่ยว
                                         ่
 กับความเป็นประชาคมอาเซียน เพือเตรียมความพร้อม
                                     ่
              ในการเป็นประชาคมอาเซียน
บทนำบเคลื่อนประชาคมอาเซียนในมิตยอาเซีย น
การขั า การจัด กิจ กรรมค่า ิด้านการศึกษาได้
     กำาหนดเป้าหมายเพื่อก้าวสู่ประชาคมสังคมและ
วัฒนธรรมอาเซียน โดยให้ความสำาคัญต่อความเสริมสร้าง
  ความร่วมมือด้านการศึกษาในภูมภาค ในประเด็นการ
                                  ิ
เสริมสร้าง โอกาสด้านการศึกษาให้แก่ประชาชนอย่างเท่า
เทียม การเสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการศึกษา
  ในภูมภาคทุกระดับ การส่งเสริมความร่วมมือด้านเครือ
        ิ
    ข่ายเยาวชน ตลอดจนการส่งเสริมความเข้าใจอันดี
   ระหว่างกัน โดยกระบวนการเชื่อมโยง และเสริมสร้าง
          ความร่วมมือด้านการศึกษาในภูมภาค
                                       ิ
วิชาการและมาตรฐานการศึกษาให้ความสำาคัญในการขับ
  เคลื่อนการเรียนรู้ประชาคมอาเซียนสู่สถานศึกษา โดย
 เน้นการสร้างความตระหนัก การเสริมสร้างความรู้ ความ
     เข้าใจในการเป็นประชาคมอาเซียน ดังนันเพือเพิ่ม
                                              ้     ่
   ศักยภาพในการเรียนรู้ให้ผู้เรียนอย่างสูงสุดสำานักงาน
  คณะกรรมการการศึกษาขั้นพืนฐานโดยสำานักวิชาการ
                                 ้
     และมาตรฐานการศึกษา พิจารณาเห็นว่าการสร้าง
  ศักยภาพให้แก่นกเรียนเป็นเรื่องสำาคัญทีมผลต่อการเตรี
                   ั                      ่ ี
  ยมความพร้อมความเป็นประชาคมอาเซียน จึงได้จัดเล็ง
เห็นการจัดกิจกรรมค่ายสร้างสรรค์เป็นวิธีที่ดที่สดสำาหรับ
                                                ี ุ
  การเริ่มทีจะเรียนรู้ก้าวสู่ประชาคมอาเซียนและได้จัดทำา
            ่
 เอกสารการจัดกิจกรรมค่ายอาเซียน เพือเป็นแนวในการ
                                        ่
จัดกิจกรรมค่ายเพือเตรียมความพร้อมของเด็กไทยในการ
                     ่
    อยู่ร่วมกับประชากรของประเทศต่างๆ ในประชาคม
                           อาเซียน
การศึกษาเป็นปัจจัยสำาคัญในการพัฒนาเด็กให้มความรู้
                                                  ี
 และทักษะ การส่งเสริมด การจัด ค่า ย
                 แนวคิ การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของ
    เด็กให้มทกษะการเรียนรู้บรรลุตามจุดมุงหมายของ
             ี ั                         ่
   หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช
                                   ้
2551 และเพื่อเป็นการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
 ด้านเด็กให้ได้มาตรฐาน และมีพฤติกรรมตามตามหลักสูต
   รกำาหนด โดยส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย
จิตใจ และอารมณ์ ด้านสังคมและด้านสติปัญญา ทีเน้นการ
                                                ่
ฝึกปฏิบัติจริง ตอบสนองความสามารถ ความถนัดและความ
    สนใจของเด็ก การสร้างองค์ความรู้และค้นพบความ
  สามารถของตนเอง โดยเปิดโอกาสให้เด็กได้เรียนรู้ตาม
  ความถนัดและความสนใจของตนเอง มีส่วนร่วมในการ
ลงมือปฏิบัติ สร้างความตระหนักและเกิดองค์ความรู้ ตลอด
จนสร้างสรรค์ผลงานที่มคุณค่าต่อตนเองและผู้อื่น อันจะส่ง
                        ี
ผลประโยชน์สูงสุดกับเด็กให้เป็นผู้มนสัยรักการเรียนรู้และ
                                  ี ิ
พัฒนาเป็นคนไทยทีมความสมบูรณ์ เป็นคนดีมปัญญาและมี
                    ่ ี                    ี
สนับสนุน รวมถึงป้องกันและแก้ปัญหาของนักเรียน ค่าย
 เอื้อต่อการออกแบบและการจัดกระบวนการเรียนรู้ทแตก    ี่
    ต่างจากการเรียนการสอนในห้องเรียน กล่าวคือ การ
เปลี่ยนแหล่งของความรู้ เปลี่ยนวิธีการรับรู้ เปลี่ยนสถาน
ทีเรียนรู้ เปลี่ยนบริบทการเรียนรู้ จากการเรียนรู้จากตำารา
  ่
เรียนและครูสการเรียนรู้จากผู้รู้อื่นๆ และจากสถานการณ์
                 ู่
จริง ประสบการณ์จริง ได้เห็นของจริงในหลายมิติ และที่
 สำาคัญ คือ ได้ลงมือปฏิบัติการด้วยตนเองจากสถานทีใน     ่
 ห้องสี่เหลี่ยมสู่โลกกว้างที่ไม่มีทสนสุด มีกระบวนการคิด
                                     ี่ ิ้
  วิเคราะห์และการเชื่อมโยงมากขึ้น การเข้าค่ายเป็นการ
 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ทต้องการส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้
                               ี่
อย่างต่อเนืองโดยผ่านกิจกรรมและกระบวนการพัฒนาใน
             ่
 การดำารงชีวิตเป็นหมูคณะ โดยให้ร่วมกิจกรรมต่างๆ ให้
                             ่
                    รู้จักช่วยตนเองและช่วยผู้อื่น
สร้างสรรค์และพัฒนาสมาชิกค่ายให้เต็มศักยภาพ
 ของแต่ละบุคคลให้มากที่สุด การสร้างบรรยากาศ
ภายในค่ายหรือความรู้สึกที่เด็กจะได้รับในระหว่าง
   การเข้าค่ายเป็นปัจจัยสำาคัญต่อการเรียนรู้และ
พัฒนาการ บรรยากาศค่ายมีส่วนส่งเสริมให้เกิดการ
  เรียนรู้ที่สอดคล้องกับจุดประสงค์ของค่าย ความ
    สัมพันธ์อันดีระหว่างเพื่อนร่วมค่าย ซึ่งส่งผล
 โดยตรงต่อความประทับใจโดยรวมต่อกิจกรรมทั้ง
หลายในค่าย บรรยากาศหลักภายในค่ายจะต้องมี
ความแตกต่างจากสภาพห้องเรียนปกติที่เด็กเคยชิน
 เด็กควรรู้สึกสบายๆ มีความสุข และสนุกกับ การ
       เรียนรู้ อยู่ภายใต้หลักประชาธิปไตย
ตัว อย่า งกิจ กรรมค่า ยอาเซีย น ค่า ยที่ด ีม ี
           ประสิท ธิภ าพจะต้อ งพัฒ นา
เด็ก ทุก คนโดยแต่ล ะคนได้เ รีย นรู้เ ติม เต็ม ความ
  กิจ กรรมอุ่น เครื่อ ง เพื่อยภาพของตนเอง ยภาพ
                              ให้รู้จักและเข้าใจถึงศัก
        สามารถและศัก
  ของสมองของตนเอง รู้ถึงการอุ่นเครื่องเตรียมสมองให้
  พร้อมก่อนการเรียนรู้ การคิดแบบหลากหลายมิติ การพัก
  สมอง ก็จะสามารถช่วยให้ผู้เรียน มีการเรียนรู้อย่างมี
  คุณภาพ และประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นกิจกรรมมีดังนี้
  –กิจกรรมบริหารสมอง
  –กิจกรรมรู้จักตัวตนและคนอื่น (กิจกรรมวาดหน้าตัวเอง)
  –กิจกรรมความคาดหวัง
  –กิจกรรมเตรียมความพร้อม (Energize & Fillers)
  –กิจกรรม Hand Sign เป็นต้น
การละลายพฤติกรรมยังเป็นวิธีการเรียนรู้จักกันและกัน
รู้จักชื่อเสียงเรียงนาม แลกเปลี่ยนความคิดเห็น การมีเพื่อน
มากขึ้น เป็นเกมที่ทาให้เกิดการเรียนรู้ หรือเป็นการแนะนำา
                      ำ
หัวข้อใหม่ของการเข้าค่าย กิจกรรมทีใช้ในการละลาย
                                     ่
พฤติกรรมโดยการแบ่งเป็น 3 กลุ่มคือ กลุ่มพื้นฐาน กลุ่ม
หน่วย กลุ่มใหญ่ กิจกรรมมีดังนี้
1. กิจกรรมกลุ่มหน่วย (Unit Group) โดยการรวมจาก
กลุ่มพืนฐานเช่น กิจกรรมวงกลม (Circle)‚ –กิจกรรม
         ้
Grouping by order‚กิจกรรม รวมกลุ่มตามเดือนเกิด
ของตนเอง (ภาษาอังกฤษ) เป็นต้น
2. กิจกรรมกลุ่มใหญ่ เช่น กิจกรรมซ้อนมือ‚กิจกรรม
Joe Ranger‚กิจกรรมเพลง Love Like an
ocean‚กิจกรรมลมเพลมพัด‚กิจกรรมจับคู่ เป็นต้น
Power) เพือการสร้างกลุ่มงาน แบ่งหน้าที่รับผิดชอบทำา
            ่
 งานแบบ ร่วมมือ ร่วมคิด ร่วมทำา ร่วมเสนอผลงานอย่าง
สร้างสรรค์ กิจกรรมที่ทาเป็นการจัดตั้งกลุ่ม ตั้งชื่อกลุ่ม
                       ำ
คำาขวัญ เพลง สร้างเอกลักษณ์และนำาเสนอกลุ่ม กิจกรรม
สร้างพลังกลุ่ม และมอบหมายความรับผิดชอบ กิจกรรมมี
                         ดังนี้
–กลุ่มพืนฐาน(กลุ่มละประมาณ 8-10 คน)กิจกรรมต่างๆ
        ้
 ได้แก่ กิจกรรม Morning Exercise, กิจกรรมเชิญธง
     อาเซียน‚กิจกรรม ASEAN EXPRESS‚กิจกรรม
 Song‚กิจกรรมแสดงวัฒนธรรมหลังอาหารเย็น เป็นต้น
กิจ กรรมเรีย นรู้เ รื่อ งประชาคมอาเซีย นและนำา
เสนอผลงาน (ASEAN Spirit Exhibition&
Presentation) กิจ กรรมมีด ัง นี้
–กิจกรรม รู้จักภาษาอาเซียน
–กิจกรรมการเรียนรู้อาเซียน
–กิจกรรมสร้างสรรค์ชิ้นงานนิทานอาเซียน
–กิจกรรมวัฒนธรรมและภาษา
กิจ กรรมทีเ ป็น ฐานการเรีย นรู้ กิจ กรรมมีด ัง นี้
              ่
ฐานที่ 1: Sing A Song
ฐานที่ 2 อาหาร (Food)
ฐานที่ 3 กีฬาและการละเล่น
ฐานที่ 4 ART & CRAFT
ฐานที่ 5 LANGUAGE & Expression
สำาหรับกิจกรรมเพือการเรียนรู้เนือหาหลัก การจัดกิจกรรม
                     ่           ้
   ลัอให้เด็กสามารถเรียค่านือหาหลักผ่ระสิท ธิภ าพ ่
  เพื่
       ก ษณะการจัด นรู้เ ยที่ด ีม ีป านกระบวนการที
                              ้
  สร้างสรรค์ ซึ่งมีหลากหลายรูปแบบ กิจกรรมควรมีความ
 หลากหลาย เหมาะกับสไตล์ของสมาชิกค่ายทีแตกต่างกัน
                                            ่
 เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของค่ายนั้นๆ ควรมีลักษณะการ
                          จัดดังนี้
   กิจกรรมในระหว่างค่าย ควรเป็นกิจกรรมนำาไปสูการ ่
       บรรลุเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ของค่าย กิจกรรม
  สร้างสรรค์ สะอาด สนุก สอดแทรกสาระ และสั้น การจัด
 ตารางกิจกรรมทีลำาดับเนือหาจากง่ายไปยากเหมาะสมกับ
                   ่      ้
วัยและการเรียนรู้ของฟสมาชิกค่าย และเหมาะสมกับสภาพ
                       แวดล้อมค่าย
สมาชิกค่ายสามารถเรียนรู้การทำางานจริง ซึ่งอาจร่วมกัน
ทำาจบในค่ายหรืออาจจะใช้ช่วงเวลาในค่ายเพือการพัฒนา
                                              ่
  โครงการ พัฒนาแนวทางและวางแผนการทำางานซึ่งเป็น
เห็น การประชุมหารือ แลกเปลี่ยน ละครเป็นสื่อ การ
สังเกตการณ์ การใช้สถานการณ์จำาลองหรือบทบาทสมมติ
 การสืบค้นความรู้ดวยตนเอง การค้นพบด้วยตนเอง การ
                     ้
เรียนรู้จากการบรรยาย การเรียนรู้ผ่านเกม/การเล่น การ
 จัดฐานเรียนรู้ การเรียนรู้ในสถานทีหรือสถานการณ์จริง
                                   ่
                เทคนิคโค้ชหรือพาเด็กทำา
  กิจกรรมค่าย ทีมการจัดเรื่องกระบวนการเรียนรู้อย่าง
                   ่ ี
เป็นขั้นเป็นตอน โดยมุงเน้นความสามารถในการนำาเสนอ
                       ่
   ความคิด การคิดวิเคราะห์ การคิดเชื่อมโยง การระดม
ความคิดเห็น ความเข้าใจในปัญหา สาเหตุปัญหา การทำา
    งานร่วมกัน จะสามารถพัฒนาสมาชิกค่ายได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ ส่งผลให้ผู้เข้าค่ายสามารถนำาความรู้ที่ได้ไป
                 สร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่
สรุกค่าย โดยเฉพาะอย่างยิง
     ค่ายอาเซียน เป็นการเรียนรู้ภายใต้สภาพแวดล้อมที่
สร้างสรรค์และมีคุณค่าต่อสมาชิ                              ่
                         ี ป
 ผู้ที่ไม่ค่อยมีโอกาสได้มปฏิสัมพันธ์กับคนอื่น หรือเรียนรู้
 เรื่องอาเซียน โครงการฝึกอบรม ประสบความสำาเร็จเป็น
 อย่างสูง การฝึกอบรมดำาเนินไปอย่างราบรื่น การดำาเนิน
    งานค่ายโดยใช้ภาษาอังกฤษในบางกิจกรรมช่วยให้
สมาชิกค่ายตระหนักถึงความสำาคัญของการพัฒนาตนเอง
ในการใช้ภาษาอังกฤษซึ่งต่อไปจะเป็นภาษาอาเซียน สิ่งที่
 สำาคัญ คือ สมาชิกค่ายได้เรียนรู้เรื่องเกียวกับประชาคม
                                          ่
 อาเซียนในแง่มมต่างๆ ทังด้านวัฒนธรรม ประสบการณ์
                   ุ      ้
  เกี่ยวกับประเทศอาเซียนผ่านผัสสะทังหก สมาชิกค่าย
                                       ้
แสดงความกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรม ความร่วมมือ
กับเพือนสมาชิก และพัฒนาความสามารถ ทัศนคติต่อการ
        ่
ก้าวสูประชาคมอาเซียน เรื่องราวเกี่ยวกับอาเซียนหลายๆ
          ่
มิติ พูดคุยแลกเปลี่ยน เรียนรู้ รวมทังรวบรวมไว้อย่างเป็น
                                     ้
การเผยแพร่ต่อไป การพัฒนาโครงงานของโรงเรียน
  สะท้อนว่าผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถคิดต่อยอดการทำา
     กิจกรรมโครงงานทีจะนำาไปสู่การเผยแพร่และ
                          ่
ประชาสัมพันธ์ความรู้ สร้างความตระหนักในเรื่องอาเซียน
                            ต่อไป
อ้า งอิ
                  ง
    http://www.bkk2.in.th/Topic.as
-
  px?TopicID=45417
-
  http://www.social.obec.go.th/lib
  rary/document/asean/asean-
  camp.pdf

More Related Content

What's hot

โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือนโครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
Chonlada078
 
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
Kobwit Piriyawat
 
2 ระดมความคิด
2 ระดมความคิด2 ระดมความคิด
2 ระดมความคิด
Nirut Uthatip
 
คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์
คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์
คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์
pimkhwan
 

What's hot (10)

บทบาท และภาระงานของครู
บทบาท และภาระงานของครูบทบาท และภาระงานของครู
บทบาท และภาระงานของครู
 
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบินหนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
 
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือนโครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
 
C
CC
C
 
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
 
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดีแบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
2 ระดมความคิด
2 ระดมความคิด2 ระดมความคิด
2 ระดมความคิด
 
คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์
คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์
คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 

Similar to นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี

แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนแนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
sompriaw aums
 
ค่ายอาเซียน
ค่ายอาเซียนค่ายอาเซียน
ค่ายอาเซียน
Aonaon Krubpom
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 

Similar to นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี (20)

แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนแนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
Asean 007
Asean 007Asean 007
Asean 007
 
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยนแนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
 
ค่ายอาเซียน
ค่ายอาเซียนค่ายอาเซียน
ค่ายอาเซียน
 
Learning by project
Learning by projectLearning by project
Learning by project
 
งานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยนงานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยน
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ค่าย
ค่ายค่าย
ค่าย
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 

Recently uploaded

Meaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdf
Meaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdfMeaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdf
Meaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdf
George638435
 

Recently uploaded (8)

รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
Meaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdf
Meaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdfMeaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdf
Meaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 

นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี

  • 1. วิช าค่า ยพัฒ นา ทัก ษะภาษา เรื่อ ง แนวทางการจัด กิจ กรรมค่า ยอาเซีย จัด ทำา โดย นางสาวรุ่ง นภา ปัญ ญาดี รหัสห้อ ง D5 ชัน ปี 3 5381123284 ้ เสนอ อาจารย์ พัฐ ฬภ รณ์  พรชุต ิ มหาวิท ยาลัย ราชภัฏ บ้า นสมเด็จ เจ้า พระยา
  • 2.
  • 3. แนวทางการจัด กิจ กรรมค่า ยอาเซีย น ในการจัดกิจกรรมพัฒนาความรู้และเสริมสร้างความ เป็นพลเมืองอาเซียนให้ผู้เรียนจะช่วยเพิ่มศักยภาพใน การเรียนรู้ให้ผู้เรียน อันจะเป็นพลังการขับเคลื่อนการ พัฒนาโรงเรียนสู่ประชาคมอาเซียนในทุกพืนทีอย่างมี ้ ่ ประสิทธิภาพ สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้น ฐานโดยสำานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา พิจารณาเห็นว่า มีความจำาเป็นอย่างยิ่งทีจะสร้าง ่ ศักยภาพให้แก่สถานศึกษาและเขตพื้นทีการศึกษาเกี่ยว ่ กับความเป็นประชาคมอาเซียน เพือเตรียมความพร้อม ่ ในการเป็นประชาคมอาเซียน
  • 4. บทนำบเคลื่อนประชาคมอาเซียนในมิตยอาเซีย น การขั า การจัด กิจ กรรมค่า ิด้านการศึกษาได้ กำาหนดเป้าหมายเพื่อก้าวสู่ประชาคมสังคมและ วัฒนธรรมอาเซียน โดยให้ความสำาคัญต่อความเสริมสร้าง ความร่วมมือด้านการศึกษาในภูมภาค ในประเด็นการ ิ เสริมสร้าง โอกาสด้านการศึกษาให้แก่ประชาชนอย่างเท่า เทียม การเสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการศึกษา ในภูมภาคทุกระดับ การส่งเสริมความร่วมมือด้านเครือ ิ ข่ายเยาวชน ตลอดจนการส่งเสริมความเข้าใจอันดี ระหว่างกัน โดยกระบวนการเชื่อมโยง และเสริมสร้าง ความร่วมมือด้านการศึกษาในภูมภาค ิ
  • 5. วิชาการและมาตรฐานการศึกษาให้ความสำาคัญในการขับ เคลื่อนการเรียนรู้ประชาคมอาเซียนสู่สถานศึกษา โดย เน้นการสร้างความตระหนัก การเสริมสร้างความรู้ ความ เข้าใจในการเป็นประชาคมอาเซียน ดังนันเพือเพิ่ม ้ ่ ศักยภาพในการเรียนรู้ให้ผู้เรียนอย่างสูงสุดสำานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพืนฐานโดยสำานักวิชาการ ้ และมาตรฐานการศึกษา พิจารณาเห็นว่าการสร้าง ศักยภาพให้แก่นกเรียนเป็นเรื่องสำาคัญทีมผลต่อการเตรี ั ่ ี ยมความพร้อมความเป็นประชาคมอาเซียน จึงได้จัดเล็ง เห็นการจัดกิจกรรมค่ายสร้างสรรค์เป็นวิธีที่ดที่สดสำาหรับ ี ุ การเริ่มทีจะเรียนรู้ก้าวสู่ประชาคมอาเซียนและได้จัดทำา ่ เอกสารการจัดกิจกรรมค่ายอาเซียน เพือเป็นแนวในการ ่ จัดกิจกรรมค่ายเพือเตรียมความพร้อมของเด็กไทยในการ ่ อยู่ร่วมกับประชากรของประเทศต่างๆ ในประชาคม อาเซียน
  • 6. การศึกษาเป็นปัจจัยสำาคัญในการพัฒนาเด็กให้มความรู้ ี และทักษะ การส่งเสริมด การจัด ค่า ย แนวคิ การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของ เด็กให้มทกษะการเรียนรู้บรรลุตามจุดมุงหมายของ ี ั ่ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช ้ 2551 และเพื่อเป็นการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา ด้านเด็กให้ได้มาตรฐาน และมีพฤติกรรมตามตามหลักสูต รกำาหนด โดยส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ ด้านสังคมและด้านสติปัญญา ทีเน้นการ ่ ฝึกปฏิบัติจริง ตอบสนองความสามารถ ความถนัดและความ สนใจของเด็ก การสร้างองค์ความรู้และค้นพบความ สามารถของตนเอง โดยเปิดโอกาสให้เด็กได้เรียนรู้ตาม ความถนัดและความสนใจของตนเอง มีส่วนร่วมในการ ลงมือปฏิบัติ สร้างความตระหนักและเกิดองค์ความรู้ ตลอด จนสร้างสรรค์ผลงานที่มคุณค่าต่อตนเองและผู้อื่น อันจะส่ง ี ผลประโยชน์สูงสุดกับเด็กให้เป็นผู้มนสัยรักการเรียนรู้และ ี ิ พัฒนาเป็นคนไทยทีมความสมบูรณ์ เป็นคนดีมปัญญาและมี ่ ี ี
  • 7. สนับสนุน รวมถึงป้องกันและแก้ปัญหาของนักเรียน ค่าย เอื้อต่อการออกแบบและการจัดกระบวนการเรียนรู้ทแตก ี่ ต่างจากการเรียนการสอนในห้องเรียน กล่าวคือ การ เปลี่ยนแหล่งของความรู้ เปลี่ยนวิธีการรับรู้ เปลี่ยนสถาน ทีเรียนรู้ เปลี่ยนบริบทการเรียนรู้ จากการเรียนรู้จากตำารา ่ เรียนและครูสการเรียนรู้จากผู้รู้อื่นๆ และจากสถานการณ์ ู่ จริง ประสบการณ์จริง ได้เห็นของจริงในหลายมิติ และที่ สำาคัญ คือ ได้ลงมือปฏิบัติการด้วยตนเองจากสถานทีใน ่ ห้องสี่เหลี่ยมสู่โลกกว้างที่ไม่มีทสนสุด มีกระบวนการคิด ี่ ิ้ วิเคราะห์และการเชื่อมโยงมากขึ้น การเข้าค่ายเป็นการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ทต้องการส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้ ี่ อย่างต่อเนืองโดยผ่านกิจกรรมและกระบวนการพัฒนาใน ่ การดำารงชีวิตเป็นหมูคณะ โดยให้ร่วมกิจกรรมต่างๆ ให้ ่ รู้จักช่วยตนเองและช่วยผู้อื่น
  • 8. สร้างสรรค์และพัฒนาสมาชิกค่ายให้เต็มศักยภาพ ของแต่ละบุคคลให้มากที่สุด การสร้างบรรยากาศ ภายในค่ายหรือความรู้สึกที่เด็กจะได้รับในระหว่าง การเข้าค่ายเป็นปัจจัยสำาคัญต่อการเรียนรู้และ พัฒนาการ บรรยากาศค่ายมีส่วนส่งเสริมให้เกิดการ เรียนรู้ที่สอดคล้องกับจุดประสงค์ของค่าย ความ สัมพันธ์อันดีระหว่างเพื่อนร่วมค่าย ซึ่งส่งผล โดยตรงต่อความประทับใจโดยรวมต่อกิจกรรมทั้ง หลายในค่าย บรรยากาศหลักภายในค่ายจะต้องมี ความแตกต่างจากสภาพห้องเรียนปกติที่เด็กเคยชิน เด็กควรรู้สึกสบายๆ มีความสุข และสนุกกับ การ เรียนรู้ อยู่ภายใต้หลักประชาธิปไตย
  • 9. ตัว อย่า งกิจ กรรมค่า ยอาเซีย น ค่า ยที่ด ีม ี ประสิท ธิภ าพจะต้อ งพัฒ นา เด็ก ทุก คนโดยแต่ล ะคนได้เ รีย นรู้เ ติม เต็ม ความ กิจ กรรมอุ่น เครื่อ ง เพื่อยภาพของตนเอง ยภาพ ให้รู้จักและเข้าใจถึงศัก สามารถและศัก ของสมองของตนเอง รู้ถึงการอุ่นเครื่องเตรียมสมองให้ พร้อมก่อนการเรียนรู้ การคิดแบบหลากหลายมิติ การพัก สมอง ก็จะสามารถช่วยให้ผู้เรียน มีการเรียนรู้อย่างมี คุณภาพ และประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นกิจกรรมมีดังนี้ –กิจกรรมบริหารสมอง –กิจกรรมรู้จักตัวตนและคนอื่น (กิจกรรมวาดหน้าตัวเอง) –กิจกรรมความคาดหวัง –กิจกรรมเตรียมความพร้อม (Energize & Fillers) –กิจกรรม Hand Sign เป็นต้น
  • 10. การละลายพฤติกรรมยังเป็นวิธีการเรียนรู้จักกันและกัน รู้จักชื่อเสียงเรียงนาม แลกเปลี่ยนความคิดเห็น การมีเพื่อน มากขึ้น เป็นเกมที่ทาให้เกิดการเรียนรู้ หรือเป็นการแนะนำา ำ หัวข้อใหม่ของการเข้าค่าย กิจกรรมทีใช้ในการละลาย ่ พฤติกรรมโดยการแบ่งเป็น 3 กลุ่มคือ กลุ่มพื้นฐาน กลุ่ม หน่วย กลุ่มใหญ่ กิจกรรมมีดังนี้ 1. กิจกรรมกลุ่มหน่วย (Unit Group) โดยการรวมจาก กลุ่มพืนฐานเช่น กิจกรรมวงกลม (Circle)‚ –กิจกรรม ้ Grouping by order‚กิจกรรม รวมกลุ่มตามเดือนเกิด ของตนเอง (ภาษาอังกฤษ) เป็นต้น 2. กิจกรรมกลุ่มใหญ่ เช่น กิจกรรมซ้อนมือ‚กิจกรรม Joe Ranger‚กิจกรรมเพลง Love Like an ocean‚กิจกรรมลมเพลมพัด‚กิจกรรมจับคู่ เป็นต้น
  • 11. Power) เพือการสร้างกลุ่มงาน แบ่งหน้าที่รับผิดชอบทำา ่ งานแบบ ร่วมมือ ร่วมคิด ร่วมทำา ร่วมเสนอผลงานอย่าง สร้างสรรค์ กิจกรรมที่ทาเป็นการจัดตั้งกลุ่ม ตั้งชื่อกลุ่ม ำ คำาขวัญ เพลง สร้างเอกลักษณ์และนำาเสนอกลุ่ม กิจกรรม สร้างพลังกลุ่ม และมอบหมายความรับผิดชอบ กิจกรรมมี ดังนี้ –กลุ่มพืนฐาน(กลุ่มละประมาณ 8-10 คน)กิจกรรมต่างๆ ้ ได้แก่ กิจกรรม Morning Exercise, กิจกรรมเชิญธง อาเซียน‚กิจกรรม ASEAN EXPRESS‚กิจกรรม Song‚กิจกรรมแสดงวัฒนธรรมหลังอาหารเย็น เป็นต้น
  • 12. กิจ กรรมเรีย นรู้เ รื่อ งประชาคมอาเซีย นและนำา เสนอผลงาน (ASEAN Spirit Exhibition& Presentation) กิจ กรรมมีด ัง นี้ –กิจกรรม รู้จักภาษาอาเซียน –กิจกรรมการเรียนรู้อาเซียน –กิจกรรมสร้างสรรค์ชิ้นงานนิทานอาเซียน –กิจกรรมวัฒนธรรมและภาษา กิจ กรรมทีเ ป็น ฐานการเรีย นรู้ กิจ กรรมมีด ัง นี้ ่ ฐานที่ 1: Sing A Song ฐานที่ 2 อาหาร (Food) ฐานที่ 3 กีฬาและการละเล่น ฐานที่ 4 ART & CRAFT ฐานที่ 5 LANGUAGE & Expression
  • 13. สำาหรับกิจกรรมเพือการเรียนรู้เนือหาหลัก การจัดกิจกรรม ่ ้ ลัอให้เด็กสามารถเรียค่านือหาหลักผ่ระสิท ธิภ าพ ่ เพื่ ก ษณะการจัด นรู้เ ยที่ด ีม ีป านกระบวนการที ้ สร้างสรรค์ ซึ่งมีหลากหลายรูปแบบ กิจกรรมควรมีความ หลากหลาย เหมาะกับสไตล์ของสมาชิกค่ายทีแตกต่างกัน ่ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของค่ายนั้นๆ ควรมีลักษณะการ จัดดังนี้ กิจกรรมในระหว่างค่าย ควรเป็นกิจกรรมนำาไปสูการ ่ บรรลุเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ของค่าย กิจกรรม สร้างสรรค์ สะอาด สนุก สอดแทรกสาระ และสั้น การจัด ตารางกิจกรรมทีลำาดับเนือหาจากง่ายไปยากเหมาะสมกับ ่ ้ วัยและการเรียนรู้ของฟสมาชิกค่าย และเหมาะสมกับสภาพ แวดล้อมค่าย สมาชิกค่ายสามารถเรียนรู้การทำางานจริง ซึ่งอาจร่วมกัน ทำาจบในค่ายหรืออาจจะใช้ช่วงเวลาในค่ายเพือการพัฒนา ่ โครงการ พัฒนาแนวทางและวางแผนการทำางานซึ่งเป็น
  • 14. เห็น การประชุมหารือ แลกเปลี่ยน ละครเป็นสื่อ การ สังเกตการณ์ การใช้สถานการณ์จำาลองหรือบทบาทสมมติ การสืบค้นความรู้ดวยตนเอง การค้นพบด้วยตนเอง การ ้ เรียนรู้จากการบรรยาย การเรียนรู้ผ่านเกม/การเล่น การ จัดฐานเรียนรู้ การเรียนรู้ในสถานทีหรือสถานการณ์จริง ่ เทคนิคโค้ชหรือพาเด็กทำา กิจกรรมค่าย ทีมการจัดเรื่องกระบวนการเรียนรู้อย่าง ่ ี เป็นขั้นเป็นตอน โดยมุงเน้นความสามารถในการนำาเสนอ ่ ความคิด การคิดวิเคราะห์ การคิดเชื่อมโยง การระดม ความคิดเห็น ความเข้าใจในปัญหา สาเหตุปัญหา การทำา งานร่วมกัน จะสามารถพัฒนาสมาชิกค่ายได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ส่งผลให้ผู้เข้าค่ายสามารถนำาความรู้ที่ได้ไป สร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่
  • 15. สรุกค่าย โดยเฉพาะอย่างยิง ค่ายอาเซียน เป็นการเรียนรู้ภายใต้สภาพแวดล้อมที่ สร้างสรรค์และมีคุณค่าต่อสมาชิ ่ ี ป ผู้ที่ไม่ค่อยมีโอกาสได้มปฏิสัมพันธ์กับคนอื่น หรือเรียนรู้ เรื่องอาเซียน โครงการฝึกอบรม ประสบความสำาเร็จเป็น อย่างสูง การฝึกอบรมดำาเนินไปอย่างราบรื่น การดำาเนิน งานค่ายโดยใช้ภาษาอังกฤษในบางกิจกรรมช่วยให้ สมาชิกค่ายตระหนักถึงความสำาคัญของการพัฒนาตนเอง ในการใช้ภาษาอังกฤษซึ่งต่อไปจะเป็นภาษาอาเซียน สิ่งที่ สำาคัญ คือ สมาชิกค่ายได้เรียนรู้เรื่องเกียวกับประชาคม ่ อาเซียนในแง่มมต่างๆ ทังด้านวัฒนธรรม ประสบการณ์ ุ ้ เกี่ยวกับประเทศอาเซียนผ่านผัสสะทังหก สมาชิกค่าย ้ แสดงความกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรม ความร่วมมือ กับเพือนสมาชิก และพัฒนาความสามารถ ทัศนคติต่อการ ่ ก้าวสูประชาคมอาเซียน เรื่องราวเกี่ยวกับอาเซียนหลายๆ ่ มิติ พูดคุยแลกเปลี่ยน เรียนรู้ รวมทังรวบรวมไว้อย่างเป็น ้
  • 16. การเผยแพร่ต่อไป การพัฒนาโครงงานของโรงเรียน สะท้อนว่าผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถคิดต่อยอดการทำา กิจกรรมโครงงานทีจะนำาไปสู่การเผยแพร่และ ่ ประชาสัมพันธ์ความรู้ สร้างความตระหนักในเรื่องอาเซียน ต่อไป
  • 17. อ้า งอิ ง http://www.bkk2.in.th/Topic.as - px?TopicID=45417 - http://www.social.obec.go.th/lib rary/document/asean/asean- camp.pdf