SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
วิถีชีวิตของชาวประมงในลุ่มแม่นำาโขงตอนล่าง

บทนำา
       ภูมิภาคลุ่มนำำาโขงซึ่งครอบคลุมอาณาบริเวณของประเทศจีน
กัมพูชา สปป.ลาว พม่า ไทย และเวียดนาม เป็นภูมิภาคที่เติบโตทาง
เศรษฐกิจเร็วที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ในบรรดาผู้อยู่อาศัย 300 ล้านคน
มากกว่า 100 ล้านคนมีชีวิตที่พึ่งพาอยู่กับการประมงและผลิตผลอื่นๆ
ของระบบแม่นำาสายหลักต่างๆ อันได้แก่ ล้านช้าง-แม่โขงนู-สาละวิน
แยงซีตอนบน อิระวดี เจ้าพระยา และแม่นำาแดง พร้อมกันนัำนการใช้
ประโยชน์ทรัพยากรนำำาในเชิงพาณิชย์ การพัฒนาโครงสร้างพืำนฐานทาง
นำำา และมลพิษทางนำำาก็เพิ่มมากขึำนเช่นกัน
       ในปัจจุบันนีำได้มีการให้ความสำาคัญแก่สิ่งแวดล้อมมากขึำน แต่ใน
ขณะเดียวกันกลุ่มผู้มีอำานาจทางเศรษฐกิจการเมืองก็ยังคงดำาเนินการ
เพื่อรักษาระบบเก่าให้ดำารงอยู่ต่อไป การพัฒนายังคงมุ่งไปในทิศทาง
ของการส่งเสริมการขยายตัวทางเศรษฐกิจ โดยมีการเอ่ยถึงเรื่องการ
จัดการสิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติให้มประสิทธิภาพเท่านัำนเอง
                                                 ี
เมื่อมีความขัดแย้งระหว่างหลักการ “การอนุรักษ์” กับ “การพัฒนา” เกิด
ขึำนในภาคปฏิบัติ การตัดสินปัญหาจะจบลงด้วยข้อสรุปทีว่าความ
                                                       ่
ต้องการทางธุรกิจและเศรษฐกิจการผลิตสำาคัญกว่าการอนุรักษ์ รายได้
ประชาชาติต้องขยายตัวต่อไป การแสวงหากำาไรสูงสุดต้องดำาเนินต่อไป
       ภายใต้ความต้องการทางธุรกิจและเศรษฐกิจทำาให้แม่นำาโขงและ
ลำานำำาสาขาซึ่งเป็นแหล่งประมงทีมีความสำาคัญในลุ่มนำำาโขงอย่างมาก
                                    ่
ทำาให้ปริมาณปลาที่จับได้จากแหล่งนำำามีแนวโน้มลดลง โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งปลาที่มีความสำาคัญทางเศรษฐกิจและบางชนิดอยู่ในระดับ
วิกฤตที่จะสูญพันธุ์ ทัำงนีำเนื่องจากผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่เกิดจาก
กิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ ทีมีผลทังทางตรงและทางอ้อมต่อแหล่ง
                                ่     ำ
ประมง เช่น การสร้างฝาย เขื่อนเพื่อการจัดการนำำา โรงงานอุตสาหกรรม
การเกษตรกรรม และการคมนาคม เป็นต้นซึ่งเป็นกิจกรรมโดยมนุษย์ส่ง
ผลในวงกว้างต่อความอุดมสมบูรณ์ของระบบนิเวศในลุ่มนำำาที่กำาลังถูก
คุกคามมากขึำนจากการพัฒนา ความหลากหลายทางชีวภาพในลุ่มแม่นำา
โขงซึ่งมีความอุดมสมบูรณ์มากที่สุดแห่งหนึ่งในโลกกำาลังถูกกระทบ
จากการที่ต้องสูญเสียแหล่งอาศัยของสิ่งมีชีวิตไป ทังนีำก็เนื่องมาจาก
                                                   ำ
การทำาป่าไม้ เกษตรกรรม และการผลิตไฟฟ้าพลังนำำา รวมทัำงการล่าสัตว์
ป่าและการเก็บเกี่ยวพืชป่า ผลคือทำาให้ปลาที่เคยจับได้ลดจำานวนลง
ความหลากหลายทางชีวภาพและสัตว์ป่าก็ลดลดเช่นกัน
การประมงในลุ่มแม่นำาโขงตอนล่าง
        ลุ่มแม่นำาโขงตอนล่างเป็นแหล่งปลาที่ชุกชุมมากที่สุดในโลกแห่ง
หนึ่งและมีปลาอยู่มากกว่า 1,300 ชนิดพันธุ์ แต่ความรู้เกี่ยวกับชีววิทยา
วัฏจักรชีวิต การอพยพ และแหล่งอาหารของปลาอีกหลายชนิดยังมีน้อย
มาก การประมงในแม่นำาโขงถือเป็นแหล่งหล่อเลีำยงประชากรหลายล้าน
คน คือเป็นทังแหล่งอาหารโปรตีนจากสัตว์แหล่งใหญ่ที่สุดในบางพืำนที่
                ำ
และเป็นฐานทางเศรษฐกิจของชุมชนท้องถิ่นหลายแห่ง
        การทำาการประมงและการทำาการเกษตรเป็นวิถีชีวิตหลักของ
ประชาชนใน ลุ่มนำำาโขง คนที่อาศัยอยู่ในที่ราบลุ่มจะปลูกข้าว ส่วนคนที่
อยู่ที่สูงจะทำาไร่และหาปลาจากแม่นำาสาขา บริเวณที่ราบนำำาท่วมถึงและ
บริเวณปากแม่นำาก็เป็นพืำนที่ปลูกข้าว ทำาการประมงนำำาจืดเพื่อเลีำยงชีพ
และขายในตลาดของชุมชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้หญิงจะมีบทบาทใน
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ โดยรูปแบบของกิจกรรมและบทบาทจะ
สัมพันธ์กับการผลิตอาหาร เชืำอเพลิงและนำำา1
        ระบบการใช้ประโยชน์จากที่ดิน การเกษตรกรรม ไม่ว่าจะเป็นการ
เก็บเกี่ยวข้าว การประมง รวมไปถึงระบบประเพณีวัฒนธรรม เช่น การ
แข่งเรือ การไหลเรือไฟ จะมีความเชื่อมโยงกับสภาพแวดล้อมและ
ฤดูกาลขึำนลงของแม่นำาโขง
        ชาวบ้านจะใช้ภูมิปัญญาและเทคโนโลยีพืำนบ้านในการจัดการนำำา
และตะกอนดินจากทุ่งนา การทำาเครื่องมือจับปลาและตาข่ายที่พัฒนามา
จากการสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น
        ในลุ่มนำำาโขงปลาจึงเป็นแหล่งอาหารโปรตีนที่สำาคัญที่สุดใน
ภูมิภาคนีำ ทะเลสาบเขมรถือเป็นหนึ่งในแหล่งผลิตปลาที่สำาคัญแห่งหนึ่ง
ของโลก ผลผลิตในแต่ละปีจะมีปริมาณ ๑๐๐,๐๐๐ ตัน ซึ่งเป็นแหล่ง
อาหารโปรตีนของชาวกัมพูชาถึง ๙.๕ ล้านคน รวมทังในประเทศเพื่อน
                                                   ำ
บ้าน เช่น ลาว มีการบริโภคปลาจำานวน ๘๕ % ของประชากร2
        ทะเลสาบเขมรถือเป็นตัวอย่างของความหลากหลายของระบบ
นิเวศน์ในภูมิภาคนีำ และมีความสัมพันธ์กับการดำารงชีวิตของชุมชน โดย
ปกติทะเลสาบจะมีนำาท่วมริมฝั่งแม่นำาในระหว่างฤดูฝนและจะค่อย ๆ ลด

1
 สุวัฒน์ กิขุนทด. บนสายนำำาโขง : สารคดีบันทึกประวัติศาสตร์สังคมผ่านวิถี
ชีวิตของผู้คน. นนทบุรี : อินโดไชน่าพับลิชชิ่ง, 2541.
2
 บูชิตา สังข์แก้ว. วัฒนธรรมปลา และจุดจบตำานานพรานปลา. กรุงเทพฯ :
คณะกรรมการเผยแพร่และส่งเสริมงานพัฒนา, 2540.
ลงตลอดระยะเวลาที่เหลือในแต่ละปี จากการที่ระดับนำำาในทะเลสาบสูง
ขึำนและท่วมบริเวณป่าไม้ที่อยู่รอบ ๆ ทะเลสาบ ปลาจึงเข้าไปอาศัยและ
แพร่พันธุ์ เมื่อระดับนำำาลดลง ปลาได้อพยพออกจากแหล่งดังกล่าวไปสู่
แหล่งนำำา ลำาห้วยสาขาต่าง ๆ ของแม่นำาโขง
        ประมาณ ๘๕ % ของการผลิตข้าวในทีราบนำำาท่วม รอบ ๆ
                                           ่
ทะเลสาบและแม่นำาโขงขึำนอยู่กับตะกอนดินที่เกิดจากนำำาท่วมซึ่งมีความ
อุดม สมบูรณ์สูง ดังนัำนในการผลิตข้าวจึงมีความผูกพันกับวงจรของการ
เกิดนำำาท่วม นำำาขังในระบบของทะเลสาบเขมรและลุ่มนำำาโขง
        ฤดูกาลธรรมชาติของแม่นำาโขงก่อให้เกิดภูมิปัญญาในการใช้และ
ไม่ใช้ หรือจะใช้อย่างไร ทังในการผลิตการเกษตรกรรมและการประมงก็
                            ำ
ขึำนอยู่กับระบบนิเวศย่อยที่ต่างกันออกไป กระทังได้ก่อเกิดวัฒนธรรมที่
                                             ่
หลากหลายตลอดสองฝั่งริมแม่นำาโขง      3

        ดังนัำนในอดีตการหาปลาเป็นอาชีพหลักของชาวบ้าน จะมีสัดส่วน
จำานวนมาก ปัจจุบันเริ่มลดน้อยลง แต่ยังคงมีจำานวนอยูมากเช่นกัน
                                                    ่
เนื่องจากภาวะทางเศรษฐกิจ และการลดลงของจำานวนปลาที่ได้รับผลก
ระทบจาการเปลียนแปลงที่ผิดธรรมชาติของแม่นำาโขง ทำาให้การไปมาก็
                  ่
ไม่ยงยากอะไร อาศัยสายสัมพันธ์และการรู้จักกับเจ้าหน้าที่ประจำาของ
     ุ่
แต่ละประเทศ โดยแบ่งปันปลาให้กันกิน ปัจจุบันวิธีการแบบนีำไม่อีกแล้ว
เพราะเสี่ยงอันตราย และคนหาปลาบอกว่า ปลาทางตอนเหนือของ
แม่นำาโขงลดจำานวนลง

การสร้างเขื่อนในลุ่มแม่นำาโขงตอนบน

      ประเทศจีนมีแผนสร้างเขื่อนจำานวน 8 เขื่อนในทางตอนบนของ
แม่นำาโขง เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าเพื่อใช้ในภาคตะวันตกเฉียงใต้ของ
ประเทศ เขื่อนแมนวาน (Manwan) สร้างเสร็จเป็นเขื่อนแรกเมื่อปี 2539
ในปีเดียวกันนัำน ได้เริ่มสร้างเขื่อนดาเชาชาน (Dachaochan) ถัดมาในปี
2544 รัฐบาลยูนนานสร้างเขื่อนเซียววาน (Xiaowan) สำาหรับเขื่อนอื่นๆ
อยู่ในระหว่างการวางแผนเช่นเขื่อนจิงฮอง (Jinghong) เขื่อนนัวซาดู
(Nuozhadu) เขื่อนกองกัวเคียว (Gongguoqiao) เขื่อนกันลันบา
(Ganlanba) และเขื่อนเมงซอง (Mengsong)4
3
  อุดมรัตน์ ดีเอง. แลของ : วิถีชีวิตชุมชนสองฝั่งโขงไทย-ลาว : เรื่องเล่า
จากภาพ = Life along the Mekong: photo narrative. ขอนแก่น :
ศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่มนำำาโขง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 2550.
4
  [Online].โครงการเขื่อนในประเทศจีน. URL :
http://www.thaingo.org/story/book_024.htm
โครงการสร้างเขื่อนในแม่นำาโขงตอนบนนีำกำาลังคุกคามต่อ ระบบ
นิเวศวิทยาอันสลับซับซ้อนซึ่ง ประชาชนกว่า 60 ล้านคนต้องพึ่งพิงอยู่
ทัำงในด้านการประมงและการเกษตร โดยทังนีำประชากรกว่า 90
                                           ำ
เปอร์เซ็นต์ในลุ่มแม่นำาโขงมีอาชีพขึำนอยู่กับการเกษตรกรรม และการหา
ปลาจากแม่นำาโขงและแม่นำา สาขา ซึ่ง 80 เปอร์เซ็นต์ของแหล่งโปรตีน
สำาหรับภูมิภาคนีำได้มาจากปลาแม่นำาโขง คณะกรรมการ ลุมแม่นำาโขง
                                                         ่
(MRC) ได้ประเมินว่าปลาที่จับได้ในแม่นำาโขงตอนล่างมีมลค่ารวม
                                                       ู
มากกว่า 1 พันล้าน เหรียญสหรัฐต่อปี




     พืำนที่โครงการสร้างเขื่อนในแม่นำาโขงตอนบนในประเทศจีน

     โครงการนีำจะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรงต่อระบบ
ธรรมชาติของการท่วมและการแห้ง แล้งของแม่นำา และปิดกัำนเส้น
ทางการไหลของตะกอนดิน การเปลี่ยนแปลงเหล่านีำจะก่อให้เกิดผลกระ
ทบ อย่างมากต่อวิถีชีวิตของประชาชนหลายล้านคน ซึ่งอาศัยอยู่ตอน
ล่างของแม่นำาในประเทศ พม่า ไทย ลาว กัมพูชา และเวียดนาม
     เขื่อนในแม่นำาโขงตอนบนเหล่านีำ จะทำาให้ระดับการไหลของแม่นำา
โขงตอนล่างในหน้าแล้งเพิ่มขึำน เป็นสองเท่า ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลง
วงจรธรรมชาติของแม่นำา ปริมาณนำำาในแม่นำาที่เกิดจากพืำนที่รับนำำา ใน
ส่วนแม่นำาโขงตอนบนในประเทศจีนนีำ มีส่วนสำาคัญต่อปริมาณการไหล
ของแม่นำาในหน้าแล้งช่วง ประเทศลาวและไทย ในขณะทีประมาณ ่
15-20 เปอร์เซ็นต์ของปริมาณนำำารวมต่อปีนีำไหลไปถึงประเทศ เวียดนาม
และประมาณกว่า 45 เปอร์เซ็นต์ของปริมาณการไหลเฉลี่ยของนำำาใน
ประเทศกัมพูชาในช่วง เดือนเมษายนก็มาจากพืำนที่รับนำำาในประเทศจีนนีำ
เขื่อนในมณฑลยูนานเหล่านีำจะทำาการเก็บกักนำำาใน ช่วงหน้าฝนและ
ทำาการปล่อยนำำาในช่วงหน้าแล้งซึงทำาให้ระดับนำำาในช่วงหน้าแล้งสูงผิดก
                               ่
ว่าปกติมาก
      หากมีการสร้างเขื่อนจำานวนมากในจีน จะมีปัญหารุนแรงเกิดขึำน
จากเขื่อนอื่นๆ กับประเทศทางตอนล่างของแม่นำาโขงอย่างแน่นอน การ
เก็บกักนำำาในช่วงฤดูฝนของเขื่อนต่างๆ จะทำาให้ระดับนำำาในแม่นำาโขงลด
น้อยลง มีผลกระทบกับการเดินทาง และการวางไข่ของปลา ในขณะ
เดียวกัน การปล่อยนำำาออกจากเขื่อนในฤดูแล้ง จะเพิ่มระดับนำำาในแม่นำา
ให้มากกว่าธรรมชาติ การทำาการเกษตรริมฝั่งและเขตพืำนที่นำาท่วมถึง
ของประเทศทางตอนล่าง ซึ่งมีความหลากหลาย และพึ่งพาระบบนำำา
ท่วมตามธรรมชาติ ก็จะได้รับความเสียหายอย่างรุนแรง นอกจากนัำน
เขื่อนยังจะเก็บกักตะกอนของแม่นำาซึ่งทำาให้พืำนที่เกษตรอุดมสมบูรณ์
และเป็นประโยชน์กับปลา ไม่ให้ไหลลงไปยังประเทศทางตอนล่างตาม
ธรรมชาติ แต่จะทับถมอยูในเขื่อนต่างๆ แทน
                        ่


ปัญหา ผลกระทบ และความขัดแย้งของการสร้างเขื่อนในลุ่ม
แม่นำาโขงตอนบน
      หลังจากที่ได้มีการสร้างเขื่อนเกิดขึำนในลุ่มแม่นำาโขงตอนบนทำาให้
ผู้คนที่อยู่ในบริเวณลุ่มแม่นำาโขงตอนล่างซึ่งนับเป็นบ้านของเขา และ
เป็นที่พบพืช สัตว์ที่ได้หายากและใกล้สูญพันธุ์หลายพันชนิด ระบบ
นิเวศในลุมนำำานีำนบว่ามีความสมบูรณ์และความหลากหลายมากที่สุดแห่ง
          ่        ั
หนึ่งของโลก แต่ระบบนิเวศเหล่านีำกำาลังถูกรบกวนอย่างหนักจากการ
ขยายตัวของประชากรและภาคอุตสาหกรรมในบริเวณลุ่มนำำา
      อีกทัำงแรงกดดันต่อทรัพยากรทางสิ่งแวดล้อมในลุ่มแม่นำาโขงนัำน
เกิดมาจากหลายปัจจัยที่เชื่อมโยงกันค่อนข้างซับซ้อน ปัจจัยดังกล่าว
เช่น ความยากจน ความไม่มั่นคงในการครอบครองที่ดิน การอพยพ และ
การขาดจิตสำานึกทางสิ่งแวดล้อมโยงใยเข้าด้วยกัน ทำาให้เกิดปัญหาสิ่ง
แวดล้อมเสื่อมโทรม และยังก่อให้เกิดปัญหาการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
อย่างหมดเปลืองแทนที่จะอนุรักษ์ไว้เพื่อให้ใช้ได้อย่างยั่งยืน5
        ซึ่งภัยที่คุกคามการประมงในลุมแม่นำาโขง ได้แก่ การทำาลาย
                                    ่
แหล่งอาศัย ภาวะมลพิษทางชีวภาพและทางเคมี การกีดขวางการ
อพยพของปลา ชนิดพันธุ์ปลาจากต่างแดน และการจับปลามากเกินควร
หรือจับปลาด้วยวิธีการผิดกฎหมาย ปัญหาการจับปลานีำกำาลังเป็นทีวิตก ่
กันมากขึำน เนื่องจากปลาบางชนิดกำาลังลดน้อยลง (ทังมีขนาดเล็กลง
                                                    ำ
และมีจำานวนน้อยลง) การเปลียนแปลงที่จะเกิดขึำนเหล่านีำ จะก่อให้เกิด
                               ่
ผลกระทบต่อด้านต่างๆ ดังนีำ
        การทำาลายพันธุ์ปลาและการประมง
        สภาพแวดล้อมในการหาอาหารและวางไข่ของปลาทีมีการปรับตัว
                                                          ่
ให้เข้ากับสภาพแม่นำาที่เต็มไป ด้วย ดินตะกอนของแม่นำาโขงจะได้รับ
ผลกระทบอย่างรุนแรง ซึ่งจะนำาไปสู่การลดลงของความหลากหลาย
ทางชีวภาพและผลผลิต พืำนทีวางไข่จะลดลงอย่างมากในหน้าแล้ง
                                 ่
เพราะแก่งต่างๆจะจมอยู่ใต้นำา ส่วน ในหน้าฝนระดับนำำาที่ตำ่ากว่าปกติใน
พืำนที่ปาที่มนำาท่วมถึง ในประเทศลาว ตอนล่างและประเทศเขมร จะ
         ่     ี
กระทบต่อแหล่งสำาคัญในการหาอาหาร วางไข่และ แหล่งอนุบาลสัตว์
นำำา ซึ่งผลที่จะตามมาคือการสูญเสียอย่างมากทางการประมงในลุม     ่
แม่นำาโขง รวมทัำงความเป็นไปได้ในการ สูญพันธุ์ของสัตว์นำาบางพันธุ์

        การเปลี่ยนวงจรการไหลของนำำา
        กระแสนำำาและปิดกัำนการพัดพาของตะกอนในแม่นำา เป็นการ
เปลียนสภาพทางนิเวศวิทยาของแม่นำาอย่างสุดโต่ง และจะมีผลกระทบ
    ่
โดยตรงกับการใช้แม่นำาของประชาชนในประเทศจีนเอง และต่อประเทศ
ในตอนล่าง คือพม่า ลาว ไทย กัมพูชา และเวียดนาม ซึ่งการ
เปลียนแปลงทีสำาคัญที่สุด จะมาจากการเปลี่ยนแปลงการไหลของนำำา
      ่          ่
และวงจรการขึำนลงของกระแสนำำาตามธรรมชาติ ซึ่งจะมีผลกระทบอย่าง
รุนแรงต่อการเกษตร และการประมง ทีเป็นหัวใจสำาคัญของการใช้แม่นำา
                                      ่
โขง                          การเก็บกักนำำาในช่วงฤดูฝนของเขื่อนต่างๆ

5
 มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง. โครงการจัดตัำงพิพิธภัณฑ์อารยธรรมลุ่มนำำาโขง. วิถี
ชีวิตลุ่มนำำาโขงกับการเปลี่ยนแปลง. เชียงราย : โครงการจัดตัำงพิพิธภัณฑ์
อารยธรรมลุ่มนำำาโขง สำานักวิชาศิลปศาสตร์, 2551.
จะทำาให้ระดับนำำาในแม่นำาโขงลดน้อยลง มีผลกระทบกับการเดินทาง
และการวางไข่ของปลา ในขณะเดียวกัน การปล่อยนำำาออกจากเขื่อนใน
ฤดูแล้ง จะเพิ่มระดับนำำาในแม่นำาให้มากกว่าธรรมชาติ การทำาการเกษตร
ริมฝั่งและเขตพืำนทีนำาท่วมถึงของประเทศทางตอนล่าง ซึ่งมีความหลาก
                     ่
หลาย และพึ่งพาระบบนำำาท่วมตามธรรมชาติ ก็จะได้รับความเสียหาย
อย่างรุนแรง
        การเปลี่ยนแปลงวงจรนำำาขึำน-นำำาลง
        ส่งผลกระทบอย่างมากต่อระบบนิเวศลุ่มแม่นำาโขงตอนล่าง มีผล
ให้การขึำนลงของนำำาผิดธรรมชาติ และปริมาณเฉลี่ยของนำำาเพิ่มขึำนเป็น
สองเท่าในฤดูแล้ง รวมทัำงธาตุอาหารที่พัดพามากับนำำากว่าครึ่งถูกเก็บกัก
ไว้ นอกจากกระทบต่อการประมงโดยตรงแล้ว ยังมีผลต่อการเกษตรริม
ฝั่งที่ต้องพึ่งพาธาตุอาหารซึงไหลมากับกระแสนำำาสะสมเป็นปุ๋ยในดิน
                              ่
        การพังทลายชายฝั่งแม่นำาโขง
        การกัดเซาะพังทลายของชายฝั่งแม่นำาโขงพบว่าการพังทลายของ
ชายฝั่งเร็วและรุนแรงมากขึำน นอกจากนีำ ในระบบนิเวศลุ่มนำำาโขงที่มีแอ่ง
นำำาลึก คาดว่าเป็นที่อยู่อาศัยและหากินของปลาบึก ปลานำำาจืดทีใหญ่   ่
ที่สุดในโลกและใกล้สูญพันธุ์ การพังทลายของชายฝัง หน้าดินตลอด
                                                       ่
ลำานำำาโขงได้ทำาให้แอ่งนำำาลึกเหล่านีำตืำนเขิน ซึงอาจจะสุ่มเสี่ยงต่อการ
                                                 ่
สูญพันธุ์ของปลาบึก6
        ดังนัำนหากมีการสร้างเขื่อนจำานวนมากในจีน จะมีปัญหารุนแรงเกิด
ขึำนจากเขื่อนอื่นๆ กับประเทศทางตอนล่างของแม่นำาโขงอย่างแน่นอน
การเก็บกักนำำาในช่วงฤดูฝนของเขื่อนต่างๆ จะทำาให้ระดับนำำาในแม่นำาโขง
ลดน้อยลง มีผลกระทบกับการเดินทาง และการวางไข่ของปลา ในขณะ
เดียวกัน การปล่อยนำำาออกจากเขื่อนในฤดูแล้ง จะเพิ่มระดับนำำาในแม่นำา
ให้มากกว่าธรรมชาติ การทำาการเกษตรริมฝั่งและเขตพืำนที่นำาท่วมถึง
ของประเทศทางตอนล่าง ซึ่งมีความหลากหลาย และพึ่งพาระบบนำำา

6
 [Online].รู้จักแม่นำาโขง/Mekhong Information. URL :
http://mekhong.wordpress.com/
%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%88%E0%B8%B1
%E0%B8%81%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%99
%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B9%82%E0%B8%82%E0%B8%87m
ekhong-information/
ท่วมตามธรรมชาติ ก็จะได้รับความเสียหายอย่างรุนแรง นอกจากนัำน
เขื่อนยังจะเก็บกักตะกอนของแม่นำาซึ่งทำาให้พืำนที่เกษตรอุดมสมบูรณ์
และเป็นประโยชน์กับปลา ไม่ให้ไหลลงไปยังประเทศทางตอนล่างตาม
ธรรมชาติ แต่จะทับถมอยูในเขื่อนต่างๆ แทน
                         ่
      อีกทัำงผลกระทบดังกล่าวยังก่อให้เกิดความขัดแย้งระหว่างรัฐเกิด
ขึำน ได้แก่ การคัดค้านจากภาคประชาสังคมในภูมิภาคแม่นำาโขง และ
จากนานาประเทศ ในการก่อสร้างเขื่อนในลุ่มนำำาโขงตอนบนต่อไป
ประเทศในลุ่มแม่นำาโขงตอนใต้เริ่มตัำงข้อวิจารณ์เขื่อนที่ปิดกัำนลำานำำาโขง
ทางตอนบน หรือโครงการพัฒนาต่างๆ ที่ส่งผลกระทบข้ามพรมแดน
หลายฝ่ายได้เรียกร้องให้มีการพูดคุยเพื่อหาหนทางแก้ไขปัญหาของคน
ภายในลุ่มนำำาเดียวกันอย่างรูปธรรม แม้วาประเทศในแม่นำาโขงตอนล่างสี่
                                      ่
ประเทศ คือ ไทย ลาว กัมพูชา และเวียดนาม ได้มีการรวมตัวกันในรูป
ของคณะกรรมาธิการแม่นำาโขง เช่น Mekong River Commission หรือ
MRC, คณะกรรมการ JCCN และ อาเซียน แต่ยงไม่มีอำานาจต่อรองกับ
                                              ั
จีนได้

แนวทางการแก้ไข/การบริหารการจัดการประมงในลุ่มแม่นำาโขง
      แนวทางการแก้ไขของกลุ่มประเทศที่ได้รับผลกระทบการสร้าง
เขื่อนในลุ่มแม่นำาโขงตอนล่าง คือ หลักการการประเมินผลกระทบทาง
ด้านสิ่งแวดล้อมของแต่ละประเทศ ได้แก่

       ประเทศกัมพูชา ที่ได้รบผลสืบเนื่องอย่างร้ายแรงต่ออาชีพ
                              ั
ประมงและชาวประมง ความมันคงด้านอาหาร และการลดความยากจน
                            ่
อีกทัำงผลประโยชน์อย่างมากจากการพัฒนาภาคพลังงานที่มั่นคงและ
ราคาไม่แพงสำาหรับอุตสาหกรรมและการสร้างความหลากหลายของ
กิจกรรมทางเศรษฐกิจในระยะยาว นอกจากนีำการสูญเสียจากการประมง
อาจส่งผลเสียมากกว่าประโยชน์ที่ได้รับจากการผลิตพลังงานไฟฟ้า
อย่างน้อยก็ในระยะสัำนถึงระยะปานกลาง
โอกาส
   - ผลประโยชน์อย่างมากจากแหล่งพลังงานแห่งชาติที่มั่นคงและ
       ราคาไม่แพง (ทดแทนการนำาเข้าเชืำอเพลิงดีเซลที่มีราคาแพง)
   - ขีดความสามารถในการแข่งขันในการผลิตเพิ่มขึำน
   - รายได้ภาครัฐเพิ่มขึำนจาการส่งออกพลังงานและภาษีอากร
   - พืำนที่ชลประทานเยอะขึำนและผลผลิตการเกษตรเพิ่มขึำนในบาง
       พืำนที่
- มีความยืดหยุ่นเชิงกลยุทธศาสตร์ระยะยาวในการจัดหาแหล่ง
    พลังงานเมื่อช่วงเวลาสัมปทานสิำนสุดลง
ความเสี่ยง
  - สูญเสียทรัพยากรประมงและมีผลกระทบอย่างมากต่อความมั่นคง
    ทางอาหาร
  - สภาพการดำารงชีวิตของชาวประมงมากกว่า 1.6 ล้านคนถูกรบกวน
  - สูญเสียผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ เพราะการสูญเสียมูลค่าทาง
    เศรษฐกิจของการประมงและการเกษตร
  - อุตสาหกรรมแปรรูปผลิตภัณฑ์ประมงและบริการที่เกี่ยวเนื่องได้รับ
    ผลกระทบ
  - สูญเสียตะกอนดินและสารอาหารที่เกี่ยวเนื่องที่ไม่ไหลลง
    ทะเลสาบเขมร และผลกระทบอย่างรุนแรงต่อการผลิตขัำนปฐมภูมิ
    นำำาท่วมขังป่าไม้ และปลาประจำาถิ่นและปลาที่มาจากการอพยพ
    ย้ายถิ่น
  - สูญเสียพืำนที่ทำาสวนริมฝั่งนำำา ซึ่งมีความสำาคัญอย่างมากต่อชุมชน
    ริมนำำาในบางพืำนที่
  - สูญเสียความอุดมสมบูรณ์และผลผลิตการเกษตรในพืำนทีราบนำำา   ่
    ท่วมถึง
  - การสูญเสียแหล่งท่องเทียวและรายได้จากการท่องเทียว
                              ่                            ่
  - การที่ไม่มีสายส่งสายไฟฟ้าระดับชาติอาจปิดกัำนการกระจายกระ
    แสไฟฟ้าไปอย่างทั่วถึง
  - สูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ

      สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มีแนวโน้มที่จะได้รับ
ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยรวมอย่างมหาศาล ในขณะเดียวกันมีแนว
โน้มว่าจะมีการกระจายผลประโยชน์ที่จะได้รบนีำอย่างไม่เท่าเทียมกัน
                                           ั
โอกาส
   - ได้รับผลประโยชน์อย่างมหาศาลจากการกระตุ้นเศรษฐกิจของการ
      ลงทุนโดยตรวจจากต่างประเทศในการพัฒนาเขื่อนไฟฟ้าพลังงาน
      ในลำานำำาโขงสายหลักในภูมิภาคลุ่มนำำาโขงตอนล่าง
   - อาจได้รับประโยชน์จากรายได้สุทธิในช่วงสัมปทาน ทังนีำขึำนอยู่กับ
                                                       ำ
      การออกแบบข้อตกลงทางการเงินและขีดความสามารถในการ
      บริหารงานอย่างเพียงพอ
   - ได้รับผลประโยชน์อย่างมากมายหลังสิำนสุดสัญญาสัมปทาน 25 ปี
      และโครงการถูกถ่ายโอนไปยังรัฐบาล สปป.ลาว
- ได้รับผลประโยชน์จากพืำนที่ชลประทานที่เพิ่มขึำนและผลผลิต
    การเกษตรที่เพิ่มขึำนในบางพืำนที่
  - มีความยืดหยุ่นเชิงกลยุทธศาสตร์ระยะยาวในการจัดการแหล่ง
    พลังงานเมื่อช่วงเวลาสัมปทานสิำนสุดลง
ความเสี่ยง
  - มีความเป็นไปได้ที่จะเกิดการพัฒนาเศรษฐกิจที่ไม่สมบูรณ์
    เนื่องจากการขยายตัวเกินขนาดของภาคพลังงานเขื่อนไฟฟ้า
    พลังงานนำำา
  - การสูญเสียการประมง อาจจะส่งผลกระทบต่อความมั่นคงด้าน
    อาหารและการดำาลงชีวิตของประชากรกลุมที่จะได้รบผลกระทบ
                                               ่       ั
  - สูญเสียพืำนที่ทำาสวนริมนำำา ซึ่งมีความสำาคัญอย่างมากใน สปป.ลาว
  - สูญเสียแหล่งท่องเที่ยวที่มีค่า
  - สูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ

   ประเทศไทย ได้รบผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยรวม แม้ว่าจะไม่มี
                        ั
นัยสำาคัญต่อเศรษฐกิจระดับชาติ
   - มีความเสี่ยงทางเศรษฐกิจต่อการดำารงชีวิตของชุมชนที่ตัำงอยู่ริม
      นำำาในเขตลุ่มนำำา
โอกาส
   - จะได้รับส่วนแบ่งอย่างมากจากผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจได้จาก
      การนำาเข้าพลังงานไฟฟ้า
   - ได้รับประโยชน์จากการปรับปรุงเส้นทางเดินเรือสำาหรับเรือขนาด
      กลางและขนาดใหญ่ในตอนบนของภูมิภาคลุ่มนำำาโขงตอนล่าง
ความเสี่ยง
   - สูญเสียแหล่งประมง
   - สูญเสียพืำนที่การเกษตร
   - อาจสูญเสียแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์

     ประเทศเวียดนาม มีแนวโน้มที่จะเกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจ
โดยรวม และชุมชนในบริเวณที่ราบปากแม่นำาโขงจะต้องแบกรับความ
สูญเสียนัำน
โอกาส
   - จะได้รับส่วนแบ่งอย่างมากทางเศรษฐกิจมี่ได้รับจากการนำาเข้า
     พลังงานไฟฟ้า
ความเสี่ยง
- สูญเสียอย่างมากจากการประมงนำำาจืด ประมงทะเล และการเพาะ
        เลีำยงสัตว์นำา ส่งผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของชาวประมงใน
        บริเวณสามเหลี่ยมปากแม่นำาโดยเฉพาะคนยากจน
    - สูญเสียตะกอนดินแม่นำาและสารอาหารที่เกี่ยวเนื่องซึ่งจะส่งผลกระ
        ทบในทางลบต่อเศรษฐกิจอย่างมากต่อการเกิดพืำนที่ดินที่เกิดจาก
        การสะสมตัวของตะกอนปากแม่นำาการประมงทัำงนำำาจืดและนำำาเค็ม
        และการเกษตร
        นอกจากนีำยังมีการบริหารจัดการประมงแหล่งนำำาในบริเวณลุ่มแม่นำา
โขงมีวัตถุประสงค์ให้มีการใช้ทรัพยากรประมงอย่างยั่งยืน7 โดยใช้
มาตรการการอนุรักษ์ทรัพยากรประมงตามพระราชบัญญัติการประมง
พ.ศ. 2490 เช่น ห้ามมิให้มีการทำาประมงในลักษณะทำาลายพืชพันธุ์
โดยวิธีใช้ยาเบื่อเมา ช๊อตด้วยไฟฟ้า และโดยใช้ระเบิด นอกจากนีำได้มี
การพิจารณากำาหนดเขตรักษาพันธุ์พืชพันธุ์ให้เป็นที่อยู่อาศัยของพ่อแม่
พันธุ์ที่จะช่วยแพร่ขยายพันธุ์ต่อไป เช่น เขตรักษาพันธุ์พืชในหนองหาน
จังหวัดสกลนคร และกว๊านพะเยา จังหวัดพะเยา เป็นต้น
        พระราชบัญญัติการประมง พ.ศ. 2490 เปิดโอกาสให้ใช้ผลการ
ศึกษาทางวิชาการในการกำาหนดมาตรการควบคุมการทำาประมง เช่น
การห้ามทำาการประมงในฤดูปลาวางไข่ (ยกเว้นการทำาประมงเพื่อการ
ยังชีพด้วยเครื่องมือประมงทีกำาหนด) การควบคุมพืำนที่การวางไข่เลียง
                               ่                                ำ
ตัวอ่อนของปลาบางชนิด และการห้ามใช้เครื่องมือประมงที่มี
ประสิทธิภาพสูงในแหล่งนำำาจืด เป็นต้น นอกเหนือจากการควบคุมการ
ทำาประมงดังกล่าว ยังมีการบริหารจัดการแหล่งนำำาด้วยวิธีการต่างๆ เพื่อ
ให้แหล่งนำำานัำนคงความอุดมสมบูรณ์ เช่น การพิจารณาปล่อยพันธุ์สัตว์
นำำาที่เหมาะสมเพื่อเพิ่มผลผลิต โครงการประมงหน้าวัด โครงการประมง
หน้าบ้าน และ โครงการสร้างที่อยู่อาศัยของพันธุ์ปลา เป็นต้น
        รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 กำาหนดให้มีการก
ระจายอำานาจการบริหารลงสู่ท้องถิ่นและเปิดโอกาสให้ประชาชน หรือ
ตัวแทนประชาชน เช่น ชุมชน หรือ องค์การบริหารส่วนตำาบล มีส่วนใน
การบริหารจัดการทรัพยากรในท้องถิ่นซึ่งรวมถึงทรัพยากรประมงด้วย
โดยหนึ่ง หรือ หลาย อบต. ทีมีส่วนเกี่ยวข้องสามารถวางหลักเกณฑ์
                                 ่
ออกกฎระเบียบบริหารจัดการทรัพยากรประมงได้ เช่น การกำาหนดเขต
การทำาประมง กำาหนดเครื่องมือประมง ช่วงเวลาทำาการประมง ตลอดจน


7
 ปรีชา เปลี่ยนพงศ์สานต์. นิเวศวิทยาการเมืองและมโนทัศน์แห่งความยั่งยืน
ยาวนาน. ม.ป.ท., 2547.
เก็บเงินเพื่อสิทธิทำาการประมง เป็นต้น ทังนีำกฎระเบียบต่างๆต้องไม่ขัด
                                         ำ
ต่อพระราชบัญญัติการประมงและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง
      ดังนัำนจะเห็นได้ว่า การบริหารจัดการและควบคุมการจับสัตว์นำาที่
ดำาเนินการอยู่ขณะนีำได้ผลดี แต่ยังไม่ทั่วถึงและเพียงพอ ชาวประมงยังมี
การพัฒนาเครื่องมือประมงให้มีประสิทธิภาพสูง และจับปลาในลักษณะ
ทำาลายในแหล่งนำำาที่มีพลังการอนุรักษ์ทรัพยากรประมง
      อย่างไรก็ดี ด้วยความผูกพันกับปลามาเวลานาน ประชากรในลุ่ม
นำำาโขงใช้ผลผลิตปลาอย่างคุ้มค่า และมีประสิทธิภาพ โดยบริโภคปลา
เกือบทุกชนิด ทุกขนาด มีการปรับปรุงแต่งผลิตภัณฑ์สัตว์นำาหลายแบบ
หลายวิธี ผลิตภัณฑ์ปลาโดยวิธีพืำนเมืองหลายชนิดยังเป็นที่ยอมรับและ
นิยมอยูทั่วไปไม่เคยเปลียนแปลง
        ่                 ่


สรุป แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงทิศทางในอนาคตของวิถีชีวิตของ
ชาวประมงในลุ่มแม่นำาโขงตอนล่าง
       ลุ่มแม่นำาโขงถือเป็นแม่นำาสำาคัญหรือแม่นำาแห่งชีวิตของผู้คนใน
แถบนีำ เพราะทุกคนสามารถใช้บริโภค อุปโภคได้อย่างเสรี รวมถึงการ
ขึำนลงของนำำาก็เป็นไปอย่างธรรมชาติ ทำาให้ชาวบ้านสามารถคาดการณ์
ได้ล่วงหน้าว่าต่อไปทิศทาง กระแสนำำา และการขึำนลงของนำำาจะเป็นเช่น
ไร เพื่อที่วาจะได้สามารถเตรียมตัวรับมือกับสิ่งที่จะเกิดขึำนได้อย่างทัน
            ่
ท่วงที อีกทังการประกอบอาชีพต่างๆโดยเฉพาะอย่างยิ่งการประมงซึ่ง
              ำ
ต้องใช้นำาเป็นส่วนประกอบสำาคัญ ในการจับปลา ซึ่งปลานัำนก็มีให้หา ให้
ตกกันอย่างตลอดเวลา เพราะแม่นำาโขงนีถือได้ว่าเป็นแม่นำาสายที่ยาว
                                          ำ
ที่สุดในโลก และมีความหลากหลายทางชนิดพันธุ์ปลามากที่สุดเช่นกัน
ดังนัำน การออกหาปลา เมื่อได้ปลามาแล้ว ก็จะมีการนำาไปบริโภคกัน
ภายในครอบครัว เมื่อเหลือจากการบริโภคแล้วก็จะนำามาซืำอขายแลก
เปลียนกัน เพราะในอดีตยังไม่เป็นโลกของทุนนิยมหรือ โลกธุรกิจ
     ่
ทางการค้ามากนัก
       โลกของธุรกิจการแสวงหาผลกำาไรจากธรรมชาติที่ได้มาโดยฟรีๆ
โดยไม่ต้องลงทุนลงแรงอะไรมากนัก แต่ผลตอบรับกลับมาเป็นผลกำาไร
อย่างมหาศาลเริมเข้ามาครอบงำาพฤติกรรมของมนุษย์เพิ่มมากขึำน จาก
                  ่
วัตถุประสงค์ของการหาปลาเพื่อยังชีวิต ไปสู่การหาปลาเพื่อธุรกิจจาก
นายทุนต่างๆ รวมทัำงการจับมือร่วมกันระหว่างภาครัฐของประเทศต่างๆที่
ได้มีการก่อสร้างสิ่งที่เป็นการรบกวนธรรมชาติทัำงโครงการสร้างเขื่อน
โครงการระเบิดเกาะแก่ง และโครงการอื่นๆ เป็นต้น ทำาให้ธรรมชาติใน
บริเวณลุ่มแม่นำาโขงมีการเปลียนแปลงไป และส่งผลกระทบอย่างร้าย
                                ่
แรงอย่างยิ่งต่อวิถีชีวิตของคนในลุ่มนำำาโขงสืบต่อมายังอนาคต
        หากนักลงทุนต่างๆไม่เปลี่ยนพฤติกรรมหรือการลงทุนทำาธุรกิจดัง
ที่ได้กล่าวไว้ข้างต้นแล้ว ก็จะส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตของชาวประมงลุ่ม
นำำาโขงตอนล่าง แหล่งพันธุ์ปลาและความหลากหลายทางระบบนิเวศก็
จะลดลงเรื่อยๆ จนเกิดเป็นวิกฤตที่ยากจะแก้ไขให้ผ่านพ้นไปได้ อีกทัำง
ทรัพยากรที่เคยมีอยู่ ความผูกพันของคนในท้องถิ่น อาชีพ วัฒนธรรม
ต่อลุ่มแม่นำาโขงนีำก็จะเลือนหายไป ผู้คนแทนที่จะประกอบอาชีพภายใน
ท้องถิ่นตนเองที่มีความผูกพันระหว่างกันภายในครอบครัว กลับต้องไป
แสวงหาอาชีพใหม่ๆในต่างถิ่นมาแทนที่อาชีพเดิมของตน และเพราะ
เมื่อลุ่มแม่นำาโขงกำาลังเข้าสูยุคใหม่ที่มีการพัฒนาเกิดขึำนรวดเร็วมาก
                              ่
การพัฒนานีำอาจเปลี่ยนสภาพภูมิประเทศ ความสมบูรณ์ของระบบนิเวศ
และคุณภาพชีวิตของประชาชนไปอย่างถาวร แม้วาการพัฒนาจะเป็นสิ่ง
                                                     ่
ที่หลีกเลียงไม่ได้ แต่สามารถจะมีการบริหารจัดการที่ดีได้ การจัดการที่
            ่
ดีนเป็นของจำาเป็นสำาหรับการบรรเทาผลกระทบทางสิงแวดล้อมและทาง
    ีำ                                             ่
สังคมทีจะเกิดขึนจากการพัฒนาและจะช่วยให้ทรัพยากรธรรมชาติมีความ
          ่       ำ
ยั่งยืนในระยะยาว
        ดังนัำนเราควรให้ความสำาคัญทัำงต่อชีวิตและทรัพยากรให้มากขึำน
เสมือนตัวเราเป็นธรรมชาติที่ต้องคอยได้รับการดูแลจากดิน นำำา อากาศ
หากขาดสิ่งใดสิ่งหนึ่งก็จะทำาให้เราตายได้ในที่สุด เช่นเดียวกันวิถีชีวิต
ของคนในลุ่มแม่นำาโขงที่มีอยู่สืบต่อกันมานานล้วนต้องอาศัยปัจจัย
หลายๆอย่างมาเป็นส่วนประกอบให้เกิดความสวยงาม หากมีใครคนใด
คนหนึ่งมาทำาลาย วิถีชีวิตของคนในลุ่มนำำาแห่งชีวิตนีำก็จะเปลียนแปลง
                                                             ่
ไป




                           เอกสารอ้างอิง

ภาษาไทย
อุดมรัตน์ ดีเอง. แลของ : วิถีชีวิตชุมชนสองฝั่งโขงไทย-ลาว :
เรื่องเล่าจากภาพ = Life along the
Mekong: photo narrative. ขอนแก่น : ศูนย์วิจัยพหุลักษณ์
     สังคมลุ่มนำำาโขง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 2550.
มหาวิทยาลัยแม่ฟาหลวง. โครงการจัดตัำงพิพิธภัณฑ์อารยธรรมลุ่มนำำา
                   ้
โขง. วิถีชีวิตลุ่มนำำาโขงกับการ
     เปลี่ยนแปลง. เชียงราย : โครงการจัดตัำงพิพิธภัณฑ์อารยธรรม
     ลุ่มนำำาโขง สำานักวิชาศิลปศาสตร์, 2551.
สุวัฒน์ กิขุนทด. บนสายนำำาโขง : สารคดีบนทึกประวัติศาสตร์สังคม
                                          ั
ผ่านวิถีชีวิตของผู้คน. นนทบุรี :
     อินโดไชน่าพับลิชชิ่ง, 2541.
ปรีชา เปลี่ยนพงศ์สานต์. นิเวศวิทยาการเมืองและมโนทัศน์แห่ง
ความยั่งยืนยาวนาน. ม.ป.ท., 2547.
บูชิตา สังข์แก้ว. วัฒนธรรมปลา และจุดจบตำานานพรานปลา.
กรุงเทพฯ : คณะกรรมการเผยแพร่และ
    ส่งเสริมงานพัฒนา, 2540.


รายการอ้างอิงทางอิเลกทรอนิกส์
[Online].โครงการเขื่อนในประเทศจีน. URL :
http://www.thaingo.org/story/book_024.htm
[Online].รู้จักแม่นำาโขง/Mekhong Information. URL : http://
mekhong.wordpress.com/
%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%88%E0
%B8%B1%E0%B8%81%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B9
%88%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B9%82%
E0%B8%82%E0%B8%87mekhong-information/

More Related Content

Similar to วิถีชีวิตของชาวประมงในลุ่มแม่น้ำโขงตอนล่าง

Update แถลงการณ์ประชาชน ว่าด้วยโครงการเขื่อนในภูมิภาคแม่น้ำโขง
Update แถลงการณ์ประชาชน ว่าด้วยโครงการเขื่อนในภูมิภาคแม่น้ำโขงUpdate แถลงการณ์ประชาชน ว่าด้วยโครงการเขื่อนในภูมิภาคแม่น้ำโขง
Update แถลงการณ์ประชาชน ว่าด้วยโครงการเขื่อนในภูมิภาคแม่น้ำโขงKim Chai
 
แถลงการณ์ประชาชน ว่าด้วยโครงการเขื่อนในภูมิภาคแม่น้ำโขง
แถลงการณ์ประชาชน ว่าด้วยโครงการเขื่อนในภูมิภาคแม่น้ำโขงแถลงการณ์ประชาชน ว่าด้วยโครงการเขื่อนในภูมิภาคแม่น้ำโขง
แถลงการณ์ประชาชน ว่าด้วยโครงการเขื่อนในภูมิภาคแม่น้ำโขงKim Chai
 
แผนแม่บท 27.9.56
แผนแม่บท 27.9.56แผนแม่บท 27.9.56
แผนแม่บท 27.9.56wateropm
 
ภูมิภาคชายฝั่ง
ภูมิภาคชายฝั่งภูมิภาคชายฝั่ง
ภูมิภาคชายฝั่งjumjaP
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แก่งเสือเต้น
แก่งเสือเต้นแก่งเสือเต้น
แก่งเสือเต้นPoramate Minsiri
 
โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1nananattie
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำโครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำBabymook Juku
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำโครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำBabymook Juku
 
รายงาน อ ณรง ตัวเต็ม
รายงาน อ ณรง ตัวเต็มรายงาน อ ณรง ตัวเต็ม
รายงาน อ ณรง ตัวเต็มBall Diet
 
ความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศKittiya GenEnjoy
 
โครงการชลประทาน
โครงการชลประทานโครงการชลประทาน
โครงการชลประทานChanapun Kongsomnug
 
บทบาทของเครือข่ายในการรับมืออุทกภัย 2554
บทบาทของเครือข่ายในการรับมืออุทกภัย 2554บทบาทของเครือข่ายในการรับมืออุทกภัย 2554
บทบาทของเครือข่ายในการรับมืออุทกภัย 2554Poramate Minsiri
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22Nongruk Srisukha
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22Nongruk Srisukha
 
Newsletter pidthong vol.3
Newsletter pidthong vol.3Newsletter pidthong vol.3
Newsletter pidthong vol.3tongsuchart
 
โครงการเขื่อนขุนด่านปราการชล
โครงการเขื่อนขุนด่านปราการชลโครงการเขื่อนขุนด่านปราการชล
โครงการเขื่อนขุนด่านปราการชลG'ad Smile
 
การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...
การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...
การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...Dr.Choen Krainara
 

Similar to วิถีชีวิตของชาวประมงในลุ่มแม่น้ำโขงตอนล่าง (20)

Update แถลงการณ์ประชาชน ว่าด้วยโครงการเขื่อนในภูมิภาคแม่น้ำโขง
Update แถลงการณ์ประชาชน ว่าด้วยโครงการเขื่อนในภูมิภาคแม่น้ำโขงUpdate แถลงการณ์ประชาชน ว่าด้วยโครงการเขื่อนในภูมิภาคแม่น้ำโขง
Update แถลงการณ์ประชาชน ว่าด้วยโครงการเขื่อนในภูมิภาคแม่น้ำโขง
 
แถลงการณ์ประชาชน ว่าด้วยโครงการเขื่อนในภูมิภาคแม่น้ำโขง
แถลงการณ์ประชาชน ว่าด้วยโครงการเขื่อนในภูมิภาคแม่น้ำโขงแถลงการณ์ประชาชน ว่าด้วยโครงการเขื่อนในภูมิภาคแม่น้ำโขง
แถลงการณ์ประชาชน ว่าด้วยโครงการเขื่อนในภูมิภาคแม่น้ำโขง
 
แผนแม่บท 27.9.56
แผนแม่บท 27.9.56แผนแม่บท 27.9.56
แผนแม่บท 27.9.56
 
ภูมิภาคชายฝั่ง
ภูมิภาคชายฝั่งภูมิภาคชายฝั่ง
ภูมิภาคชายฝั่ง
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แก่งเสือเต้น
แก่งเสือเต้นแก่งเสือเต้น
แก่งเสือเต้น
 
ป่าชายเลน
ป่าชายเลนป่าชายเลน
ป่าชายเลน
 
โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำโครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำโครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
 
รายงาน อ ณรง ตัวเต็ม
รายงาน อ ณรง ตัวเต็มรายงาน อ ณรง ตัวเต็ม
รายงาน อ ณรง ตัวเต็ม
 
ความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศ
 
โครงการชลประทาน
โครงการชลประทานโครงการชลประทาน
โครงการชลประทาน
 
บทบาทของเครือข่ายในการรับมืออุทกภัย 2554
บทบาทของเครือข่ายในการรับมืออุทกภัย 2554บทบาทของเครือข่ายในการรับมืออุทกภัย 2554
บทบาทของเครือข่ายในการรับมืออุทกภัย 2554
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
 
Newsletter pidthong vol.3
Newsletter pidthong vol.3Newsletter pidthong vol.3
Newsletter pidthong vol.3
 
โครงการเขื่อนขุนด่านปราการชล
โครงการเขื่อนขุนด่านปราการชลโครงการเขื่อนขุนด่านปราการชล
โครงการเขื่อนขุนด่านปราการชล
 
8สารคดีแม่น้ำสงคราม
8สารคดีแม่น้ำสงคราม8สารคดีแม่น้ำสงคราม
8สารคดีแม่น้ำสงคราม
 
การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...
การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...
การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...
 

วิถีชีวิตของชาวประมงในลุ่มแม่น้ำโขงตอนล่าง

  • 1. วิถีชีวิตของชาวประมงในลุ่มแม่นำาโขงตอนล่าง บทนำา ภูมิภาคลุ่มนำำาโขงซึ่งครอบคลุมอาณาบริเวณของประเทศจีน กัมพูชา สปป.ลาว พม่า ไทย และเวียดนาม เป็นภูมิภาคที่เติบโตทาง เศรษฐกิจเร็วที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ในบรรดาผู้อยู่อาศัย 300 ล้านคน มากกว่า 100 ล้านคนมีชีวิตที่พึ่งพาอยู่กับการประมงและผลิตผลอื่นๆ ของระบบแม่นำาสายหลักต่างๆ อันได้แก่ ล้านช้าง-แม่โขงนู-สาละวิน แยงซีตอนบน อิระวดี เจ้าพระยา และแม่นำาแดง พร้อมกันนัำนการใช้ ประโยชน์ทรัพยากรนำำาในเชิงพาณิชย์ การพัฒนาโครงสร้างพืำนฐานทาง นำำา และมลพิษทางนำำาก็เพิ่มมากขึำนเช่นกัน ในปัจจุบันนีำได้มีการให้ความสำาคัญแก่สิ่งแวดล้อมมากขึำน แต่ใน ขณะเดียวกันกลุ่มผู้มีอำานาจทางเศรษฐกิจการเมืองก็ยังคงดำาเนินการ เพื่อรักษาระบบเก่าให้ดำารงอยู่ต่อไป การพัฒนายังคงมุ่งไปในทิศทาง ของการส่งเสริมการขยายตัวทางเศรษฐกิจ โดยมีการเอ่ยถึงเรื่องการ จัดการสิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติให้มประสิทธิภาพเท่านัำนเอง ี เมื่อมีความขัดแย้งระหว่างหลักการ “การอนุรักษ์” กับ “การพัฒนา” เกิด ขึำนในภาคปฏิบัติ การตัดสินปัญหาจะจบลงด้วยข้อสรุปทีว่าความ ่ ต้องการทางธุรกิจและเศรษฐกิจการผลิตสำาคัญกว่าการอนุรักษ์ รายได้ ประชาชาติต้องขยายตัวต่อไป การแสวงหากำาไรสูงสุดต้องดำาเนินต่อไป ภายใต้ความต้องการทางธุรกิจและเศรษฐกิจทำาให้แม่นำาโขงและ ลำานำำาสาขาซึ่งเป็นแหล่งประมงทีมีความสำาคัญในลุ่มนำำาโขงอย่างมาก ่ ทำาให้ปริมาณปลาที่จับได้จากแหล่งนำำามีแนวโน้มลดลง โดยเฉพาะ อย่างยิ่งปลาที่มีความสำาคัญทางเศรษฐกิจและบางชนิดอยู่ในระดับ วิกฤตที่จะสูญพันธุ์ ทัำงนีำเนื่องจากผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่เกิดจาก กิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ ทีมีผลทังทางตรงและทางอ้อมต่อแหล่ง ่ ำ ประมง เช่น การสร้างฝาย เขื่อนเพื่อการจัดการนำำา โรงงานอุตสาหกรรม การเกษตรกรรม และการคมนาคม เป็นต้นซึ่งเป็นกิจกรรมโดยมนุษย์ส่ง ผลในวงกว้างต่อความอุดมสมบูรณ์ของระบบนิเวศในลุ่มนำำาที่กำาลังถูก คุกคามมากขึำนจากการพัฒนา ความหลากหลายทางชีวภาพในลุ่มแม่นำา โขงซึ่งมีความอุดมสมบูรณ์มากที่สุดแห่งหนึ่งในโลกกำาลังถูกกระทบ จากการที่ต้องสูญเสียแหล่งอาศัยของสิ่งมีชีวิตไป ทังนีำก็เนื่องมาจาก ำ การทำาป่าไม้ เกษตรกรรม และการผลิตไฟฟ้าพลังนำำา รวมทัำงการล่าสัตว์ ป่าและการเก็บเกี่ยวพืชป่า ผลคือทำาให้ปลาที่เคยจับได้ลดจำานวนลง ความหลากหลายทางชีวภาพและสัตว์ป่าก็ลดลดเช่นกัน
  • 2. การประมงในลุ่มแม่นำาโขงตอนล่าง ลุ่มแม่นำาโขงตอนล่างเป็นแหล่งปลาที่ชุกชุมมากที่สุดในโลกแห่ง หนึ่งและมีปลาอยู่มากกว่า 1,300 ชนิดพันธุ์ แต่ความรู้เกี่ยวกับชีววิทยา วัฏจักรชีวิต การอพยพ และแหล่งอาหารของปลาอีกหลายชนิดยังมีน้อย มาก การประมงในแม่นำาโขงถือเป็นแหล่งหล่อเลีำยงประชากรหลายล้าน คน คือเป็นทังแหล่งอาหารโปรตีนจากสัตว์แหล่งใหญ่ที่สุดในบางพืำนที่ ำ และเป็นฐานทางเศรษฐกิจของชุมชนท้องถิ่นหลายแห่ง การทำาการประมงและการทำาการเกษตรเป็นวิถีชีวิตหลักของ ประชาชนใน ลุ่มนำำาโขง คนที่อาศัยอยู่ในที่ราบลุ่มจะปลูกข้าว ส่วนคนที่ อยู่ที่สูงจะทำาไร่และหาปลาจากแม่นำาสาขา บริเวณที่ราบนำำาท่วมถึงและ บริเวณปากแม่นำาก็เป็นพืำนที่ปลูกข้าว ทำาการประมงนำำาจืดเพื่อเลีำยงชีพ และขายในตลาดของชุมชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้หญิงจะมีบทบาทใน การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ โดยรูปแบบของกิจกรรมและบทบาทจะ สัมพันธ์กับการผลิตอาหาร เชืำอเพลิงและนำำา1 ระบบการใช้ประโยชน์จากที่ดิน การเกษตรกรรม ไม่ว่าจะเป็นการ เก็บเกี่ยวข้าว การประมง รวมไปถึงระบบประเพณีวัฒนธรรม เช่น การ แข่งเรือ การไหลเรือไฟ จะมีความเชื่อมโยงกับสภาพแวดล้อมและ ฤดูกาลขึำนลงของแม่นำาโขง ชาวบ้านจะใช้ภูมิปัญญาและเทคโนโลยีพืำนบ้านในการจัดการนำำา และตะกอนดินจากทุ่งนา การทำาเครื่องมือจับปลาและตาข่ายที่พัฒนามา จากการสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น ในลุ่มนำำาโขงปลาจึงเป็นแหล่งอาหารโปรตีนที่สำาคัญที่สุดใน ภูมิภาคนีำ ทะเลสาบเขมรถือเป็นหนึ่งในแหล่งผลิตปลาที่สำาคัญแห่งหนึ่ง ของโลก ผลผลิตในแต่ละปีจะมีปริมาณ ๑๐๐,๐๐๐ ตัน ซึ่งเป็นแหล่ง อาหารโปรตีนของชาวกัมพูชาถึง ๙.๕ ล้านคน รวมทังในประเทศเพื่อน ำ บ้าน เช่น ลาว มีการบริโภคปลาจำานวน ๘๕ % ของประชากร2 ทะเลสาบเขมรถือเป็นตัวอย่างของความหลากหลายของระบบ นิเวศน์ในภูมิภาคนีำ และมีความสัมพันธ์กับการดำารงชีวิตของชุมชน โดย ปกติทะเลสาบจะมีนำาท่วมริมฝั่งแม่นำาในระหว่างฤดูฝนและจะค่อย ๆ ลด 1 สุวัฒน์ กิขุนทด. บนสายนำำาโขง : สารคดีบันทึกประวัติศาสตร์สังคมผ่านวิถี ชีวิตของผู้คน. นนทบุรี : อินโดไชน่าพับลิชชิ่ง, 2541. 2 บูชิตา สังข์แก้ว. วัฒนธรรมปลา และจุดจบตำานานพรานปลา. กรุงเทพฯ : คณะกรรมการเผยแพร่และส่งเสริมงานพัฒนา, 2540.
  • 3. ลงตลอดระยะเวลาที่เหลือในแต่ละปี จากการที่ระดับนำำาในทะเลสาบสูง ขึำนและท่วมบริเวณป่าไม้ที่อยู่รอบ ๆ ทะเลสาบ ปลาจึงเข้าไปอาศัยและ แพร่พันธุ์ เมื่อระดับนำำาลดลง ปลาได้อพยพออกจากแหล่งดังกล่าวไปสู่ แหล่งนำำา ลำาห้วยสาขาต่าง ๆ ของแม่นำาโขง ประมาณ ๘๕ % ของการผลิตข้าวในทีราบนำำาท่วม รอบ ๆ ่ ทะเลสาบและแม่นำาโขงขึำนอยู่กับตะกอนดินที่เกิดจากนำำาท่วมซึ่งมีความ อุดม สมบูรณ์สูง ดังนัำนในการผลิตข้าวจึงมีความผูกพันกับวงจรของการ เกิดนำำาท่วม นำำาขังในระบบของทะเลสาบเขมรและลุ่มนำำาโขง ฤดูกาลธรรมชาติของแม่นำาโขงก่อให้เกิดภูมิปัญญาในการใช้และ ไม่ใช้ หรือจะใช้อย่างไร ทังในการผลิตการเกษตรกรรมและการประมงก็ ำ ขึำนอยู่กับระบบนิเวศย่อยที่ต่างกันออกไป กระทังได้ก่อเกิดวัฒนธรรมที่ ่ หลากหลายตลอดสองฝั่งริมแม่นำาโขง 3 ดังนัำนในอดีตการหาปลาเป็นอาชีพหลักของชาวบ้าน จะมีสัดส่วน จำานวนมาก ปัจจุบันเริ่มลดน้อยลง แต่ยังคงมีจำานวนอยูมากเช่นกัน ่ เนื่องจากภาวะทางเศรษฐกิจ และการลดลงของจำานวนปลาที่ได้รับผลก ระทบจาการเปลียนแปลงที่ผิดธรรมชาติของแม่นำาโขง ทำาให้การไปมาก็ ่ ไม่ยงยากอะไร อาศัยสายสัมพันธ์และการรู้จักกับเจ้าหน้าที่ประจำาของ ุ่ แต่ละประเทศ โดยแบ่งปันปลาให้กันกิน ปัจจุบันวิธีการแบบนีำไม่อีกแล้ว เพราะเสี่ยงอันตราย และคนหาปลาบอกว่า ปลาทางตอนเหนือของ แม่นำาโขงลดจำานวนลง การสร้างเขื่อนในลุ่มแม่นำาโขงตอนบน ประเทศจีนมีแผนสร้างเขื่อนจำานวน 8 เขื่อนในทางตอนบนของ แม่นำาโขง เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าเพื่อใช้ในภาคตะวันตกเฉียงใต้ของ ประเทศ เขื่อนแมนวาน (Manwan) สร้างเสร็จเป็นเขื่อนแรกเมื่อปี 2539 ในปีเดียวกันนัำน ได้เริ่มสร้างเขื่อนดาเชาชาน (Dachaochan) ถัดมาในปี 2544 รัฐบาลยูนนานสร้างเขื่อนเซียววาน (Xiaowan) สำาหรับเขื่อนอื่นๆ อยู่ในระหว่างการวางแผนเช่นเขื่อนจิงฮอง (Jinghong) เขื่อนนัวซาดู (Nuozhadu) เขื่อนกองกัวเคียว (Gongguoqiao) เขื่อนกันลันบา (Ganlanba) และเขื่อนเมงซอง (Mengsong)4 3 อุดมรัตน์ ดีเอง. แลของ : วิถีชีวิตชุมชนสองฝั่งโขงไทย-ลาว : เรื่องเล่า จากภาพ = Life along the Mekong: photo narrative. ขอนแก่น : ศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่มนำำาโขง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 2550. 4 [Online].โครงการเขื่อนในประเทศจีน. URL : http://www.thaingo.org/story/book_024.htm
  • 4. โครงการสร้างเขื่อนในแม่นำาโขงตอนบนนีำกำาลังคุกคามต่อ ระบบ นิเวศวิทยาอันสลับซับซ้อนซึ่ง ประชาชนกว่า 60 ล้านคนต้องพึ่งพิงอยู่ ทัำงในด้านการประมงและการเกษตร โดยทังนีำประชากรกว่า 90 ำ เปอร์เซ็นต์ในลุ่มแม่นำาโขงมีอาชีพขึำนอยู่กับการเกษตรกรรม และการหา ปลาจากแม่นำาโขงและแม่นำา สาขา ซึ่ง 80 เปอร์เซ็นต์ของแหล่งโปรตีน สำาหรับภูมิภาคนีำได้มาจากปลาแม่นำาโขง คณะกรรมการ ลุมแม่นำาโขง ่ (MRC) ได้ประเมินว่าปลาที่จับได้ในแม่นำาโขงตอนล่างมีมลค่ารวม ู มากกว่า 1 พันล้าน เหรียญสหรัฐต่อปี พืำนที่โครงการสร้างเขื่อนในแม่นำาโขงตอนบนในประเทศจีน โครงการนีำจะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรงต่อระบบ ธรรมชาติของการท่วมและการแห้ง แล้งของแม่นำา และปิดกัำนเส้น ทางการไหลของตะกอนดิน การเปลี่ยนแปลงเหล่านีำจะก่อให้เกิดผลกระ ทบ อย่างมากต่อวิถีชีวิตของประชาชนหลายล้านคน ซึ่งอาศัยอยู่ตอน ล่างของแม่นำาในประเทศ พม่า ไทย ลาว กัมพูชา และเวียดนาม เขื่อนในแม่นำาโขงตอนบนเหล่านีำ จะทำาให้ระดับการไหลของแม่นำา โขงตอนล่างในหน้าแล้งเพิ่มขึำน เป็นสองเท่า ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลง วงจรธรรมชาติของแม่นำา ปริมาณนำำาในแม่นำาที่เกิดจากพืำนที่รับนำำา ใน ส่วนแม่นำาโขงตอนบนในประเทศจีนนีำ มีส่วนสำาคัญต่อปริมาณการไหล ของแม่นำาในหน้าแล้งช่วง ประเทศลาวและไทย ในขณะทีประมาณ ่ 15-20 เปอร์เซ็นต์ของปริมาณนำำารวมต่อปีนีำไหลไปถึงประเทศ เวียดนาม
  • 5. และประมาณกว่า 45 เปอร์เซ็นต์ของปริมาณการไหลเฉลี่ยของนำำาใน ประเทศกัมพูชาในช่วง เดือนเมษายนก็มาจากพืำนที่รับนำำาในประเทศจีนนีำ เขื่อนในมณฑลยูนานเหล่านีำจะทำาการเก็บกักนำำาใน ช่วงหน้าฝนและ ทำาการปล่อยนำำาในช่วงหน้าแล้งซึงทำาให้ระดับนำำาในช่วงหน้าแล้งสูงผิดก ่ ว่าปกติมาก หากมีการสร้างเขื่อนจำานวนมากในจีน จะมีปัญหารุนแรงเกิดขึำน จากเขื่อนอื่นๆ กับประเทศทางตอนล่างของแม่นำาโขงอย่างแน่นอน การ เก็บกักนำำาในช่วงฤดูฝนของเขื่อนต่างๆ จะทำาให้ระดับนำำาในแม่นำาโขงลด น้อยลง มีผลกระทบกับการเดินทาง และการวางไข่ของปลา ในขณะ เดียวกัน การปล่อยนำำาออกจากเขื่อนในฤดูแล้ง จะเพิ่มระดับนำำาในแม่นำา ให้มากกว่าธรรมชาติ การทำาการเกษตรริมฝั่งและเขตพืำนที่นำาท่วมถึง ของประเทศทางตอนล่าง ซึ่งมีความหลากหลาย และพึ่งพาระบบนำำา ท่วมตามธรรมชาติ ก็จะได้รับความเสียหายอย่างรุนแรง นอกจากนัำน เขื่อนยังจะเก็บกักตะกอนของแม่นำาซึ่งทำาให้พืำนที่เกษตรอุดมสมบูรณ์ และเป็นประโยชน์กับปลา ไม่ให้ไหลลงไปยังประเทศทางตอนล่างตาม ธรรมชาติ แต่จะทับถมอยูในเขื่อนต่างๆ แทน ่ ปัญหา ผลกระทบ และความขัดแย้งของการสร้างเขื่อนในลุ่ม แม่นำาโขงตอนบน หลังจากที่ได้มีการสร้างเขื่อนเกิดขึำนในลุ่มแม่นำาโขงตอนบนทำาให้ ผู้คนที่อยู่ในบริเวณลุ่มแม่นำาโขงตอนล่างซึ่งนับเป็นบ้านของเขา และ เป็นที่พบพืช สัตว์ที่ได้หายากและใกล้สูญพันธุ์หลายพันชนิด ระบบ นิเวศในลุมนำำานีำนบว่ามีความสมบูรณ์และความหลากหลายมากที่สุดแห่ง ่ ั หนึ่งของโลก แต่ระบบนิเวศเหล่านีำกำาลังถูกรบกวนอย่างหนักจากการ ขยายตัวของประชากรและภาคอุตสาหกรรมในบริเวณลุ่มนำำา อีกทัำงแรงกดดันต่อทรัพยากรทางสิ่งแวดล้อมในลุ่มแม่นำาโขงนัำน เกิดมาจากหลายปัจจัยที่เชื่อมโยงกันค่อนข้างซับซ้อน ปัจจัยดังกล่าว เช่น ความยากจน ความไม่มั่นคงในการครอบครองที่ดิน การอพยพ และ การขาดจิตสำานึกทางสิ่งแวดล้อมโยงใยเข้าด้วยกัน ทำาให้เกิดปัญหาสิ่ง
  • 6. แวดล้อมเสื่อมโทรม และยังก่อให้เกิดปัญหาการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ อย่างหมดเปลืองแทนที่จะอนุรักษ์ไว้เพื่อให้ใช้ได้อย่างยั่งยืน5 ซึ่งภัยที่คุกคามการประมงในลุมแม่นำาโขง ได้แก่ การทำาลาย ่ แหล่งอาศัย ภาวะมลพิษทางชีวภาพและทางเคมี การกีดขวางการ อพยพของปลา ชนิดพันธุ์ปลาจากต่างแดน และการจับปลามากเกินควร หรือจับปลาด้วยวิธีการผิดกฎหมาย ปัญหาการจับปลานีำกำาลังเป็นทีวิตก ่ กันมากขึำน เนื่องจากปลาบางชนิดกำาลังลดน้อยลง (ทังมีขนาดเล็กลง ำ และมีจำานวนน้อยลง) การเปลียนแปลงที่จะเกิดขึำนเหล่านีำ จะก่อให้เกิด ่ ผลกระทบต่อด้านต่างๆ ดังนีำ การทำาลายพันธุ์ปลาและการประมง สภาพแวดล้อมในการหาอาหารและวางไข่ของปลาทีมีการปรับตัว ่ ให้เข้ากับสภาพแม่นำาที่เต็มไป ด้วย ดินตะกอนของแม่นำาโขงจะได้รับ ผลกระทบอย่างรุนแรง ซึ่งจะนำาไปสู่การลดลงของความหลากหลาย ทางชีวภาพและผลผลิต พืำนทีวางไข่จะลดลงอย่างมากในหน้าแล้ง ่ เพราะแก่งต่างๆจะจมอยู่ใต้นำา ส่วน ในหน้าฝนระดับนำำาที่ตำ่ากว่าปกติใน พืำนที่ปาที่มนำาท่วมถึง ในประเทศลาว ตอนล่างและประเทศเขมร จะ ่ ี กระทบต่อแหล่งสำาคัญในการหาอาหาร วางไข่และ แหล่งอนุบาลสัตว์ นำำา ซึ่งผลที่จะตามมาคือการสูญเสียอย่างมากทางการประมงในลุม ่ แม่นำาโขง รวมทัำงความเป็นไปได้ในการ สูญพันธุ์ของสัตว์นำาบางพันธุ์ การเปลี่ยนวงจรการไหลของนำำา กระแสนำำาและปิดกัำนการพัดพาของตะกอนในแม่นำา เป็นการ เปลียนสภาพทางนิเวศวิทยาของแม่นำาอย่างสุดโต่ง และจะมีผลกระทบ ่ โดยตรงกับการใช้แม่นำาของประชาชนในประเทศจีนเอง และต่อประเทศ ในตอนล่าง คือพม่า ลาว ไทย กัมพูชา และเวียดนาม ซึ่งการ เปลียนแปลงทีสำาคัญที่สุด จะมาจากการเปลี่ยนแปลงการไหลของนำำา ่ ่ และวงจรการขึำนลงของกระแสนำำาตามธรรมชาติ ซึ่งจะมีผลกระทบอย่าง รุนแรงต่อการเกษตร และการประมง ทีเป็นหัวใจสำาคัญของการใช้แม่นำา ่ โขง การเก็บกักนำำาในช่วงฤดูฝนของเขื่อนต่างๆ 5 มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง. โครงการจัดตัำงพิพิธภัณฑ์อารยธรรมลุ่มนำำาโขง. วิถี ชีวิตลุ่มนำำาโขงกับการเปลี่ยนแปลง. เชียงราย : โครงการจัดตัำงพิพิธภัณฑ์ อารยธรรมลุ่มนำำาโขง สำานักวิชาศิลปศาสตร์, 2551.
  • 7. จะทำาให้ระดับนำำาในแม่นำาโขงลดน้อยลง มีผลกระทบกับการเดินทาง และการวางไข่ของปลา ในขณะเดียวกัน การปล่อยนำำาออกจากเขื่อนใน ฤดูแล้ง จะเพิ่มระดับนำำาในแม่นำาให้มากกว่าธรรมชาติ การทำาการเกษตร ริมฝั่งและเขตพืำนทีนำาท่วมถึงของประเทศทางตอนล่าง ซึ่งมีความหลาก ่ หลาย และพึ่งพาระบบนำำาท่วมตามธรรมชาติ ก็จะได้รับความเสียหาย อย่างรุนแรง การเปลี่ยนแปลงวงจรนำำาขึำน-นำำาลง ส่งผลกระทบอย่างมากต่อระบบนิเวศลุ่มแม่นำาโขงตอนล่าง มีผล ให้การขึำนลงของนำำาผิดธรรมชาติ และปริมาณเฉลี่ยของนำำาเพิ่มขึำนเป็น สองเท่าในฤดูแล้ง รวมทัำงธาตุอาหารที่พัดพามากับนำำากว่าครึ่งถูกเก็บกัก ไว้ นอกจากกระทบต่อการประมงโดยตรงแล้ว ยังมีผลต่อการเกษตรริม ฝั่งที่ต้องพึ่งพาธาตุอาหารซึงไหลมากับกระแสนำำาสะสมเป็นปุ๋ยในดิน ่ การพังทลายชายฝั่งแม่นำาโขง การกัดเซาะพังทลายของชายฝั่งแม่นำาโขงพบว่าการพังทลายของ ชายฝั่งเร็วและรุนแรงมากขึำน นอกจากนีำ ในระบบนิเวศลุ่มนำำาโขงที่มีแอ่ง นำำาลึก คาดว่าเป็นที่อยู่อาศัยและหากินของปลาบึก ปลานำำาจืดทีใหญ่ ่ ที่สุดในโลกและใกล้สูญพันธุ์ การพังทลายของชายฝัง หน้าดินตลอด ่ ลำานำำาโขงได้ทำาให้แอ่งนำำาลึกเหล่านีำตืำนเขิน ซึงอาจจะสุ่มเสี่ยงต่อการ ่ สูญพันธุ์ของปลาบึก6 ดังนัำนหากมีการสร้างเขื่อนจำานวนมากในจีน จะมีปัญหารุนแรงเกิด ขึำนจากเขื่อนอื่นๆ กับประเทศทางตอนล่างของแม่นำาโขงอย่างแน่นอน การเก็บกักนำำาในช่วงฤดูฝนของเขื่อนต่างๆ จะทำาให้ระดับนำำาในแม่นำาโขง ลดน้อยลง มีผลกระทบกับการเดินทาง และการวางไข่ของปลา ในขณะ เดียวกัน การปล่อยนำำาออกจากเขื่อนในฤดูแล้ง จะเพิ่มระดับนำำาในแม่นำา ให้มากกว่าธรรมชาติ การทำาการเกษตรริมฝั่งและเขตพืำนที่นำาท่วมถึง ของประเทศทางตอนล่าง ซึ่งมีความหลากหลาย และพึ่งพาระบบนำำา 6 [Online].รู้จักแม่นำาโขง/Mekhong Information. URL : http://mekhong.wordpress.com/ %E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%88%E0%B8%B1 %E0%B8%81%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%99 %E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B9%82%E0%B8%82%E0%B8%87m ekhong-information/
  • 8. ท่วมตามธรรมชาติ ก็จะได้รับความเสียหายอย่างรุนแรง นอกจากนัำน เขื่อนยังจะเก็บกักตะกอนของแม่นำาซึ่งทำาให้พืำนที่เกษตรอุดมสมบูรณ์ และเป็นประโยชน์กับปลา ไม่ให้ไหลลงไปยังประเทศทางตอนล่างตาม ธรรมชาติ แต่จะทับถมอยูในเขื่อนต่างๆ แทน ่ อีกทัำงผลกระทบดังกล่าวยังก่อให้เกิดความขัดแย้งระหว่างรัฐเกิด ขึำน ได้แก่ การคัดค้านจากภาคประชาสังคมในภูมิภาคแม่นำาโขง และ จากนานาประเทศ ในการก่อสร้างเขื่อนในลุ่มนำำาโขงตอนบนต่อไป ประเทศในลุ่มแม่นำาโขงตอนใต้เริ่มตัำงข้อวิจารณ์เขื่อนที่ปิดกัำนลำานำำาโขง ทางตอนบน หรือโครงการพัฒนาต่างๆ ที่ส่งผลกระทบข้ามพรมแดน หลายฝ่ายได้เรียกร้องให้มีการพูดคุยเพื่อหาหนทางแก้ไขปัญหาของคน ภายในลุ่มนำำาเดียวกันอย่างรูปธรรม แม้วาประเทศในแม่นำาโขงตอนล่างสี่ ่ ประเทศ คือ ไทย ลาว กัมพูชา และเวียดนาม ได้มีการรวมตัวกันในรูป ของคณะกรรมาธิการแม่นำาโขง เช่น Mekong River Commission หรือ MRC, คณะกรรมการ JCCN และ อาเซียน แต่ยงไม่มีอำานาจต่อรองกับ ั จีนได้ แนวทางการแก้ไข/การบริหารการจัดการประมงในลุ่มแม่นำาโขง แนวทางการแก้ไขของกลุ่มประเทศที่ได้รับผลกระทบการสร้าง เขื่อนในลุ่มแม่นำาโขงตอนล่าง คือ หลักการการประเมินผลกระทบทาง ด้านสิ่งแวดล้อมของแต่ละประเทศ ได้แก่ ประเทศกัมพูชา ที่ได้รบผลสืบเนื่องอย่างร้ายแรงต่ออาชีพ ั ประมงและชาวประมง ความมันคงด้านอาหาร และการลดความยากจน ่ อีกทัำงผลประโยชน์อย่างมากจากการพัฒนาภาคพลังงานที่มั่นคงและ ราคาไม่แพงสำาหรับอุตสาหกรรมและการสร้างความหลากหลายของ กิจกรรมทางเศรษฐกิจในระยะยาว นอกจากนีำการสูญเสียจากการประมง อาจส่งผลเสียมากกว่าประโยชน์ที่ได้รับจากการผลิตพลังงานไฟฟ้า อย่างน้อยก็ในระยะสัำนถึงระยะปานกลาง โอกาส - ผลประโยชน์อย่างมากจากแหล่งพลังงานแห่งชาติที่มั่นคงและ ราคาไม่แพง (ทดแทนการนำาเข้าเชืำอเพลิงดีเซลที่มีราคาแพง) - ขีดความสามารถในการแข่งขันในการผลิตเพิ่มขึำน - รายได้ภาครัฐเพิ่มขึำนจาการส่งออกพลังงานและภาษีอากร - พืำนที่ชลประทานเยอะขึำนและผลผลิตการเกษตรเพิ่มขึำนในบาง พืำนที่
  • 9. - มีความยืดหยุ่นเชิงกลยุทธศาสตร์ระยะยาวในการจัดหาแหล่ง พลังงานเมื่อช่วงเวลาสัมปทานสิำนสุดลง ความเสี่ยง - สูญเสียทรัพยากรประมงและมีผลกระทบอย่างมากต่อความมั่นคง ทางอาหาร - สภาพการดำารงชีวิตของชาวประมงมากกว่า 1.6 ล้านคนถูกรบกวน - สูญเสียผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ เพราะการสูญเสียมูลค่าทาง เศรษฐกิจของการประมงและการเกษตร - อุตสาหกรรมแปรรูปผลิตภัณฑ์ประมงและบริการที่เกี่ยวเนื่องได้รับ ผลกระทบ - สูญเสียตะกอนดินและสารอาหารที่เกี่ยวเนื่องที่ไม่ไหลลง ทะเลสาบเขมร และผลกระทบอย่างรุนแรงต่อการผลิตขัำนปฐมภูมิ นำำาท่วมขังป่าไม้ และปลาประจำาถิ่นและปลาที่มาจากการอพยพ ย้ายถิ่น - สูญเสียพืำนที่ทำาสวนริมฝั่งนำำา ซึ่งมีความสำาคัญอย่างมากต่อชุมชน ริมนำำาในบางพืำนที่ - สูญเสียความอุดมสมบูรณ์และผลผลิตการเกษตรในพืำนทีราบนำำา ่ ท่วมถึง - การสูญเสียแหล่งท่องเทียวและรายได้จากการท่องเทียว ่ ่ - การที่ไม่มีสายส่งสายไฟฟ้าระดับชาติอาจปิดกัำนการกระจายกระ แสไฟฟ้าไปอย่างทั่วถึง - สูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มีแนวโน้มที่จะได้รับ ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยรวมอย่างมหาศาล ในขณะเดียวกันมีแนว โน้มว่าจะมีการกระจายผลประโยชน์ที่จะได้รบนีำอย่างไม่เท่าเทียมกัน ั โอกาส - ได้รับผลประโยชน์อย่างมหาศาลจากการกระตุ้นเศรษฐกิจของการ ลงทุนโดยตรวจจากต่างประเทศในการพัฒนาเขื่อนไฟฟ้าพลังงาน ในลำานำำาโขงสายหลักในภูมิภาคลุ่มนำำาโขงตอนล่าง - อาจได้รับประโยชน์จากรายได้สุทธิในช่วงสัมปทาน ทังนีำขึำนอยู่กับ ำ การออกแบบข้อตกลงทางการเงินและขีดความสามารถในการ บริหารงานอย่างเพียงพอ - ได้รับผลประโยชน์อย่างมากมายหลังสิำนสุดสัญญาสัมปทาน 25 ปี และโครงการถูกถ่ายโอนไปยังรัฐบาล สปป.ลาว
  • 10. - ได้รับผลประโยชน์จากพืำนที่ชลประทานที่เพิ่มขึำนและผลผลิต การเกษตรที่เพิ่มขึำนในบางพืำนที่ - มีความยืดหยุ่นเชิงกลยุทธศาสตร์ระยะยาวในการจัดการแหล่ง พลังงานเมื่อช่วงเวลาสัมปทานสิำนสุดลง ความเสี่ยง - มีความเป็นไปได้ที่จะเกิดการพัฒนาเศรษฐกิจที่ไม่สมบูรณ์ เนื่องจากการขยายตัวเกินขนาดของภาคพลังงานเขื่อนไฟฟ้า พลังงานนำำา - การสูญเสียการประมง อาจจะส่งผลกระทบต่อความมั่นคงด้าน อาหารและการดำาลงชีวิตของประชากรกลุมที่จะได้รบผลกระทบ ่ ั - สูญเสียพืำนที่ทำาสวนริมนำำา ซึ่งมีความสำาคัญอย่างมากใน สปป.ลาว - สูญเสียแหล่งท่องเที่ยวที่มีค่า - สูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ประเทศไทย ได้รบผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยรวม แม้ว่าจะไม่มี ั นัยสำาคัญต่อเศรษฐกิจระดับชาติ - มีความเสี่ยงทางเศรษฐกิจต่อการดำารงชีวิตของชุมชนที่ตัำงอยู่ริม นำำาในเขตลุ่มนำำา โอกาส - จะได้รับส่วนแบ่งอย่างมากจากผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจได้จาก การนำาเข้าพลังงานไฟฟ้า - ได้รับประโยชน์จากการปรับปรุงเส้นทางเดินเรือสำาหรับเรือขนาด กลางและขนาดใหญ่ในตอนบนของภูมิภาคลุ่มนำำาโขงตอนล่าง ความเสี่ยง - สูญเสียแหล่งประมง - สูญเสียพืำนที่การเกษตร - อาจสูญเสียแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ ประเทศเวียดนาม มีแนวโน้มที่จะเกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจ โดยรวม และชุมชนในบริเวณที่ราบปากแม่นำาโขงจะต้องแบกรับความ สูญเสียนัำน โอกาส - จะได้รับส่วนแบ่งอย่างมากทางเศรษฐกิจมี่ได้รับจากการนำาเข้า พลังงานไฟฟ้า ความเสี่ยง
  • 11. - สูญเสียอย่างมากจากการประมงนำำาจืด ประมงทะเล และการเพาะ เลีำยงสัตว์นำา ส่งผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของชาวประมงใน บริเวณสามเหลี่ยมปากแม่นำาโดยเฉพาะคนยากจน - สูญเสียตะกอนดินแม่นำาและสารอาหารที่เกี่ยวเนื่องซึ่งจะส่งผลกระ ทบในทางลบต่อเศรษฐกิจอย่างมากต่อการเกิดพืำนที่ดินที่เกิดจาก การสะสมตัวของตะกอนปากแม่นำาการประมงทัำงนำำาจืดและนำำาเค็ม และการเกษตร นอกจากนีำยังมีการบริหารจัดการประมงแหล่งนำำาในบริเวณลุ่มแม่นำา โขงมีวัตถุประสงค์ให้มีการใช้ทรัพยากรประมงอย่างยั่งยืน7 โดยใช้ มาตรการการอนุรักษ์ทรัพยากรประมงตามพระราชบัญญัติการประมง พ.ศ. 2490 เช่น ห้ามมิให้มีการทำาประมงในลักษณะทำาลายพืชพันธุ์ โดยวิธีใช้ยาเบื่อเมา ช๊อตด้วยไฟฟ้า และโดยใช้ระเบิด นอกจากนีำได้มี การพิจารณากำาหนดเขตรักษาพันธุ์พืชพันธุ์ให้เป็นที่อยู่อาศัยของพ่อแม่ พันธุ์ที่จะช่วยแพร่ขยายพันธุ์ต่อไป เช่น เขตรักษาพันธุ์พืชในหนองหาน จังหวัดสกลนคร และกว๊านพะเยา จังหวัดพะเยา เป็นต้น พระราชบัญญัติการประมง พ.ศ. 2490 เปิดโอกาสให้ใช้ผลการ ศึกษาทางวิชาการในการกำาหนดมาตรการควบคุมการทำาประมง เช่น การห้ามทำาการประมงในฤดูปลาวางไข่ (ยกเว้นการทำาประมงเพื่อการ ยังชีพด้วยเครื่องมือประมงทีกำาหนด) การควบคุมพืำนที่การวางไข่เลียง ่ ำ ตัวอ่อนของปลาบางชนิด และการห้ามใช้เครื่องมือประมงที่มี ประสิทธิภาพสูงในแหล่งนำำาจืด เป็นต้น นอกเหนือจากการควบคุมการ ทำาประมงดังกล่าว ยังมีการบริหารจัดการแหล่งนำำาด้วยวิธีการต่างๆ เพื่อ ให้แหล่งนำำานัำนคงความอุดมสมบูรณ์ เช่น การพิจารณาปล่อยพันธุ์สัตว์ นำำาที่เหมาะสมเพื่อเพิ่มผลผลิต โครงการประมงหน้าวัด โครงการประมง หน้าบ้าน และ โครงการสร้างที่อยู่อาศัยของพันธุ์ปลา เป็นต้น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 กำาหนดให้มีการก ระจายอำานาจการบริหารลงสู่ท้องถิ่นและเปิดโอกาสให้ประชาชน หรือ ตัวแทนประชาชน เช่น ชุมชน หรือ องค์การบริหารส่วนตำาบล มีส่วนใน การบริหารจัดการทรัพยากรในท้องถิ่นซึ่งรวมถึงทรัพยากรประมงด้วย โดยหนึ่ง หรือ หลาย อบต. ทีมีส่วนเกี่ยวข้องสามารถวางหลักเกณฑ์ ่ ออกกฎระเบียบบริหารจัดการทรัพยากรประมงได้ เช่น การกำาหนดเขต การทำาประมง กำาหนดเครื่องมือประมง ช่วงเวลาทำาการประมง ตลอดจน 7 ปรีชา เปลี่ยนพงศ์สานต์. นิเวศวิทยาการเมืองและมโนทัศน์แห่งความยั่งยืน ยาวนาน. ม.ป.ท., 2547.
  • 12. เก็บเงินเพื่อสิทธิทำาการประมง เป็นต้น ทังนีำกฎระเบียบต่างๆต้องไม่ขัด ำ ต่อพระราชบัญญัติการประมงและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง ดังนัำนจะเห็นได้ว่า การบริหารจัดการและควบคุมการจับสัตว์นำาที่ ดำาเนินการอยู่ขณะนีำได้ผลดี แต่ยังไม่ทั่วถึงและเพียงพอ ชาวประมงยังมี การพัฒนาเครื่องมือประมงให้มีประสิทธิภาพสูง และจับปลาในลักษณะ ทำาลายในแหล่งนำำาที่มีพลังการอนุรักษ์ทรัพยากรประมง อย่างไรก็ดี ด้วยความผูกพันกับปลามาเวลานาน ประชากรในลุ่ม นำำาโขงใช้ผลผลิตปลาอย่างคุ้มค่า และมีประสิทธิภาพ โดยบริโภคปลา เกือบทุกชนิด ทุกขนาด มีการปรับปรุงแต่งผลิตภัณฑ์สัตว์นำาหลายแบบ หลายวิธี ผลิตภัณฑ์ปลาโดยวิธีพืำนเมืองหลายชนิดยังเป็นที่ยอมรับและ นิยมอยูทั่วไปไม่เคยเปลียนแปลง ่ ่ สรุป แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงทิศทางในอนาคตของวิถีชีวิตของ ชาวประมงในลุ่มแม่นำาโขงตอนล่าง ลุ่มแม่นำาโขงถือเป็นแม่นำาสำาคัญหรือแม่นำาแห่งชีวิตของผู้คนใน แถบนีำ เพราะทุกคนสามารถใช้บริโภค อุปโภคได้อย่างเสรี รวมถึงการ ขึำนลงของนำำาก็เป็นไปอย่างธรรมชาติ ทำาให้ชาวบ้านสามารถคาดการณ์ ได้ล่วงหน้าว่าต่อไปทิศทาง กระแสนำำา และการขึำนลงของนำำาจะเป็นเช่น ไร เพื่อที่วาจะได้สามารถเตรียมตัวรับมือกับสิ่งที่จะเกิดขึำนได้อย่างทัน ่ ท่วงที อีกทังการประกอบอาชีพต่างๆโดยเฉพาะอย่างยิ่งการประมงซึ่ง ำ ต้องใช้นำาเป็นส่วนประกอบสำาคัญ ในการจับปลา ซึ่งปลานัำนก็มีให้หา ให้ ตกกันอย่างตลอดเวลา เพราะแม่นำาโขงนีถือได้ว่าเป็นแม่นำาสายที่ยาว ำ ที่สุดในโลก และมีความหลากหลายทางชนิดพันธุ์ปลามากที่สุดเช่นกัน ดังนัำน การออกหาปลา เมื่อได้ปลามาแล้ว ก็จะมีการนำาไปบริโภคกัน ภายในครอบครัว เมื่อเหลือจากการบริโภคแล้วก็จะนำามาซืำอขายแลก เปลียนกัน เพราะในอดีตยังไม่เป็นโลกของทุนนิยมหรือ โลกธุรกิจ ่ ทางการค้ามากนัก โลกของธุรกิจการแสวงหาผลกำาไรจากธรรมชาติที่ได้มาโดยฟรีๆ โดยไม่ต้องลงทุนลงแรงอะไรมากนัก แต่ผลตอบรับกลับมาเป็นผลกำาไร อย่างมหาศาลเริมเข้ามาครอบงำาพฤติกรรมของมนุษย์เพิ่มมากขึำน จาก ่ วัตถุประสงค์ของการหาปลาเพื่อยังชีวิต ไปสู่การหาปลาเพื่อธุรกิจจาก นายทุนต่างๆ รวมทัำงการจับมือร่วมกันระหว่างภาครัฐของประเทศต่างๆที่ ได้มีการก่อสร้างสิ่งที่เป็นการรบกวนธรรมชาติทัำงโครงการสร้างเขื่อน โครงการระเบิดเกาะแก่ง และโครงการอื่นๆ เป็นต้น ทำาให้ธรรมชาติใน
  • 13. บริเวณลุ่มแม่นำาโขงมีการเปลียนแปลงไป และส่งผลกระทบอย่างร้าย ่ แรงอย่างยิ่งต่อวิถีชีวิตของคนในลุ่มนำำาโขงสืบต่อมายังอนาคต หากนักลงทุนต่างๆไม่เปลี่ยนพฤติกรรมหรือการลงทุนทำาธุรกิจดัง ที่ได้กล่าวไว้ข้างต้นแล้ว ก็จะส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตของชาวประมงลุ่ม นำำาโขงตอนล่าง แหล่งพันธุ์ปลาและความหลากหลายทางระบบนิเวศก็ จะลดลงเรื่อยๆ จนเกิดเป็นวิกฤตที่ยากจะแก้ไขให้ผ่านพ้นไปได้ อีกทัำง ทรัพยากรที่เคยมีอยู่ ความผูกพันของคนในท้องถิ่น อาชีพ วัฒนธรรม ต่อลุ่มแม่นำาโขงนีำก็จะเลือนหายไป ผู้คนแทนที่จะประกอบอาชีพภายใน ท้องถิ่นตนเองที่มีความผูกพันระหว่างกันภายในครอบครัว กลับต้องไป แสวงหาอาชีพใหม่ๆในต่างถิ่นมาแทนที่อาชีพเดิมของตน และเพราะ เมื่อลุ่มแม่นำาโขงกำาลังเข้าสูยุคใหม่ที่มีการพัฒนาเกิดขึำนรวดเร็วมาก ่ การพัฒนานีำอาจเปลี่ยนสภาพภูมิประเทศ ความสมบูรณ์ของระบบนิเวศ และคุณภาพชีวิตของประชาชนไปอย่างถาวร แม้วาการพัฒนาจะเป็นสิ่ง ่ ที่หลีกเลียงไม่ได้ แต่สามารถจะมีการบริหารจัดการที่ดีได้ การจัดการที่ ่ ดีนเป็นของจำาเป็นสำาหรับการบรรเทาผลกระทบทางสิงแวดล้อมและทาง ีำ ่ สังคมทีจะเกิดขึนจากการพัฒนาและจะช่วยให้ทรัพยากรธรรมชาติมีความ ่ ำ ยั่งยืนในระยะยาว ดังนัำนเราควรให้ความสำาคัญทัำงต่อชีวิตและทรัพยากรให้มากขึำน เสมือนตัวเราเป็นธรรมชาติที่ต้องคอยได้รับการดูแลจากดิน นำำา อากาศ หากขาดสิ่งใดสิ่งหนึ่งก็จะทำาให้เราตายได้ในที่สุด เช่นเดียวกันวิถีชีวิต ของคนในลุ่มแม่นำาโขงที่มีอยู่สืบต่อกันมานานล้วนต้องอาศัยปัจจัย หลายๆอย่างมาเป็นส่วนประกอบให้เกิดความสวยงาม หากมีใครคนใด คนหนึ่งมาทำาลาย วิถีชีวิตของคนในลุ่มนำำาแห่งชีวิตนีำก็จะเปลียนแปลง ่ ไป เอกสารอ้างอิง ภาษาไทย อุดมรัตน์ ดีเอง. แลของ : วิถีชีวิตชุมชนสองฝั่งโขงไทย-ลาว : เรื่องเล่าจากภาพ = Life along the
  • 14. Mekong: photo narrative. ขอนแก่น : ศูนย์วิจัยพหุลักษณ์ สังคมลุ่มนำำาโขง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 2550. มหาวิทยาลัยแม่ฟาหลวง. โครงการจัดตัำงพิพิธภัณฑ์อารยธรรมลุ่มนำำา ้ โขง. วิถีชีวิตลุ่มนำำาโขงกับการ เปลี่ยนแปลง. เชียงราย : โครงการจัดตัำงพิพิธภัณฑ์อารยธรรม ลุ่มนำำาโขง สำานักวิชาศิลปศาสตร์, 2551. สุวัฒน์ กิขุนทด. บนสายนำำาโขง : สารคดีบนทึกประวัติศาสตร์สังคม ั ผ่านวิถีชีวิตของผู้คน. นนทบุรี : อินโดไชน่าพับลิชชิ่ง, 2541. ปรีชา เปลี่ยนพงศ์สานต์. นิเวศวิทยาการเมืองและมโนทัศน์แห่ง ความยั่งยืนยาวนาน. ม.ป.ท., 2547. บูชิตา สังข์แก้ว. วัฒนธรรมปลา และจุดจบตำานานพรานปลา. กรุงเทพฯ : คณะกรรมการเผยแพร่และ ส่งเสริมงานพัฒนา, 2540. รายการอ้างอิงทางอิเลกทรอนิกส์ [Online].โครงการเขื่อนในประเทศจีน. URL : http://www.thaingo.org/story/book_024.htm [Online].รู้จักแม่นำาโขง/Mekhong Information. URL : http:// mekhong.wordpress.com/ %E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%88%E0 %B8%B1%E0%B8%81%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B9 %88%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B9%82% E0%B8%82%E0%B8%87mekhong-information/