SlideShare a Scribd company logo
1 of 1
Download to read offline
“ โขงกะขุ่น มูลกะหมอง พองกะเน่า
สงครามเฮาอย่าให้หม่น เฮาทุกคนต้อง
ออกฮ้องปกป้องซ่อยกัน ”
ถ้อยคำดังกล่าวกลายเป็นหลักยึด
จิตใจที่ชาวบ้านลุ่มน้ำสงครามใช้ในการต่อสู้
เพื่อพิทักษ์แม่น้ำสงคราม ลำน้ำสายเดียวแห่ง
แผ่นดินอีสานมิให้เขื่อนขนาดใหญ่มากีดขวาง
การไหลอย่างเสรีของสายน้ำรวมถึงจับตาดู
ูโครงการพัฒนาอื่นๆของภาครัฐด้วยความ
ระมัดระวังเกรงจะส่งผลต่อความอุดมสมบูรณ์
ของระบบนิเวศในลุ่มน้ำแห่งชีวิตของพวกเขา
บทเรียนราคาแพงที่เคยเกิดขึ้น
กับลำน้ำสายอื่นๆมาก่อนหน้านี้ ทำให้ชาว
ลุ่มน้ำสงครามตระหนักถึงความสำคัญของสาย
สัมพันธ์ระหว่างสายน้ำ ป่าบุ่งป่าทาม สัตว์บก
นกนานาพันธุ์ ตลอดจน สัตว์น้ำหลากชนิด
ที่ยึดบึง กุด หนอง วัง และแหล่งน้ำอื่นๆ
อันเกิดจากสาขานับร้อยของแม่น้ำสงคราม
เป็นแหล่งพักพิง
จนนำมาซึ่งการต่อสู้คัดค้าน
การก่อสร้างเขื่อนแม่น้ำสงครามซึ่งเป็นส่วนหนึ่ง
ของโครงการพัฒนาลุ่มน้ำสงครามภายใต้
แนวทางพัฒนาลุ่มน้ำอีสานโครงการโขง
ชี มูล กระทั่งได้รับชัยชนะในปี 2545 ซึ่ง
ครั้งนั้นคณะรัฐมนตรีเห็นชอบตามมติของ
คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมให้ยกเลิกการสร้าง
เขื่อนด้วยเหตุผลว่าไม่คุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์
และก่อให้เกิดผลกระทบต่อวิถีชีวิตชาวบ้าน
ตลอดจนสิ่งแวดล้อม
ณ วันนี้ขณะเสียงป่าวร้องปกป้อง
ลำน้ำแผ่วพลังลงการทำลายแม่น้ำสงครามได้
เกิดขึ้นและดำเนินไปอย่างเงียบเชียบ
ทั้งการก่อสร้างฝายน้ำล้นติดกัน
3 แห่ง ในช่วงที่แม่น้ำสงครามไหลผ่าน
จ.อุดรธานี และสกลนคร การรุกล้ำพื้นที่
ป่าบุ่งป่าทามสองริมฝั่งแม่น้ำ
ผลวิจัยของเครือข่ายนักวิจัยไทบ้าน
ลุ่มน้ำสงครามตอนล่างและผลการศึกษาของ
โครงการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ
อย่างยั่งยืนในพื้นที่ชุ่มน้ำลุ่มน้ำสงครามซึ่ง
จัดทำขึ้นในปี 2548 ได้ชี้ให้เห็นถึงผลกระทบ
“ปัจจุบันปลาที่ไม่พบในแม่น้ำสงครามแล้วมี 11
ชนิด เช่น ปลาตองลาย ปลาคูน ส่วนปลาที่หายาก เช่น
ปลาซวย ปลาค้าวปลาเหล่านี้เมื่อน้ำหลากจะเข้ามาวางไข่
และหาอาหารโดยกินพืชและสัตว์ในป่าทาม ปลาซวย
ปลายอน และปลาค้าวจะกินลูกกระเบาสุก มะดัน มด
และปลวก ชาวบ้านก็ได้หาปลา เก็บเห็ด และขุดหน่อไม้
ป่าทามให้ชีวิตน้ำสงคราม น้ำสงคราม ก็ให้ชีวิตเรา”
วางไข่และหาอาหารโดยกินพืชและสัตว์ใน
ป่าทาม ปลาซวย ปลายอน และปลาค้าว
จะกินลูกกระเบาสุก มะดัน มด และปลวก
ชาวบ้านก็ได้หาปลา เก็บเห็ด และขุดหน่อไม้
ป่าทามให้ชีวิตน้ำสงคราม น้ำสงคราม
ก็ให้ชีวิตเรา”
นอกจากนี้นักวิชาการจากสถาบัน
วิจัยวลัยรุกขเวช มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
กล่าวเสริมว่า พืชที่ขึ้นในลุ่มน้ำสงคราม
ส่วนใหญ่สามารถนำมารับประทานได้ บาง
ชนิดมีสรรพคุณทางยา เช่น น้ำมันที่ได้จาก
หีบเมล็ดต้นกระเบา นำไปรักษาโรคเรื้อน
และโรคผิวหนังได้ ส่วนเนื้อไม้ต้นหูลิงหรือ
แฟบน้ำก็มีสรรพคุณแก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย
ใช้รักษาไตพิการ และขับปัสสาวะ ต้นไม้
เหล่านี้ยังช่วยลดความร้อนจากแสงแดด
ทำให้อุณภูมิของน้ำมีความเหมาะสมที่จะ
เป็นแหล่งอาศัยของปลาและสัตว์ต่างๆ
ดร.อุษา กลิ่นหอม อาจารย์
ประจำภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหาสารคามและผู้เชี่ยวชาญ
ด้านความหลากหลายทางระบบนิเวศป่าบุ่ง
ป่าทาม ได้อธิบายถึงการเปลี่ยนแปลงความ
ลาดชันของพื้นที่ริมฝั่งน้ำที่มีความอุดม
สมบูรณ์ตามธรรมชาติและการทำลายป่าบุ่ง
ป่าทามส่งผลให้ปลาไม่อพยพมาหากิน และ
วางไข่ในแม่น้ำสงครามโดยเฉพาะปลายอน
ปลาตอง และปลาชะโดที่ต้องอาศัยกิ่งไม้
แห้งที่ตกลงในน้ำทำรังวางไข่
“การจัดทำโครงการพัฒนาต่างๆ
ของภาครัฐที่ผ่านมาไม่มีนักวิชาการระบบ
นิเวศหรือ นักวิชาการด้านชีวภาพและ
สิ่งแวดล้อมเข้าไปมีส่วนร่วมในการออกเสียง
พิจารณาความเหมาะสมรวมถึงผลกระทบ
ต่อระบบนิเวศ และที่สำคัญหลังเสร็จสิ้นการ
ก่อสร้างหรือการทำงานของโครงการพัฒนา
ยังขาดการประเมินผลโครงการเพื่อศึกษา
ข้อมูลผลกระทบซึ่งจะเป็นเครื่องมือในการ
แก้ปัญหาและเป็นแนวทางในการจัดทำ
โครงการใหม่ต่อไป” ดร.อุษาแสดงทัศนะ
ถึงโครงการพัฒนาโดยภาครัฐ
สร้างฝายกระเทือนถึงผืนดินแผ่นน้ำ
นอกจากการสูญเสียความสมบูรณ์
ของป่าบุ่งป่าทาม และพันธุ์ปลาในลุ่มน้ำ
สงครามแล้ว โครงการพัฒนาภายใต้ชื่อ
“ฝาย” ของกรมทรัพยากรน้ำ ก็เป็นอีกหนึ่ง
ปัจจัยที่ก่อให้ระบบนิเวศลุ่มน้ำสงคราม
เปลี่ยนแปลงอย่างยากจะปฏิเสธได้
เว็บไซต์ไทยเอ็นจีโอ ระบุว่า
ตามเอกสารโครงการพัฒนาลุ่มน้ำสงคราม
ตอนบนในเขตรอยต่อระหว่าง จ.สกลนคร
และอุดรธานี จะมีโครงการสร้างฝายในลำน้ำ
สงครามทั้งสิ้น 6 โครงการ ไม่นับโครงการ
สร้างฝายขนาดกลางและขนาดเล็ก
ของกรมชลประทานอีก7โครงการ
โครงการสร้างอ่างเก็บน้ำ
อีก 4 โครงการและปรับปรุง
ขุดลอกลำน้ำ 6 โครงการ
รวมความยาวตลอดลำน้ำ
สงครามที่มีการขุดลอกปรับปรุง
70 กิโลเมตร ซึ่งโครงการเหล่านี้ส่วนใหญ่
จะดำเนินการเสร็จเรียบร้อยแล้วในห้วงเวลา
ปัจจุบัน
รวมถึงการผุดขึ้นของฝายบ้าน
หนองกา ฝายบ้านม่วง ซึ่งกั้นแม่น้ำสงคราม
บริเวณบ้านหนองกา ต.บ้านจันทร์
อ.บ้านดุง จ.อุดรธานี กับบ้านผาสัก
อ.คำตากล้า จ.สกลนคร ในปี พ.ศ.2547
โดยมีการออกแบบขุดลอกปรับปรุงสภาพ
ลำน้ำสงครามเหนือฝายทั้งสองแห่ง จาก
ฝายบ้านหนองกาไปชนท้ายฝายบ้านม่วง
รวมระยะทาง 55 กิโลเมตรซึ่งจะไปบรรจบ
กับท้ายฝายโนนชัยศิลป์ที่สร้างเสร็จไป
ตั้งแต่ปี 2541
เมื่อฝาย 3 แห่งถูกสร้างให้
เชื่อมต่อกัน คำถามที่เกิดขึ้น คือ ลำน้ำ
สงครามเป็นสายน้ำสุดท้ายบนแผ่นดิน
อีสานที่ยังบริสุทธิ์ปราศจากเขื่อนจริงหรือ
สันติภาพ ศิริวัฒนไพบูลย์
อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย-
ราชภัฏอุดรธานี ผู้ติดตามข้อมูลเรื่องการ
พัฒนาลุ่มน้ำโขง สาขาลำน้ำสงคราม
เปิดเผยว่า การสร้างฝายจะก่อให้เกิดการ
สะสมของดินเค็ม และน้ำเค็มในลุ่มน้ำสงคราม
เพิ่มมากขึ้น เนื่องจากพื้นที่ดังกล่าวมีสภาพ
ทางธรณีวิทยาเป็นหินมหาสารคามหรือ
หมวดหินเกลือหนารวมกันประมาณ 300
- 400 เมตร ประกอบกับบริเวณที่ตั้งฝาย
บ้านหนองกา มีอาณาเขตติดต่อกับ
ต.ดงเหนือ อ.บ้านม่วง จ.สกลนคร ซึ่งมี
การทำนาเกลือ น้ำเค็มจากการทำนาเกลือ
จึงซึมผ่านชั้นดินตามธรรมชาติไหลลงสู่
่ห้วยทวน ลำน้ำสาขาของแม่น้ำสงคราม
ในบริเวณ ต.บ้านตาด จ.อุดรธานี
“น้ำเค็มที่ไหลลงสู่แม่น้ำสงครามโดยปกติ
จะมีการเจือจางเพราะการไหลตามธรรมชาติ
แต่เมื่อมีการสร้างฝายกั้นการไหลของ
ลำน้ำจะเกิดการสะสมความเค็มเพิ่ม
มากขึ้นในระยะยาวเมื่อสะสม
นานเข้าวิถีชีวิตของชาวบ้าน
จะเปลี่ยนแปลงไป
หนังสือพิมพ์สื่อมวลชน ปีที่7 ฉบับที่1 เดือนธันวาคม-15มกราคมพุทธศักราช25528
จากการสร้างฝายกั้นแม่น้ำสงครามที่ก่อให้
เกิดการแพร่กระจายของดินเค็มส่วนการ
ก่อสร้างฝายขนาดเล็กจำนวนมากบริเวณลำน้ำ
สาขาและการถางป่าบุ่งป่าทามของนายทุน
ก็เปรียบประดุจการตัดหนทางสัญจรของ
สัตว์น้ำหลากสายพันธุ์ที่อาศัยและหากินใน
สายน้ำแห่งนี้
ความจริงที่น่าเศร้าในวันนี้ คือ
พืชและปลาบางชนิดได้สูญหายไปจากลำน้ำ
สายนี้เสียแล้ว
เมื่อไม่มีทามไม่มีบุ่งปลาก็สูญ
“ตอนยังเป็นเด็กน้อยจำได้ว่าปีน
กกกระเบาต้นใหญ่ 4 คนโอบ ขึ้นอยู่ใน
ป่าทามโดดลงมาเล่นน้ำสงครามเก็บเอาหมาก
กระเบามาเป็นเหยื่อใส่เบ็ดปลาแล้วก็เคยเห็นพ่อ
หาปลาค้าวได้ตัวละเกือบ 40 โลมาถึงตอนนี้
รุ่นลูกผมบ่ได้เห็นทั้งกกกระเบากับปลาค้าว
ตัวใหญ่”
สุริยา โคตะมี คนหาปลาวัย 39
แห่งบ้านปากยาม ต.สามผง อ.ศรีสงคราม
จ.นครพนม เล่าถึงความทรงจำในวัยเด็ก
ที่สะท้อนวิถีชีวิตชาวประมงที่หาปลาในลุ่มน้ำ
สงครามหากความอุดมสมบูรณ์ทั้งหมดได้
กลับกลายเป็นอดีตที่หาชมไม่ได้แล้วใน
ปัจจุบัน
พรานปลาแห่งลุ่มน้ำสงครามเล่า
ต่อไปว่า เมื่อปี 2546 ได้เข้าร่วมโครงการ
อนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทาง
ชีวภาพอย่างยั่งยืนในพื้นที่ชุ่มน้ำลุ่มน้ำโขง
และเป็นนักวิจัยไทบ้านของลุ่มน้ำสงคราม
ซึ่งพบว่าการสร้างฝายกั้นแม่น้ำสงครามและ
ลำน้ำสาขา ทำให้ลำน้ำไหลไม่ปกติปลาไม่
อพยพและแพร่พันธุ์ได้น้อย
ขณะเดียวกันการขุดลอกหรือ
โครงการพัฒนาที่นำไปสู่การทำลายป่าบุ่ง
ป่าทามก็ให้ผลไม่ต่างอะไรจากการเผา
ครัวอีสานและแหล่งอาหารที่ไม่ต้องซื้อ
“ปัจจุบันปลาที่ไม่พบในแม่น้ำ-
สงครามแล้วมี 11 ชนิด เช่น ปลาตองลาย
ปลาคูน ส่วนปลาที่หายาก เช่น ปลาซวย
ปลาค้าว ปลาเหล่านี้เมื่อน้ำหลากจะเข้ามา

More Related Content

Featured

PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Applitools
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at WorkGetSmarter
 
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...DevGAMM Conference
 

Featured (20)

Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
 
ChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slidesChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slides
 
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike RoutesMore than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
 
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
 

8สารคดีแม่น้ำสงคราม

  • 1. “ โขงกะขุ่น มูลกะหมอง พองกะเน่า สงครามเฮาอย่าให้หม่น เฮาทุกคนต้อง ออกฮ้องปกป้องซ่อยกัน ” ถ้อยคำดังกล่าวกลายเป็นหลักยึด จิตใจที่ชาวบ้านลุ่มน้ำสงครามใช้ในการต่อสู้ เพื่อพิทักษ์แม่น้ำสงคราม ลำน้ำสายเดียวแห่ง แผ่นดินอีสานมิให้เขื่อนขนาดใหญ่มากีดขวาง การไหลอย่างเสรีของสายน้ำรวมถึงจับตาดู ูโครงการพัฒนาอื่นๆของภาครัฐด้วยความ ระมัดระวังเกรงจะส่งผลต่อความอุดมสมบูรณ์ ของระบบนิเวศในลุ่มน้ำแห่งชีวิตของพวกเขา บทเรียนราคาแพงที่เคยเกิดขึ้น กับลำน้ำสายอื่นๆมาก่อนหน้านี้ ทำให้ชาว ลุ่มน้ำสงครามตระหนักถึงความสำคัญของสาย สัมพันธ์ระหว่างสายน้ำ ป่าบุ่งป่าทาม สัตว์บก นกนานาพันธุ์ ตลอดจน สัตว์น้ำหลากชนิด ที่ยึดบึง กุด หนอง วัง และแหล่งน้ำอื่นๆ อันเกิดจากสาขานับร้อยของแม่น้ำสงคราม เป็นแหล่งพักพิง จนนำมาซึ่งการต่อสู้คัดค้าน การก่อสร้างเขื่อนแม่น้ำสงครามซึ่งเป็นส่วนหนึ่ง ของโครงการพัฒนาลุ่มน้ำสงครามภายใต้ แนวทางพัฒนาลุ่มน้ำอีสานโครงการโขง ชี มูล กระทั่งได้รับชัยชนะในปี 2545 ซึ่ง ครั้งนั้นคณะรัฐมนตรีเห็นชอบตามมติของ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมให้ยกเลิกการสร้าง เขื่อนด้วยเหตุผลว่าไม่คุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ และก่อให้เกิดผลกระทบต่อวิถีชีวิตชาวบ้าน ตลอดจนสิ่งแวดล้อม ณ วันนี้ขณะเสียงป่าวร้องปกป้อง ลำน้ำแผ่วพลังลงการทำลายแม่น้ำสงครามได้ เกิดขึ้นและดำเนินไปอย่างเงียบเชียบ ทั้งการก่อสร้างฝายน้ำล้นติดกัน 3 แห่ง ในช่วงที่แม่น้ำสงครามไหลผ่าน จ.อุดรธานี และสกลนคร การรุกล้ำพื้นที่ ป่าบุ่งป่าทามสองริมฝั่งแม่น้ำ ผลวิจัยของเครือข่ายนักวิจัยไทบ้าน ลุ่มน้ำสงครามตอนล่างและผลการศึกษาของ โครงการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ อย่างยั่งยืนในพื้นที่ชุ่มน้ำลุ่มน้ำสงครามซึ่ง จัดทำขึ้นในปี 2548 ได้ชี้ให้เห็นถึงผลกระทบ “ปัจจุบันปลาที่ไม่พบในแม่น้ำสงครามแล้วมี 11 ชนิด เช่น ปลาตองลาย ปลาคูน ส่วนปลาที่หายาก เช่น ปลาซวย ปลาค้าวปลาเหล่านี้เมื่อน้ำหลากจะเข้ามาวางไข่ และหาอาหารโดยกินพืชและสัตว์ในป่าทาม ปลาซวย ปลายอน และปลาค้าวจะกินลูกกระเบาสุก มะดัน มด และปลวก ชาวบ้านก็ได้หาปลา เก็บเห็ด และขุดหน่อไม้ ป่าทามให้ชีวิตน้ำสงคราม น้ำสงคราม ก็ให้ชีวิตเรา” วางไข่และหาอาหารโดยกินพืชและสัตว์ใน ป่าทาม ปลาซวย ปลายอน และปลาค้าว จะกินลูกกระเบาสุก มะดัน มด และปลวก ชาวบ้านก็ได้หาปลา เก็บเห็ด และขุดหน่อไม้ ป่าทามให้ชีวิตน้ำสงคราม น้ำสงคราม ก็ให้ชีวิตเรา” นอกจากนี้นักวิชาการจากสถาบัน วิจัยวลัยรุกขเวช มหาวิทยาลัยมหาสารคาม กล่าวเสริมว่า พืชที่ขึ้นในลุ่มน้ำสงคราม ส่วนใหญ่สามารถนำมารับประทานได้ บาง ชนิดมีสรรพคุณทางยา เช่น น้ำมันที่ได้จาก หีบเมล็ดต้นกระเบา นำไปรักษาโรคเรื้อน และโรคผิวหนังได้ ส่วนเนื้อไม้ต้นหูลิงหรือ แฟบน้ำก็มีสรรพคุณแก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย ใช้รักษาไตพิการ และขับปัสสาวะ ต้นไม้ เหล่านี้ยังช่วยลดความร้อนจากแสงแดด ทำให้อุณภูมิของน้ำมีความเหมาะสมที่จะ เป็นแหล่งอาศัยของปลาและสัตว์ต่างๆ ดร.อุษา กลิ่นหอม อาจารย์ ประจำภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามและผู้เชี่ยวชาญ ด้านความหลากหลายทางระบบนิเวศป่าบุ่ง ป่าทาม ได้อธิบายถึงการเปลี่ยนแปลงความ ลาดชันของพื้นที่ริมฝั่งน้ำที่มีความอุดม สมบูรณ์ตามธรรมชาติและการทำลายป่าบุ่ง ป่าทามส่งผลให้ปลาไม่อพยพมาหากิน และ วางไข่ในแม่น้ำสงครามโดยเฉพาะปลายอน ปลาตอง และปลาชะโดที่ต้องอาศัยกิ่งไม้ แห้งที่ตกลงในน้ำทำรังวางไข่ “การจัดทำโครงการพัฒนาต่างๆ ของภาครัฐที่ผ่านมาไม่มีนักวิชาการระบบ นิเวศหรือ นักวิชาการด้านชีวภาพและ สิ่งแวดล้อมเข้าไปมีส่วนร่วมในการออกเสียง พิจารณาความเหมาะสมรวมถึงผลกระทบ ต่อระบบนิเวศ และที่สำคัญหลังเสร็จสิ้นการ ก่อสร้างหรือการทำงานของโครงการพัฒนา ยังขาดการประเมินผลโครงการเพื่อศึกษา ข้อมูลผลกระทบซึ่งจะเป็นเครื่องมือในการ แก้ปัญหาและเป็นแนวทางในการจัดทำ โครงการใหม่ต่อไป” ดร.อุษาแสดงทัศนะ ถึงโครงการพัฒนาโดยภาครัฐ สร้างฝายกระเทือนถึงผืนดินแผ่นน้ำ นอกจากการสูญเสียความสมบูรณ์ ของป่าบุ่งป่าทาม และพันธุ์ปลาในลุ่มน้ำ สงครามแล้ว โครงการพัฒนาภายใต้ชื่อ “ฝาย” ของกรมทรัพยากรน้ำ ก็เป็นอีกหนึ่ง ปัจจัยที่ก่อให้ระบบนิเวศลุ่มน้ำสงคราม เปลี่ยนแปลงอย่างยากจะปฏิเสธได้ เว็บไซต์ไทยเอ็นจีโอ ระบุว่า ตามเอกสารโครงการพัฒนาลุ่มน้ำสงคราม ตอนบนในเขตรอยต่อระหว่าง จ.สกลนคร และอุดรธานี จะมีโครงการสร้างฝายในลำน้ำ สงครามทั้งสิ้น 6 โครงการ ไม่นับโครงการ สร้างฝายขนาดกลางและขนาดเล็ก ของกรมชลประทานอีก7โครงการ โครงการสร้างอ่างเก็บน้ำ อีก 4 โครงการและปรับปรุง ขุดลอกลำน้ำ 6 โครงการ รวมความยาวตลอดลำน้ำ สงครามที่มีการขุดลอกปรับปรุง 70 กิโลเมตร ซึ่งโครงการเหล่านี้ส่วนใหญ่ จะดำเนินการเสร็จเรียบร้อยแล้วในห้วงเวลา ปัจจุบัน รวมถึงการผุดขึ้นของฝายบ้าน หนองกา ฝายบ้านม่วง ซึ่งกั้นแม่น้ำสงคราม บริเวณบ้านหนองกา ต.บ้านจันทร์ อ.บ้านดุง จ.อุดรธานี กับบ้านผาสัก อ.คำตากล้า จ.สกลนคร ในปี พ.ศ.2547 โดยมีการออกแบบขุดลอกปรับปรุงสภาพ ลำน้ำสงครามเหนือฝายทั้งสองแห่ง จาก ฝายบ้านหนองกาไปชนท้ายฝายบ้านม่วง รวมระยะทาง 55 กิโลเมตรซึ่งจะไปบรรจบ กับท้ายฝายโนนชัยศิลป์ที่สร้างเสร็จไป ตั้งแต่ปี 2541 เมื่อฝาย 3 แห่งถูกสร้างให้ เชื่อมต่อกัน คำถามที่เกิดขึ้น คือ ลำน้ำ สงครามเป็นสายน้ำสุดท้ายบนแผ่นดิน อีสานที่ยังบริสุทธิ์ปราศจากเขื่อนจริงหรือ สันติภาพ ศิริวัฒนไพบูลย์ อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย- ราชภัฏอุดรธานี ผู้ติดตามข้อมูลเรื่องการ พัฒนาลุ่มน้ำโขง สาขาลำน้ำสงคราม เปิดเผยว่า การสร้างฝายจะก่อให้เกิดการ สะสมของดินเค็ม และน้ำเค็มในลุ่มน้ำสงคราม เพิ่มมากขึ้น เนื่องจากพื้นที่ดังกล่าวมีสภาพ ทางธรณีวิทยาเป็นหินมหาสารคามหรือ หมวดหินเกลือหนารวมกันประมาณ 300 - 400 เมตร ประกอบกับบริเวณที่ตั้งฝาย บ้านหนองกา มีอาณาเขตติดต่อกับ ต.ดงเหนือ อ.บ้านม่วง จ.สกลนคร ซึ่งมี การทำนาเกลือ น้ำเค็มจากการทำนาเกลือ จึงซึมผ่านชั้นดินตามธรรมชาติไหลลงสู่ ่ห้วยทวน ลำน้ำสาขาของแม่น้ำสงคราม ในบริเวณ ต.บ้านตาด จ.อุดรธานี “น้ำเค็มที่ไหลลงสู่แม่น้ำสงครามโดยปกติ จะมีการเจือจางเพราะการไหลตามธรรมชาติ แต่เมื่อมีการสร้างฝายกั้นการไหลของ ลำน้ำจะเกิดการสะสมความเค็มเพิ่ม มากขึ้นในระยะยาวเมื่อสะสม นานเข้าวิถีชีวิตของชาวบ้าน จะเปลี่ยนแปลงไป หนังสือพิมพ์สื่อมวลชน ปีที่7 ฉบับที่1 เดือนธันวาคม-15มกราคมพุทธศักราช25528 จากการสร้างฝายกั้นแม่น้ำสงครามที่ก่อให้ เกิดการแพร่กระจายของดินเค็มส่วนการ ก่อสร้างฝายขนาดเล็กจำนวนมากบริเวณลำน้ำ สาขาและการถางป่าบุ่งป่าทามของนายทุน ก็เปรียบประดุจการตัดหนทางสัญจรของ สัตว์น้ำหลากสายพันธุ์ที่อาศัยและหากินใน สายน้ำแห่งนี้ ความจริงที่น่าเศร้าในวันนี้ คือ พืชและปลาบางชนิดได้สูญหายไปจากลำน้ำ สายนี้เสียแล้ว เมื่อไม่มีทามไม่มีบุ่งปลาก็สูญ “ตอนยังเป็นเด็กน้อยจำได้ว่าปีน กกกระเบาต้นใหญ่ 4 คนโอบ ขึ้นอยู่ใน ป่าทามโดดลงมาเล่นน้ำสงครามเก็บเอาหมาก กระเบามาเป็นเหยื่อใส่เบ็ดปลาแล้วก็เคยเห็นพ่อ หาปลาค้าวได้ตัวละเกือบ 40 โลมาถึงตอนนี้ รุ่นลูกผมบ่ได้เห็นทั้งกกกระเบากับปลาค้าว ตัวใหญ่” สุริยา โคตะมี คนหาปลาวัย 39 แห่งบ้านปากยาม ต.สามผง อ.ศรีสงคราม จ.นครพนม เล่าถึงความทรงจำในวัยเด็ก ที่สะท้อนวิถีชีวิตชาวประมงที่หาปลาในลุ่มน้ำ สงครามหากความอุดมสมบูรณ์ทั้งหมดได้ กลับกลายเป็นอดีตที่หาชมไม่ได้แล้วใน ปัจจุบัน พรานปลาแห่งลุ่มน้ำสงครามเล่า ต่อไปว่า เมื่อปี 2546 ได้เข้าร่วมโครงการ อนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทาง ชีวภาพอย่างยั่งยืนในพื้นที่ชุ่มน้ำลุ่มน้ำโขง และเป็นนักวิจัยไทบ้านของลุ่มน้ำสงคราม ซึ่งพบว่าการสร้างฝายกั้นแม่น้ำสงครามและ ลำน้ำสาขา ทำให้ลำน้ำไหลไม่ปกติปลาไม่ อพยพและแพร่พันธุ์ได้น้อย ขณะเดียวกันการขุดลอกหรือ โครงการพัฒนาที่นำไปสู่การทำลายป่าบุ่ง ป่าทามก็ให้ผลไม่ต่างอะไรจากการเผา ครัวอีสานและแหล่งอาหารที่ไม่ต้องซื้อ “ปัจจุบันปลาที่ไม่พบในแม่น้ำ- สงครามแล้วมี 11 ชนิด เช่น ปลาตองลาย ปลาคูน ส่วนปลาที่หายาก เช่น ปลาซวย ปลาค้าว ปลาเหล่านี้เมื่อน้ำหลากจะเข้ามา