SlideShare a Scribd company logo
รายงาน
       เรื่อง วิจยพฤติกรรมผู้บริโภคพฤติกรรมการดืมสุ รา
                 ั                              ่

                            เสนอ

                    อาจารย์ วจนะ ภูผานี

                           จัดทาโดย

นาย ฉัตรมงคล อริยพัฒนพร            54010911166    MK 543
นาย ณัฐพงษ์ ธนาสดใส                54010911112    MK 543
นาย สุ จินดา กุดตังวัฒนา           54010911193    MK 543
นาย วสุ พุทธรักษ์                  54010911133    MK 543
นาย คชา ไชยศิวามงคล                54010911163    MK 543




               มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
              คณะการบัญชีและการจัดการ
คานา
          การวิจยสถาบันเรื่ องพฤติกรรมการดื่มสุ ราของนักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ปีการศึกษา
                ั
2551 มีความสาคัญและเป็ นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนและกาหนดแนวทางในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการ
ดื่มสุ ราของนักศึกษาคณะผูวจยหวังเป็ นอย่างยิงว่างานวิจยสถาบันฉบับนี้จะเป็ นประโยชน์ต่อการวางแผนการ
                             ้ิั             ่        ั
รณรงค์และกาหนดแนวทางในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดื่มสุ ราของนักศึกษา เพื่อให้พฤติกรรมการดื่มสุ รา
ของนักศึกษา การประกอบการของผูประกอบการ หรื อแม้กระทังมาตรการของมหาวิทยาลัย ได้ปฏิบติอยูภายใต้
                                    ้                        ่                                ั ่
กฎหมายบ้านเมืองต่อไป



                                                                          คณะผูจดทา
                                                                               ้ั
สารบัญ
เรื่อง                                       หน้ า
1. ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา………………….   1-3
2. ประชาชนและกลุ่มตัวอย่าง……………………….         4-7
3.สรุ ป
        - ผลการวิจย…..................
                  ั                           8-9
        -อภิปรายผล…….……………..                 9-10
        - และข้อเสนอแนะ……………………..            10-11
สรุ ปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค
                                      งานวิจัยทีใช้ เลือกเป็ นกรณีศึกษา
                                                ่
                                     พฤติกรรมการดื่มสุ ราของนักศึกษา
                                       มหาวิยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
                                      นายสุ ทธิรักษ์ ไชยรักษ์ และคณะ

ความเป็ นมาและความสาคัญ
เครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ได้ก่อให้เกิดปั ญหาด้านสุ ขภาพ ครอบครัว อุบติเหตุและอาชญากรรมซึ่ งกระทบต่อสังคม
                                                                 ั
และเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ ดังคากล่าวของนายเซอร์ เบอร์ นาร์ ด อิแฮมอดีตโฆษกรัฐบาลสมัย
                                                        ่
นายกรัฐมนตรี มาร์กาเร็ ต แชดเชอร์ ประเทศอังกฤษ ระบุวา “ความมัวเมาในการดื่มสุ รา รวมถึงความรุ นแรง
ในหมู่วยรุ่ น สะท้อนถึงภาวะตกต่าด้านบรรทัดฐานและระเบียบวินย” (กันยาภรณ์ เผือกวิสุทธิ์ , 2552)
           ั                                                   ั
รัฐบาลจึงได้ออกพระราชบัญญัติควบคุมเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551 มีผลตั้งแต่วนที่ 14 กุมภาพันธ์
                                                                                       ั
2551 โดยมีสาระสาคัญในมาตรา 31 ข้อที่ 4 ห้ามมิให้ผใดบริ โภคเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ในสถานศึกษาตาม
                                                          ู้
กฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่ งชาติและห้ามขายเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ในสถานศึกษาตามกฎหมายว่าด้วย
การศึกษาแห่งชาติ ตามมาตราที่ 27 ข้อที่ 5 และห้ามมิให้ขายเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์แก่บุคคลที่มีอายุต่ากว่า
20 ปี บริ บูรณ์ ตามมาตรา 29 (ราชกิจจานุ เบกษา, 2551) ทั้งนี้เพื่อเป็ นการควบคุมเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ ลด
ปั ญหาและผลกระทบทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม ช่วยเสริ มสร้างสุ ขภาพของประชาชน สร้างความตระหนักถึง
พิษภัยของเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์และป้ องกันเด็กและเยาวชน มิให้เข้าถึงเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ โดยง่ายผลกระทบ
ที่เกิดจากการดื่มเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ นอกจากปั ญหาทางด้านร่ างกาย ซึ่ งก็คือมีผลต่อตับ ทาให้เป็ นโรคตับแข็ง
มะเร็ งตับ หรื อผลต่อหัวใจ ฯลฯ แล้ว อันตรายที่หลายคนอาจจะไม่นึกถึงก็คือผลต่อโรคทางจิตประสาท ซึ่ งก็
ส่ งผลกระทบต่อร่ างกายอย่างมากมายมหาศาลได้เช่นกัน(กรมสุ ขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุ ข, ม.ป.ป.) ซึ่ง
สอดคล้องกับ แพทย์หญิงหทัยชนนี บุญเจริ ญ(ม.ป.ป.) กล่าวว่า ผลกระทบที่เกิดจากเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ คือ
อารมณ์และพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงอารมณ์เปลี่ยนแปลงง่ายพฤติกรรมเปลี่ยนแปลง การตัดสิ นใจและการ
ควบคุมตัวเองไม่ดี มีปัญหาการนอน โดยเฉพาะภายหลังการดื่มเหล้ามีพฤติกรรมหรื อสภาพจิตใจเปลี่ยนแปลง
อย่างไม่เหมาะสม เช่น มีพฤติกรรมทางเพศหรื อก้าวร้าวอย่างไม่เหมาะสม อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย
การตัดสิ นใจไม่ดี ไม่สามารถเข้าสังคมหรื อทางานได้ นอกจากนี้ผลกระทบที่ส่งผลต่อการเรี ยนคือ
1.) ความบกพร่ องทางสติปัญญาและการเคลื่อนไหว จะเกิดขึ้นหลังจากการดื่มในแต่ละครั้ง ซึ่ งจะขึ้นอยูกบ    ่ ั
ปริ มาณการดื่มในครั้งนั้นๆ ด้วย 2.) ความจาเสื่ อมแบบไปข้างหน้า หลังการดื่มในปริ มาณมากๆ เซลล์สมอง
ถูกทาลายเนื่องจากการใช้แอลกอฮอล์ 3.) ความบกพร่ องด้านความจา ซึ่งรู ปแบบที่รุนแรงที่สุดคือ
                                                ั
Korsakoff syndrome มีความสัมพันธ์กบการขาด ไธอามีน ร่ วมกับการได้รับพิษจากแอลกอฮอล์ โดย
จะมีอาการความจาเสื่ อมในระยะสั้น แต่จะรักษาความจาระยะยาวและการคิดย้อนอดีตได้ดีกว่า 4.) อาการ
ผิดปกติที่สมองส่ วนหน้า ทาให้เกิดความบกพร่ องในด้านการคิดรวบยอดการวางแผน และการจัดระบบ
5.) การฝ่ อของสมองส่ วนซี รีเบลลัม ทาให้เกิดการเดินเซ ทรงตัวได้ไม่ดี 6) ภาวะเลือดใต้เยือหุมสมอง ทั้ง
                                        ่                                                   ่ ้
เฉี ยบพลันและเรื้ อรัง อาจเกิดหลังจากมีอุบติเหตุที่ศีรษะซึ่ งอาจถูกมองข้ามไปเนื่องจากการได้รับพิษจาก
                                             ั
แอลกอฮอล์ (กรมสุ ขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุ ข,ม.ป.ป.) ส่ วนผลกระทบที่ส่งผลต่อเศรษฐกิจคือค่าใช้จ่าย
ที่เพิ่มขึ้นจากการดื่มสุ ราในแต่ละครั้ง ดังนิรัติยา ใจเสี ยง และคณะ (2549) ได้ศึกษาพฤติกรรมการบริ โภค
เครื่ องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่างเป็ นนักศึกษาระดับปริ ญญาตรี
จานวน 500 คน ผลการสารวจพบว่านักศึกษาที่ดื่มเครื่ องดื่มที่มีแอลกอฮอล์เสี ยค่าใช้จ่ายในการดื่มเฉลี่ยแต่ละ
ครั้งคนละ 218 บาท ซึ่ งสอดคล้องกับแสงหล้า อินทจักร์ (ม.ป.ป.) โดยข้อมูลวิจยปั ญหาสุ ราชี้ชดว่า สุ ราคือ
                                                                                   ั            ั
ที่มาของความยากจน ผูมีรายได้นอยจะใช้รายได้ที่ตวเองหามาได้ไปกับการดื่มเหล้าเป็ นสัดส่ วนที่สูงกว่า
                           ้          ้                ั
ผูมีรายได้มาก โดยผูมีรายได้นอยกว่า 2,000 บาทต่อเดือน จ่ายเพื่อดื่ม 100 บาท ต่อเดือน แม้ตวเลขไม่สูงฃ
   ้                   ้        ้                                                                   ั
นักแต่คิดเป็ นถึงร้อยละ 10.0 ของรายได้ หากเทียบกับผูมีรายได้ 20,000 บาทต่อเดือน ที่มีค่าใช้จ่ายในกา
                                                              ้
ดื่ม 415 บาท ต่อเดือน หรื อ ร้อยละ 0.9 ของรายได้ ก็ถือว่าใช้จ่ายเกินตัวไปกับการดื่มมากกว่าถึง 11 เท่า
นอกจากนี้การดื่มเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ยงส่ งผลกระทบต่อสังคมโดยผลที่เกิดขึ้นในทันทีของการดื่ม ผลักดันให้
                                           ั
ก่อความรุ นแรงคือ การไปกดการทางานของสมองโดยเฉพาะกับส่ วนที่ควบคุมความรู ้สึกผิดชอบชัวดี ทาให้     ่
สมองส่ วนอื่นเพิ่มอิทธิ พลต่อความคิดและพฤติกรรม ส่ งผลให้ผดื่มขาดความยับยั้งชังใจดังเช่นที่มีในภาวะปกติ
                                                                  ู้                 ่
มหาวิทยาลัยได้มีขอบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ว่าด้วยวินยนักศึกษา พ.ศ. 2536 และประกาศ
                     ้                                               ั
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี เรื่ อง แนวทางการพิจารณาโทษนักศึกษาผูกระทาผิดวินยนักศึกษา เมื่อวันที่ 30
                                                                          ้               ั
มีนาคม 2548 (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี , 2551) หมวด 6 ความผิดเกี่ยวกับการเสพสุ ราหรื อของมึน
เมา ข้อ 16. กล่าวคือนักศึกษาผูใดเสพสุ ราหรื อของมึนเมาอย่างใดๆ ภายในมหาวิทยาลัยจะถูกพิจารณาตัด
                                    ้
คะแนนความประพฤติระหว่าง 10 - 50 คะแนน (ตักเตือนเป็ นลายลักษณ์อกษร ถึง ภาคทัณฑ์ตลอดสภาพ
                                                                               ั
นักศึกษา) ข้อ 17. นักศึกษาผูใดเสพสุ ราหรื อของมึนเมาอย่างใด ๆ จนเป็ นเหตุให้ผอื่นเดือดร้อนราคาญจะถูก
                                  ้                                                    ู้
พิจารณาตัดคะแนนความประพฤติระหว่าง51 - 60 คะแนน (พักการศึกษา 1 ภาคการศึกษา) และข้อ 18.
นักศึกษาผูใดเสพสุ ราหรื อของมึนเมาอย่างใด ๆ จนเป็ นเหตุให้เสื่ อมเสี ยชื่อเสี ยงของตนเองของนักศึกษาอื่น
             ้
และหรื อของมหาวิทยาลัยโดยรวม จะถูกพิจารณาตัดคะแนนความประพฤติระหว่าง 51 – 99 คะแนน (พัก
การศึกษา 1 ภาคการศึกษา ถึง พักการศึกษา 3 ภาคการศึกษา)
กอปรกับประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี เรื่ องการเสพของมึนเมา การอยูร่วมในวงเสพของมึนเมาหรื อ
                                                                                 ่
การมีของมึนเมาไว้ในครอบครองในเขตมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2551 โดยมีมาตรการกาลงโทษ
ที่รุนแรงคือพักการศึกษา 1ภาคการศึกษา เป็ นต้นไป (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี , 2551)ในปี การศึกษา
2550 นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ถูกลงโทษทางด้านวินกนักศึกษา จานวน 327 คน ในจานวน
                                                                       ั
นี้มีการกระทาผิดที่เกี่ยวกับสุ รา จานวน 64 คน คิดเป็ น ร้อยละ19.5 ของการกระทาผิดทั้งหมด และถูก
มหาวิทยาลัยสั่งลงโทษในกรณี ความผิดที่เกี่ยวกับสุ ราให้พกการศึกษา จานวน 13 คน และภาคทัณฑ์ตลอด
                                                                ั
สภาพการศึกษา จานวน 38 คน
(งานวินยนักศึกษาและการทหาร ส่ วนกิจการนักศึกษา มหาวิทยาลัเทคโนโลยีสุรนารี , 2551) จากกรวบรวม
         ั
                          ่
ข้อมูล เอกสาร จะเห็นได้วายังมีนกศึกษาของมหาวิทยาลัยที่ไม่ได้ปฏิบติตามพระราชบัญญัติและข้อบังคับขอ
                                ั                                ั
มหาวิทยาลัย ซึ่ งส่ งผลกระทบต่อการเรี ยนของนักศึกษา ทาให้ผวจยเล็งเห็นความสาคัญของการทาวิจยเรื่ อง
                                                          ู้ ิ ั                           ั
พฤติกรรมการดื่มสุ ราของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี เพื่อนาผลที่ได้จากการวิจยในครั้งนี้ไปใช้
                                                                                   ั
ประโยชน์ต่อการวางแผนรณรงค์ และป้ องกันการดื่มสุ ราในมหาวิทยาลัยต่อไป
ประชาชนและกลุ่มตัวอย่ าง
         ประชากรที่ใช้ในการวิจยครั้งนี้คือ นักศึกษาระดับปริ ญญาตรี มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารี
                                 ั
ปี การศึกษาที่ 2551 ซึ่ งมีจานวนทั้งสิ้ น 8,750 คน
         กลุ่มตัวอย่าง
         กาหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจย ดาเนินการโดยใช้วธีคานวณ
                                                    ั                 ิ
         แสดงการเทียบบัญญัติไตรยางศ์เลือกกลุ่มตัวอย่าง

                  สานักวิชา                       ประชากร                        กลุ่มตัวอย่ าง
                                           ชาย หญิง รวม                          ชาย หญิง         รวม
1. สานักวิชาวิศวกรรมศาสตร์                  3,691 2,243 5,934 1                  62       98       260
2. สานักวิชาวิทยาศาสตร์                    63     37    100                      3        2       5
3. สานักวิชาเทคโนโลยีสังคม                 280 833 1,113                         12       37      49
4. สานักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร               206 588 794                           9       26      35
5. สานักวิชาแพทยศาสตร์                     146 663 809                           6        29      35
        รวม                                4,386 4,364 8,750                     192 192          384

         แล้วใช้วธีสุ่มเลือกนักศึกษาโดยสุ่ มอย่างง่าย
                  ิ
         แสดงข้อมูลพื้นฐานของผูตอบแบบสอบถาม
                                   ้
         ข้ อมูลเบืองต้ น
                    ้                                   จานวน                    ร้ อยละ
เพศ
         ชาย                                            192                      50.0
         หญิง                                           192                      50.0
                  รวม                                   384                      100.0
นักศึกษาชั้นปี ที่
        ชั้นปี ที่ 1                                    107                      27.9
        ชั้นปี ที่ 2                                    149                      38.8
        ชั้นปี ที่ 3                                    88                       22.9
        ชั้นปี ที่ 4                                    40                       10.4
                    รวม                                 384                      100.0
ข้ อมูลเบืองต้ น
                  ้                                            จานวน                      ร้ อยละ
สานักวิชา
        วิศวกรรมศาสตร์                                         260                        67.7
        เทคโนโลยีการเกษตร                                      35                         9.1
        เทคโนโลยีสังคม                                         49                         12.8
        แพทยศาสตร์                                             35                         9.1
        วิทยาศาสตร์                                            5                          1.3
                    รวม                                        384                        100.0

                                     ่
          จากตารางที่ 3 จะเห็นได้วานักศึกษาที่มีพฤติกรรมดื่มสุ ราเพศชายและเพศหญิงมีสดส่ วน เท่ากันั
(ร้อยละ 50) ชั้นปี ที่ศึกษามากที่สุดคือชั้นปี ที่ 2 (ร้อยละ 38.8) รองลงมาคือชั้นปี ที่ 1 (ร้อยละ 27.9) และน้อยที่สุด
คือชั้นปี ที่ 4 (ร้อยละ 10.4) การสังกัดสานักวิชามากที่สุดคือสานักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ (ร้อยละ 67.7) รองลงมา
คือสานักวิชาเทคโนโลยีสังคม (ร้อยละ 12.8) และน้อย ที่สุดคือสานักวิชาวิทยาศาสตร์ (ร้อยละ 1.3) ส่ วนการมี
พฤติกรรมการดื่มสุ ราเลือกเฉพาะผูที่ดื่มสุ รา (ร้อยละ 100.0)
                                       ้
ผลการวิจัย
          ผลการวิจยจะนาเสนอตามลาดับ ดังนี้
                      ั
          1. ผลการวิเคราะห์ขอมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการดื่มสุ ราของนักศึกษามหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารี ปี
                               ้
การศึกษา 2551
          2. ผลการวิเคราะห์ขอมูลเกี่ยวกับการศึกษาความเป็ นอิสระในการจัดจาแนกพฤติกรรมการ ดื่มสุ ราของ
                                 ้
นักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ระหว่างสานักวิชา
          รายละเอียดผลการวิจย ดังนี้
                                   ั
          1. ผลการวิเคราะห์ ข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการดื่มสุ ราของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ร้อยละของนักศึกษาที่ดื่มสุ รา จาแนกตามช่วงอายุของการดื่มสุ ราครั้งแรก
ช่ วงอายุการดื่มสุ ราครั้ งแรก                                    จานวน                      ร้ อยละ
          16-18 ปี                                               119                         31.0
          19-21 ปี                                               117                         30.5
          13-15 ปี                                               33                          22.4
          21 ปี ขึ้นไป                                           86                          8.6
          10-12 ปี                                               18                          4.7
          ต่ากว่า 10 ปี                                          11                          2.9
                     รวม                                         384                         100.0
พบว่า นักศึกษาดื่มสุ ราครั้งแรกมากที่สุดในช่วงอายุ 16-18 ปี (ร้อยละ 31.0) รองลงมาคือ ช่วงอายุ 19-21
ปี (ร้อยละ 30.5)
ร้อยละของนักศึกษาที่ดื่มสุ รา จาแนกตามชนิดของสุ ราที่ดื่มครั้งแรก
ชนิดของสุ ราทีด่มครั้งแรก
                 ่ ื                                        จานวน                    ร้ อยละ
         เบียร์                                             154                      40.1
         เหล้า                                              116                      30.2
         สปาย                                               55                       14.3
         เหล้าปั่ น                                         17                        4.4
         เหล้าขาว                                           12                        3.1
         สุ ราพื้นบ้าน เช่นสาโท/อุ ฯ                        11                       2.9
         ไวน์                                               11                       2.9
         เหล้าขาวผสมน้ าแดง                                 6                        1.6
         เหล้ายาดอง                                         2                         0.5
                     รวม                                    384                      100.0
         พบว่า นักศึกษาดื่มเบียร์ ในครั้งแรกมากที่สุด (ร้อยละ 40.1) รองลงมาคือดื่ม เหล้า (ร้อยละ 30.2)

ร้อยละของนักศึกษาที่ดื่มสุ รา จาแนกตามผูที่ร่วมดื่มสุ ราในครั้งแรก
                                              ้
ผู้ทร่วมดื่มสุ ราครั้งแรก
    ี่                                                         จานวน (ครั้ ง)         ร้ อยละ
         ดื่มกับเพื่อน                                         295                    65.7
         ดื่มกับรุ่ นพี่/รุ่ นน้อง                             86                     19.2
         ดื่มคนเดียว                                           32                     7.1
         ดื่มกับพ่อแม่/ครอบครัว                                31                     6.9
         อื่น ๆ เช่น แฟน เป็ นต้น                              5                      1.1
                      รวม                                      449                    100.0
         พบว่า ผูที่ร่วมดื่มสุ ราในครั้งแรกดื่มกับเพื่อนมากที่สุด (ร้อยละ 65.7) รองลงมาคือ ดื่มกับรุ่ นพี่/รุ่ นน้อง
                    ้
(ร้อยละ 19.2)
ร้อยละของนักศึกษาที่ดื่มสุ รา จาแนกตามชนิดของสุ ราที่ดื่มปัจจุบน
                                                               ั
ชนิดของสุ ราทีด่มปัจจุบัน
               ่ ื                                        จานวน (ครั้ ง)            ร้ อยละ
       เบียร์                                             288                       27.9
       เหล้า                                              239                       23.1
       เหล้าปั่ น                                         125                       12.1
       สปาย                                               113                       10.9
       ไวน์                                               69                        6.7
       เหล้าขาว                                           61                        5.9
       เหล้ายาดอง                                         47                        4.5
       เหล้าขาวผสมน้ าแดง                                 45                        4.6
       สุ ราพื้นบ้าน เช่นสาโท/อุ ฯ                        39                        3.8
       อื่น ๆ                                             7                         0.7
                   รวม                                    1,033                     100.0

        พบว่า ชนิดของสุ ราที่นกศึกษาดื่มปัจจุบนดื่มเบียร์มากที่สุด (ร้อยละ 27.9) รองลงมาคือ ดื่มเหล้า (ร้อย
                              ั               ั
ละ 23.1)

ร้อยละของนักศึกษาที่ดื่มสุ รา จาแนกตามการดื่มสุ ราในอนาคต
การดื่มสุ ราในอนาคต                                      จานวน                   ร้ อยละ
         เหมือนเดิม                                      169                    44.0
         ลดลง                                            143                    37.2
         ไม่ดื่มเลย                                      35                     9.1
         เพิ่มขึ้น                                       20                     5.2
         อื่น ๆ                                          17                     4.4
         รวม                                             384                    100.0
         พบว่า การดื่มสุ ราในอนาคตจะดื่มเหมือนเดิมมากที่สุด (ร้อยละ 44.0) รองลงมาคือ ดื่มลดลง
 (ร้อยละ 37.2)
สรุ ปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ
         จากผลการวิเคราะห์ พฤติกรรมการดื่มสุ ราของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ปี การศึกษา
2551 โดยมีเป้ าหมายเป็ นนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ระดับปริ ญญาตรี ที่มี ประสบการณ์ในการดื่ม
สุ รา จานวน 384 คน ผลการวิเคราะห์ขอมูลประกอบด้วยพฤติกรรมการดื่ม สุ ราของนักศึกษามหาวิทยาลัย
                                    ้
เทคโนโลยีสุรนารี และการศึกษาความเป็ นอิสระในการจัดจาแนก พฤติกรรมการดื่มสุ ราของนักศึกษา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ระหว่างสานักวิชา สามารถสรุ ป ผลการวิจย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะดังนี้
                                                                   ั

            1. สรุ ปผลการวิจัย
            จากผลการวิเคราะห์พฤติกรรมการดื่มสุ ราของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ปี การศึกษา
2551 สรุ ปผลการวิจย ดังนี้
                       ั
            1.1 มูลเหตุและแรงจูงใจในการดื่มสุ ราของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ผลการวิจยปรากฏ    ั
ว่าสาเหตุของการดื่มสุ ราของนักศึกษาเพราะต้องการเข้าสังคมมากเป็ นอันดับ 1 อันดับ 2 คือเพื่อนชวนดื่มและ
อันดับ 3 คือคลายเครี ยด
            1.2 พฤติกรรมการดื่มสุ ราของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ผลการวิจยปรากฏว่า (1) การดื่ม
                                                                                            ั
สุ ราในครั้งแรกส่ วนใหญ่อายุที่ดื่มคือช่วงอายุ 16-18 ปี โดยมีสุราที่ดื่มในครั้งแรกคือ เบียร์รองลงมาคือเหล้า ครั้ง
แรกจะดื่มกับเพื่อน ส่ วนเมื่อเข้าเรี ยนในมหาวิทยาลัยดื่มครั้งแรกในงาน เทศกาลรื่ นเริ งต่าง ๆ ในปั จจุบนส่ วน
                                                                                                       ั
ใหญ่จะดื่มสุ รา 1-2 ครั้ง/เดือน ช่วงเวลาที่ดื่มคือหลังสอบเสร็ จ โดยมีการดื่มสุ ราที่ผบ บาร์ เธค ส่ วนใหญ่จะดื่ม
                                                                                      ั
กับเพื่อน กิจกรรมที่ทาคือการพูดคุยกันเป็ นส่ วน ใหญ่ รองลงมาคือการฟังเพลง และการร้องเพลง ตามลาดับ
ปริ มาณการดื่มแต่ละครั้งจะดื่มหนึ่ง กลม/ขวด รองลงมาคือ 3-4 แก้ว ส่ วนใหญ่จะไม่ดื่มในมหาวิทยาลัย (ร้อยละ
76.8) และสถานที่ใช้ เป็ นที่ดื่มสุ ราในมหาวิทยาลัยมากที่สุดคือหอพักนักศึกษา (ร้อยละ 9.2) (2) สาหรับ
         ่
ค่าใช้จายในการ ซื้ อสุ รา จะใช้เงินเก็บของตนเองมากที่สุด รองลงมาคือเงินจากพ่อ แม่ ผูปกครอง ส่ วนใหญ่จะ
                                                                                          ้
เสี ย ค่าใช้จ่ายในการดื่ม 100-200 บาท/ครั้ง (ร้อยละ 58.9) และบางส่ วนเสี ยค่าใช้จ่ายมากกว่า 500 บาท/ ครั้ง
(ร้อยละ 6.3) (3) ผลกระทบต่อนักศึกษา ส่ วนใหญ่จะใช้เวลาในการดื่มเฉลี่ย 3-4 ชัวโมง/ครั้ง ขณะดื่มสุ ราพบเห็น
                                                                                    ่
การทะเลาะวิวาทเป็ นส่ วนใหญ่ ถึงแม้ส่วนมากจะไม่มีการใช้สารเสพติด แต่ก็มี บางส่ วนที่สูบบุหรี่ (ร้อยละ
25.6) ในอนาคตนักศึกษาส่ วนใหญ่จะยังดื่มสุ ราเหมือนเดิม การดื่มสุ รา จะไม่ส่งผลกระทบกับผลการเรี ยน และ
นักศึกษาเคยประสบอุบติเหตุหลังการดื่มสุ รา (ร้อยละ 19.0)
                           ั
            1.3 ผลการวิเคราะห์ขอมูลเกี่ยวกับการศึกษาความเป็ นอิสระในการจัดจาแนกพฤติกรรม การดื่มสุ ราของ
                                  ้
นักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ระหว่างสานักวิชา ผลการวิจยปรากฏว่า นักศึกษาสานักวิชา
                                                                         ั
วิศวกรรมศาสตร์ สานักวิชาเทคโนโลยีสังคม สานักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร สานักวิชาแพทยศาสตร์ และ
สานักวิชาวิทยาศาสตร์ มีพฤติกรรมการดื่มสุ ราไม่แตกต่างกัน ยกเว้น ในเรื่ องอายุที่ดื่มสุ ราในครั้งแรก ชนิดของ
สุ ราที่ดื่มในครั้งแรก ดื่มสุ ราบ่อยแค่ไหนในปั จจุบนสถานที่ในการดื่มสุ ราในปั จจุบน และการพบเหตุการณ์
                                                    ั                                   ั
ทะเลาะวิวาทระหว่างการดื่มสุ รา มีความแตกต่างกันอย่างมีนยสาคัญทางสถิติ
                                                              ั
2. อภิปรายผล
           จากสรุ ปผลการวิจยที่นาเสนอข้างต้น ประเด็นสาคัญของการวิจยครั้งนี้ คือ มูลเหตุ แรงจูงใจ พฤติกรรม
                                 ั                                          ั
และการศึกษาความเป็ นอิสระในการจัดจาแนกพฤติกรรม สามารถอภิปราย ผลได้ดงนี้                ั
           2.1 มูลเหตุและแรงจูงใจในการดื่มสุ ราของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี เพราะ ต้องการเข้า
สังคมมากที่สุด ทั้งนี้อาจเป็ นเพราะนักศึกษาได้มาเรี ยนรู ้และดาเนินชีวตห่างจาก ครอบครัว ผูปกครอง ซึ่งเป็ นผู้
                                                                          ิ                         ้
                                                               ่
คอยแนะนาตักเตือนและให้คาปรึ กษาเรื่ องต่าง ๆ เมื่อมาอยูหอพักสภาพแวดล้อมเปลี่ยนไปสังคมเปลี่ยนไป
นักศึกษาจึงต้องตัดสิ นใจเรื่ องต่าง ๆ ด้วยตัวเองจึงขาดการยั้งคิด การมาอยูรวมกันกับกลุ่มเพื่อนจึงมีอิทธิ พลมาก
                                                                                ่
ขึ้น ดังนั้นเมื่อเกิดการรวมกลุ่มจึงทาให้นกศึกษามีโอกาสในการดื่มสุ รามากขึ้น ซึ่ งสอดคล้องกับงานวิจยของศิ
                                                ั                                                           ั
ริ นทิพย์ มีสุขอาไพรัสมี(2545) ที่พบว่าสังคมปั จจุบนมักจะให้เหตุผลในการดื่มสุ ราเพราะต้องการเข้าสังคม จะ
                                                         ั
เห็นว่าการ ดื่มสุ ราเป็ นเรื่ องปกติในสังคม เป็ นสิ่ งที่สังคมยอมรับในปั จจุบน ทั้ง ๆ ที่การดื่มสุ รามีผลกระทบอย่าง
                                                                              ั
มากดังผลวิจยที่พบว่าในระหว่างดื่มสุ ราพบเห็นการทะเลาะวิวาทมากที่สุด (ร้อยละ 68.2) และหลังการดื่มสุ รายัง
                ั
                  ั
เกิดอุบติเหตุกบตนเอง (ร้อยละ 19.0)
        ั
           2.2 สถานที่ใช้เป็ นที่ดื่มสุ ราส่ วนใหญ่จะไม่ดื่มในมหาวิทยาลัยจะเป็ นตามผับ บาร์ เธค และจะดื่มกับ
เพื่อนมากที่สุด ซึ่ งสอดคล้องกับงานวิจยของชลธิ ชา โรจนแสง (2550) ที่พบว่านักศึกษา ชอบดื่มสุ รากับเพื่อนที่
                                              ั
ผับหรื อเธค ข้อค้นพบนี้นบว่าเป็ นข้อที่เน้นย้าว่านักศึกษามีการดื่มสุ ราตามร้านที่มีการจาหน่ายสุ ราโดยเฉพาะ ไม่
                               ั
เข้ามาดื่มสุ ราในมหาวิทยาลัย เพราะในมหาวิทยาลัยเองโดยเฉพาะในหอพักนักศึกษามีกฏ ระเบียบ ข้อบังคับ ที่
เข้มงวดในเรื่ องนี้มาก ดังประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี เรื่ อง การเสพของมึนเมา การอยูร่วมในวงเสพ   ่
ของมึนเมาหรื อการมีของมึนเมาไว้ในครอบครองในเขตมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2551 โดยมี
มาตรการการลงโทษที่รุนแรงคือพักการศึกษา 1 ภาคการศึกษา เป็ นต้นไป (ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี สุ ร
นารี , 2551) ทั้งนี้จากมาตรการและการลงโทษที่รุนแรงจึงทาให้นกศึกษาตระหนักถึงการ ลงโทษที่รุนแรงซึ่งเป็ น
                                                                     ั
ผลมาจากการดื่มสุ ราในมหาวิทยาลัย แต่ก็มีนกศึกษาบางส่ วนที่ใช้หอพัก นักศึกษาเป็ นสถานที่ในการดื่มสุ ราอยู่
                                                  ั
ก็นบว่าน่าเป็ นห่วงนักศึกษากลุ่มนี้เหมือนกัน
     ั
           2.3 ค่าใช้จ่ายในการซื้ อสุ รา จะใช้เงินเก็บของตนเองและเสี ยค่าใช้จ่ายในการดื่ม 100-200 บาท/ครั้ง ซึ่ง
สอดคล้องกับงานวิจยของชลธิ ชา โรจนแสง (2550) ที่พบว่าในแต่ละครั้งของการดื่ม สุ ราจะมีค่าใช้จ่ายประมาณ
                        ั
100-200 บาท โดยเงินที่ใช้ในการดื่มสุ ราเป็ นเงินส่ วนตัวที่เก็บสะสมไว้ และ นิรัติยา ใจเสี ยง และคณะ (2549)
พบว่า นักศึกษาที่ดื่มเครื่ องดื่มที่มีแอลกอฮอล์เสี ยค่าใช้จ่ายในการดื่มเฉลี่ยแต่ละครั้งคนละ 218 บาท
           2.4 ผลกระทบต่อนักศึกษา ส่ วนใหญ่จะใช้เวลาในการดื่มเฉลี่ย 3-4 ชัวโมง/ครั้ง และจะดื่ม 1-2 ครั้ง/
                                                                                  ่
เดือน แล้วส่ วนมากหลังจากดื่มแล้วจะกลับไปนอน ข้อค้นพบนี้จะชี้ให้เห็นว่าเวลาที่นกศึกษาใช้ในการดื่มสุ ราจะ
                                                                                           ั
มาทดแทนเวลาที่ควรใช้เพื่ออ่านหนังสื อ ทบทวนวิชาเรี ยน หรื อการทา การบ้านเพื่อส่ งอาจารย์ โดยใน
ขณะเดียวกันการดื่มสุ รายังพบเห็นการทะเลาะวิวาทกันด้วย เพราะ การดื่มสุ ราผลักดันให้ก่อความรุ นแรงขึ้น
กล่าวคือการไปกดการทางานของสมอง โดยเฉพาะกับ ส่ วนที่ควบคุมความรู ้สึกผิดชอบชัวดี ทาให้สมองส่ วนอื่น
                                                                                               ่
เพิ่มอิทธิ พลต่อความคิดและพฤติกรรม ส่ งผลให้ผดื่มขาดความยับยั้งชังใจดังเช่นที่มีในภาวะปกติ (แสงหล้า
                                                     ู้                  ่
อินทจักร์ , ม.ป.ป.)
          2.5 การดื่มสุ ราในอนาคตนักศึกษาส่ วนใหญ่จะยังดื่มสุ ราเหมือนเดิมและการดื่มสุ ราจะไม่ ส่ งผลกระทบ
กับผลการเรี ยน (ร้อยละ 71.4) ซึ่ งสอดคล้องกับงานวิจยของชลธิ ชา โรจนแสง (2550) ที่พบว่าการดื่มสุ ราไม่มี
                                                        ั
ผลกระทบต่อการเรี ยน และในอนาคตก็ยงคงดื่มสุ ราเป็ นบางครั้งบางคราว ต่อไป และสอดคล้องกับงานวิจยของ
                                         ั                                                               ั
อ้อยทิพย์ ถานันตะ (2550) ที่พบว่านักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นมีทศนคติในทางบวกต่อการดื่มสุ รา เป็ นข้อ
                                                                       ั
                           ั
ค้นพบที่ถือว่าตอกย้าให้กบสังคมปั ญญาชนว่านักศึกษาทุกวันนี้ถือว่าการดื่มสุ ราเป็ นเรื่ องที่ถูกต้อง เหมาะสม ทั้ง
ๆ ที่การดื่มสุ ราส่ งผลกระทบในทุก ๆ ด้าน เช่น ด้านร่ างกายมีผลต่อตับ ทาให้เป็ นโรคตับแข็ง มะเร็ งตับ หรื อผล
ต่อหัวใจ ผลต่อโรคทางจิตประสาท ด้านการเรี ยนมีผลกระทบต่อความบกพร่ องทางสติปัญญาและการ
เคลื่อนไหว ความจาเสื่ อมแบบไปข้างหน้า ความบกพร่ องด้านความจา อาการผิดปกติที่สมองส่ วนหน้า ทาให้เกิด
ความบกพร่ องในด้านการคิดรวบยอด การวางแผน และการจัดระบบ การฝ่ อของ สมองส่ วนซี รีเบลลัมทาให้เกิด      ่
การเดินเซ ทรงตัวได้ไม่ดี และภาวะเลือดใต้เยื่อหุมสมอง ทั้งเฉี ยบพลันและเรื้ อรัง เนื่องจากการได้รับพิษจา
                                                   ้
แอลกอฮอล์ (กรมสุ ขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุ ข,ม.ป.ป.) ทั้งนี้คณะผูวจยเห็นว่าสาเหตุที่นกศึกษาไม่ตระหนัก
                                                                           ้ิั               ั
ถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นกับการเรี ยนนั้นน่าจะเกิดจากสังคมของนักศึกษาเองที่มีการใช้ชีวิตที่มีความใกล้ชิดกันและ
มีความสนิทสนมกันมากระหว่างนักศึกษาด้วยกันหรื อกับรุ่ นพี่และรุ่ นน้อง ดังผลการวิจยที่พบว่าผูที่ร่วมดื่มสุ
                                                                                       ั           ้
รมากที่สุดคือเพื่อน รองลงมาคือรุ่ นพี่ และรุ่ นน้องตามลาดับ
          2.6 ผลการวิเคราะห์ขอมูลเกี่ยวกับการศึกษาความเป็ นอิสระในการจัดจาแนกพฤติกรรม การดื่มสุ ราของ
                               ้
นักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ระหว่างสานักวิชา ปรากฏว่านักศึกษาสานักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สานัก
วิชาเทคโนโลยีสังคม สานักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร สานักวิชาแพทยศาสตร์ และสานักวิชาวิทยาศาสตร์ ส่ วน
ใหญ่มีพฤติกรรมการดื่มสุ ราไม่แตกต่างกัน ทาให้มองเห็นภาพได้วาการเรี ยนในแต่ละสานักวิชาไม่ส่งผลต่อ
                                                                 ่
พฤติกรรมการดื่มสุ ราของนักศึกษา ทั้งนี้อาจเป็ นเพราะว่าการใช้ชีวตของนักศึกษาในแต่ละวันจะคล้าย ๆ กันมาก
                                                                   ิ
อย่างเช่น การเรี ยนวิชาพื้นฐานด้วยกัน สถานที่เรี ยนเดียวกัน ทานอาหารที่เดียวกัน พักอาศัยปะปนกันไม่ได้แยก
                                                                     ่
หอพักเป็ นสานักวิชา และหลังเลิกเรี ยนก็ใช้ชีวตเหมือน ๆ กัน ซึ่ งอยูในสังคมของมหาวิทยาลัย
                                                 ิ
          3. ข้ อเสนอแนะ
          จากผลการวิเคราะห์พฤติกรรมการดื่มสุ ราของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ปี 2551 มี
ข้อเสนอแนะ ดังนี้
          3.1 ข้อเสนอแนะจากการวิจย พฤติกรรมการดื่มสุ ราเฉลี่ยครั้งละ 3- 4 ชัวโมง มากถึง 1-2 ครั้งในหนึ่ง
                                     ั                                         ่
เดือนนั้น ย่อม กระทบต่อการใช้ชีวตประจาวันของนักศึกษาแน่นอน และที่สาคัญมีผลกระทบต่อการทบทวน
                                   ิ
หรื อการอ่านหนังสื อ แต่ตวของนักศึกษาเองกลับมีความคิดว่าการดื่มสุ ราไม่กระทบต่อผลการเรี ยนของตนเอง
                             ั
และในอนาคตก็ยงจะดื่มต่อไป และที่สาคัญยิงยังพบว่าการดื่มสุ ราในแต่ละครั้งนักศึกษาพบเห็นการทะเลาะ
                     ั                         ่
วิวาทด้วย ซึ่ งการทะเลาะวิวาทในขณะที่ไม่มีสติ หรื ออยูในอาการที่เมาสุ รา ครองสติไม่ได้ ก็จะนามาสู่ การทา
                                                          ่
ร้ายร่ างกายกัน การไม่เข้าใจกัน อันจะนามาสู่ การแตกความสามัคคีในหมู่คณะ คณะผูวิจยเห็นว่าพฤติกรรม
                                                                                     ้ ั
เหล่านี้เป็ นผลกระทบต่อนักศึกษาและสถาบัน ควรใช้มาตรการด้านกฎหมายเข้ามาบังคับใช้ เช่น กฎหมายที่หาม        ้
ผูที่มีอายุไม่ถึง 20 ปี บริ บูรณ์ บริ โภคเครื่ องดื่มที่ผสมแอลกอฮอล์ เป็ นต้น
  ้
          3.2 ข้อเสนอแนะในการวิจยครั้งต่อไปการวิจยในครั้งนี้ เป็ นงานวิจยที่ศึกษาในภาพรวมกว้าง ๆ เพื่อที่จะ
                                        ั                   ั                 ั
ได้ทราบถึงพฤติกรรมของนักศึกษาในภาพรวมเท่านั้น การวิจยในครั้งต่อไปน่าที่จะมุ่งเน้นถึงการเปรี ยบเทียบ
                                                                 ั
พฤติกรรมการดื่มสุ ราในแต่ละชั้นปี เน้นกลุ่มเป้ าหมายโดยตรงไม่วาจะเป็ นตัวนักศึกษาผูดื่มเอง ผูประกอบการ
                                                                       ่             ้       ้
หรื อแม้กระทังมาตรการของมหาวิทยาลัยเองว่าได้เข้มงวดหรื อบังคับใช้กฎระเบียบมากน้อยขนาดไหน
                ่
อ้างอิง
งานวินยนักศึกษาและการทหาร ส่ วนกิจการนักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี . (2551).สรุ ปสถิติ
       ั
ผู้กระทาผิดวินัยนักศึกษา ปี การศึกษา 2551
ฝ่ ายทะเบียนนักศึกษา ศูนย์บริ การการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี . (2551). สถิติจานวนนักศึกษา
ภาคการศึกษาที่ 3 ปี การศึกษา 2551
นภาภรณ์ เต่งแก้ว. (2543). พฤติกรรมการบริ โภคสุ รา เบียร์ และบุหรี่ ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ .
รายงานการวิจย คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
              ั

More Related Content

What's hot

การศึกษางานวิจัย [Compatibility mode]
การศึกษางานวิจัย [Compatibility mode]การศึกษางานวิจัย [Compatibility mode]
การศึกษางานวิจัย [Compatibility mode]Sirirat Yimthanom
 
การศึกษางานวิจัย
การศึกษางานวิจัยการศึกษางานวิจัย
การศึกษางานวิจัยSirirat Yimthanom
 
โครงงานคอม ยาเสพติด
โครงงานคอม ยาเสพติดโครงงานคอม ยาเสพติด
โครงงานคอม ยาเสพติด
dearlyraindear
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคที่ใช่
 สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคที่ใช่ สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคที่ใช่
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคที่ใช่Thitapha Ladpho
 
งานวิจัย นม
งานวิจัย นมงานวิจัย นม
งานวิจัย นม
แม่หมู dmsu
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
Makin Puttaisong
 
Ice research 30 08-2012 (absolutely2012)
Ice research 30 08-2012 (absolutely2012)Ice research 30 08-2012 (absolutely2012)
Ice research 30 08-2012 (absolutely2012)
Kruthai Kidsdee
 
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงานแบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงานFiction Lee'jslism
 
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5Kruthai Kidsdee
 
โครงการวิจัยเรื่อง “การประเมินผลเชิงวิเคราะห์และการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของโครงก...
โครงการวิจัยเรื่อง “การประเมินผลเชิงวิเคราะห์และการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของโครงก...โครงการวิจัยเรื่อง “การประเมินผลเชิงวิเคราะห์และการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของโครงก...
โครงการวิจัยเรื่อง “การประเมินผลเชิงวิเคราะห์และการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของโครงก...oryornoi
 
การจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชน ตำบลธาตุ อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร
การจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชน ตำบลธาตุ อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร การจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชน ตำบลธาตุ อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร
การจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชน ตำบลธาตุ อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร
Jeaweaw Puglug
 
พฤติกรรมการบริโภคกาแฟของผู้บริโภค
 พฤติกรรมการบริโภคกาแฟของผู้บริโภค พฤติกรรมการบริโภคกาแฟของผู้บริโภค
พฤติกรรมการบริโภคกาแฟของผู้บริโภคThitapha Ladpho
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1Kruthai Kidsdee
 
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.33.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3Kruthai Kidsdee
 
รายงานวิจัย
รายงานวิจัยรายงานวิจัย
รายงานวิจัยEnooann Love
 
อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้ว
อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้วอาหารจานโปรดของเด็กทับแก้ว
อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้ว
Tiwapornwa
 
แผนสุขศึกษาม 6 10
แผนสุขศึกษาม 6 10แผนสุขศึกษาม 6 10
แผนสุขศึกษาม 6 10Kruthai Kidsdee
 
ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ม.2เส้นแดง
ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ม.2เส้นแดงตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ม.2เส้นแดง
ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ม.2เส้นแดงKruthai Kidsdee
 
044สถานการณ์ยาเสพติดในสถานศึกษา
044สถานการณ์ยาเสพติดในสถานศึกษา044สถานการณ์ยาเสพติดในสถานศึกษา
044สถานการณ์ยาเสพติดในสถานศึกษา
niralai
 

What's hot (19)

การศึกษางานวิจัย [Compatibility mode]
การศึกษางานวิจัย [Compatibility mode]การศึกษางานวิจัย [Compatibility mode]
การศึกษางานวิจัย [Compatibility mode]
 
การศึกษางานวิจัย
การศึกษางานวิจัยการศึกษางานวิจัย
การศึกษางานวิจัย
 
โครงงานคอม ยาเสพติด
โครงงานคอม ยาเสพติดโครงงานคอม ยาเสพติด
โครงงานคอม ยาเสพติด
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคที่ใช่
 สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคที่ใช่ สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคที่ใช่
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคที่ใช่
 
งานวิจัย นม
งานวิจัย นมงานวิจัย นม
งานวิจัย นม
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
 
Ice research 30 08-2012 (absolutely2012)
Ice research 30 08-2012 (absolutely2012)Ice research 30 08-2012 (absolutely2012)
Ice research 30 08-2012 (absolutely2012)
 
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงานแบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน
 
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
 
โครงการวิจัยเรื่อง “การประเมินผลเชิงวิเคราะห์และการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของโครงก...
โครงการวิจัยเรื่อง “การประเมินผลเชิงวิเคราะห์และการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของโครงก...โครงการวิจัยเรื่อง “การประเมินผลเชิงวิเคราะห์และการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของโครงก...
โครงการวิจัยเรื่อง “การประเมินผลเชิงวิเคราะห์และการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของโครงก...
 
การจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชน ตำบลธาตุ อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร
การจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชน ตำบลธาตุ อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร การจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชน ตำบลธาตุ อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร
การจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชน ตำบลธาตุ อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร
 
พฤติกรรมการบริโภคกาแฟของผู้บริโภค
 พฤติกรรมการบริโภคกาแฟของผู้บริโภค พฤติกรรมการบริโภคกาแฟของผู้บริโภค
พฤติกรรมการบริโภคกาแฟของผู้บริโภค
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
 
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.33.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
 
รายงานวิจัย
รายงานวิจัยรายงานวิจัย
รายงานวิจัย
 
อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้ว
อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้วอาหารจานโปรดของเด็กทับแก้ว
อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้ว
 
แผนสุขศึกษาม 6 10
แผนสุขศึกษาม 6 10แผนสุขศึกษาม 6 10
แผนสุขศึกษาม 6 10
 
ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ม.2เส้นแดง
ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ม.2เส้นแดงตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ม.2เส้นแดง
ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ม.2เส้นแดง
 
044สถานการณ์ยาเสพติดในสถานศึกษา
044สถานการณ์ยาเสพติดในสถานศึกษา044สถานการณ์ยาเสพติดในสถานศึกษา
044สถานการณ์ยาเสพติดในสถานศึกษา
 

Viewers also liked

พิษภัยของสุราต่อสุขภาพ
พิษภัยของสุราต่อสุขภาพพิษภัยของสุราต่อสุขภาพ
พิษภัยของสุราต่อสุขภาพWajana Khemawichanurat
 
092โทษของสุรา เผด็จ
092โทษของสุรา เผด็จ092โทษของสุรา เผด็จ
092โทษของสุรา เผด็จ
niralai
 
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่มรายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
Happy Zaza
 
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
Thidarat Termphon
 
129+heap4+dltv54+550301+a+สไลด์ โทษของบุหรี่และสุรา (1 หน้า)
129+heap4+dltv54+550301+a+สไลด์ โทษของบุหรี่และสุรา (1 หน้า)129+heap4+dltv54+550301+a+สไลด์ โทษของบุหรี่และสุรา (1 หน้า)
129+heap4+dltv54+550301+a+สไลด์ โทษของบุหรี่และสุรา (1 หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
การดูแลผู้ที่มีปัญหาสุราในระบบสุขภาพ
การดูแลผู้ที่มีปัญหาสุราในระบบสุขภาพการดูแลผู้ที่มีปัญหาสุราในระบบสุขภาพ
การดูแลผู้ที่มีปัญหาสุราในระบบสุขภาพ
Wajana Khemawichanurat
 
แผ่นพับสรุปวิจัยในชั้นเรียน
แผ่นพับสรุปวิจัยในชั้นเรียน แผ่นพับสรุปวิจัยในชั้นเรียน
แผ่นพับสรุปวิจัยในชั้นเรียน Jariya Jaiyot
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
Nattapon
 
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
Nattapon
 
บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)Love Plukkie Zaa
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์
xavi2536
 
Power point นำเสนองานวิจัย
Power point นำเสนองานวิจัยPower point นำเสนองานวิจัย
Power point นำเสนองานวิจัย
ชัชจิรา จำปาทอง
 
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการพฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
Jariya
 
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบวิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
ครูนิรุต ฉิมเพชร
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2
Wichai Likitponrak
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อนรายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อนSuppakuk Clash
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะKittichai Pinlert
 
การวิจัยพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม
การวิจัยพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐมการวิจัยพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม
การวิจัยพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม
Sutasinee Phu-on
 

Viewers also liked (20)

พิษภัยของสุราต่อสุขภาพ
พิษภัยของสุราต่อสุขภาพพิษภัยของสุราต่อสุขภาพ
พิษภัยของสุราต่อสุขภาพ
 
092โทษของสุรา เผด็จ
092โทษของสุรา เผด็จ092โทษของสุรา เผด็จ
092โทษของสุรา เผด็จ
 
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่มรายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
 
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
 
129+heap4+dltv54+550301+a+สไลด์ โทษของบุหรี่และสุรา (1 หน้า)
129+heap4+dltv54+550301+a+สไลด์ โทษของบุหรี่และสุรา (1 หน้า)129+heap4+dltv54+550301+a+สไลด์ โทษของบุหรี่และสุรา (1 หน้า)
129+heap4+dltv54+550301+a+สไลด์ โทษของบุหรี่และสุรา (1 หน้า)
 
การดูแลผู้ที่มีปัญหาสุราในระบบสุขภาพ
การดูแลผู้ที่มีปัญหาสุราในระบบสุขภาพการดูแลผู้ที่มีปัญหาสุราในระบบสุขภาพ
การดูแลผู้ที่มีปัญหาสุราในระบบสุขภาพ
 
แผ่นพับสรุปวิจัยในชั้นเรียน
แผ่นพับสรุปวิจัยในชั้นเรียน แผ่นพับสรุปวิจัยในชั้นเรียน
แผ่นพับสรุปวิจัยในชั้นเรียน
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
 
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
 
บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์
 
Power point นำเสนองานวิจัย
Power point นำเสนองานวิจัยPower point นำเสนองานวิจัย
Power point นำเสนองานวิจัย
 
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการพฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
 
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบวิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อนรายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
การวิจัยพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม
การวิจัยพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐมการวิจัยพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม
การวิจัยพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม
 

Similar to สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมการดื่มสุรา

พฤติกรรมการดื่มสุรา
พฤติกรรมการดื่มสุราพฤติกรรมการดื่มสุรา
พฤติกรรมการดื่มสุราChatmongkon C-Za
 
พฤติกรรมการดื่มสุรา
พฤติกรรมการดื่มสุราพฤติกรรมการดื่มสุรา
พฤติกรรมการดื่มสุราChatmongkon C-Za
 
2562 final-project by-surabadee (1)
2562 final-project by-surabadee (1)2562 final-project by-surabadee (1)
2562 final-project by-surabadee (1)
NKSJT
 
การทบทวนวรรณกรรม บุหรี่
การทบทวนวรรณกรรม บุหรี่การทบทวนวรรณกรรม บุหรี่
การทบทวนวรรณกรรม บุหรี่
zaii Pharma
 
2562 final-project by-surabadee
2562 final-project by-surabadee2562 final-project by-surabadee
2562 final-project by-surabadee
NKSJT
 
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์Kruthai Kidsdee
 
Ice research 30 08-2012 (absolutely)
Ice research 30 08-2012 (absolutely)Ice research 30 08-2012 (absolutely)
Ice research 30 08-2012 (2)
Ice research 30 08-2012 (2)Ice research 30 08-2012 (2)
Ice research 30 08-2012 (2)
Kruthai Kidsdee
 
Ice research 30 08-2012 (1)
Ice research 30 08-2012 (1)Ice research 30 08-2012 (1)
Ice research 30 08-2012 (1)
Kruthai Kidsdee
 
2562 final-project -1-23-1 weed
2562 final-project -1-23-1 weed2562 final-project -1-23-1 weed
2562 final-project -1-23-1 weed
ssuser8b5bea
 
computer 2
computer 2 computer 2
computer 2
MEMImi
 
Case studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policyCase studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policy
Thira Woratanarat
 
พฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการ
พฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการพฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการ
พฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการ
Utai Sukviwatsirikul
 
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised Nithimar Or
 
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยาการจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
DMS Library
 
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
WC Triumph
 
Siiim
SiiimSiiim
Siiim
SiiimSiiim
Thamasart uni
Thamasart uniThamasart uni
Thamasart uni
Pattie Pattie
 
Sakanan nuclear power_plants
Sakanan nuclear power_plantsSakanan nuclear power_plants
Sakanan nuclear power_plants
SAKANAN ANANTASOOK
 

Similar to สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมการดื่มสุรา (20)

พฤติกรรมการดื่มสุรา
พฤติกรรมการดื่มสุราพฤติกรรมการดื่มสุรา
พฤติกรรมการดื่มสุรา
 
พฤติกรรมการดื่มสุรา
พฤติกรรมการดื่มสุราพฤติกรรมการดื่มสุรา
พฤติกรรมการดื่มสุรา
 
2562 final-project by-surabadee (1)
2562 final-project by-surabadee (1)2562 final-project by-surabadee (1)
2562 final-project by-surabadee (1)
 
การทบทวนวรรณกรรม บุหรี่
การทบทวนวรรณกรรม บุหรี่การทบทวนวรรณกรรม บุหรี่
การทบทวนวรรณกรรม บุหรี่
 
2562 final-project by-surabadee
2562 final-project by-surabadee2562 final-project by-surabadee
2562 final-project by-surabadee
 
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
 
Ice research 30 08-2012 (absolutely)
Ice research 30 08-2012 (absolutely)Ice research 30 08-2012 (absolutely)
Ice research 30 08-2012 (absolutely)
 
Ice research 30 08-2012 (2)
Ice research 30 08-2012 (2)Ice research 30 08-2012 (2)
Ice research 30 08-2012 (2)
 
Ice research 30 08-2012 (1)
Ice research 30 08-2012 (1)Ice research 30 08-2012 (1)
Ice research 30 08-2012 (1)
 
2562 final-project -1-23-1 weed
2562 final-project -1-23-1 weed2562 final-project -1-23-1 weed
2562 final-project -1-23-1 weed
 
computer 2
computer 2 computer 2
computer 2
 
Case studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policyCase studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policy
 
พฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการ
พฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการพฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการ
พฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการ
 
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
 
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยาการจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
 
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
 
Siiim
SiiimSiiim
Siiim
 
Siiim
SiiimSiiim
Siiim
 
Thamasart uni
Thamasart uniThamasart uni
Thamasart uni
 
Sakanan nuclear power_plants
Sakanan nuclear power_plantsSakanan nuclear power_plants
Sakanan nuclear power_plants
 

สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมการดื่มสุรา

  • 1. รายงาน เรื่อง วิจยพฤติกรรมผู้บริโภคพฤติกรรมการดืมสุ รา ั ่ เสนอ อาจารย์ วจนะ ภูผานี จัดทาโดย นาย ฉัตรมงคล อริยพัฒนพร 54010911166 MK 543 นาย ณัฐพงษ์ ธนาสดใส 54010911112 MK 543 นาย สุ จินดา กุดตังวัฒนา 54010911193 MK 543 นาย วสุ พุทธรักษ์ 54010911133 MK 543 นาย คชา ไชยศิวามงคล 54010911163 MK 543 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะการบัญชีและการจัดการ
  • 2. คานา การวิจยสถาบันเรื่ องพฤติกรรมการดื่มสุ ราของนักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ปีการศึกษา ั 2551 มีความสาคัญและเป็ นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนและกาหนดแนวทางในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการ ดื่มสุ ราของนักศึกษาคณะผูวจยหวังเป็ นอย่างยิงว่างานวิจยสถาบันฉบับนี้จะเป็ นประโยชน์ต่อการวางแผนการ ้ิั ่ ั รณรงค์และกาหนดแนวทางในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดื่มสุ ราของนักศึกษา เพื่อให้พฤติกรรมการดื่มสุ รา ของนักศึกษา การประกอบการของผูประกอบการ หรื อแม้กระทังมาตรการของมหาวิทยาลัย ได้ปฏิบติอยูภายใต้ ้ ่ ั ่ กฎหมายบ้านเมืองต่อไป คณะผูจดทา ้ั
  • 3. สารบัญ เรื่อง หน้ า 1. ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา…………………. 1-3 2. ประชาชนและกลุ่มตัวอย่าง………………………. 4-7 3.สรุ ป - ผลการวิจย….................. ั 8-9 -อภิปรายผล…….…………….. 9-10 - และข้อเสนอแนะ…………………….. 10-11
  • 4. สรุ ปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค งานวิจัยทีใช้ เลือกเป็ นกรณีศึกษา ่ พฤติกรรมการดื่มสุ ราของนักศึกษา มหาวิยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี นายสุ ทธิรักษ์ ไชยรักษ์ และคณะ ความเป็ นมาและความสาคัญ เครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ได้ก่อให้เกิดปั ญหาด้านสุ ขภาพ ครอบครัว อุบติเหตุและอาชญากรรมซึ่ งกระทบต่อสังคม ั และเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ ดังคากล่าวของนายเซอร์ เบอร์ นาร์ ด อิแฮมอดีตโฆษกรัฐบาลสมัย ่ นายกรัฐมนตรี มาร์กาเร็ ต แชดเชอร์ ประเทศอังกฤษ ระบุวา “ความมัวเมาในการดื่มสุ รา รวมถึงความรุ นแรง ในหมู่วยรุ่ น สะท้อนถึงภาวะตกต่าด้านบรรทัดฐานและระเบียบวินย” (กันยาภรณ์ เผือกวิสุทธิ์ , 2552) ั ั รัฐบาลจึงได้ออกพระราชบัญญัติควบคุมเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551 มีผลตั้งแต่วนที่ 14 กุมภาพันธ์ ั 2551 โดยมีสาระสาคัญในมาตรา 31 ข้อที่ 4 ห้ามมิให้ผใดบริ โภคเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ในสถานศึกษาตาม ู้ กฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่ งชาติและห้ามขายเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ในสถานศึกษาตามกฎหมายว่าด้วย การศึกษาแห่งชาติ ตามมาตราที่ 27 ข้อที่ 5 และห้ามมิให้ขายเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์แก่บุคคลที่มีอายุต่ากว่า 20 ปี บริ บูรณ์ ตามมาตรา 29 (ราชกิจจานุ เบกษา, 2551) ทั้งนี้เพื่อเป็ นการควบคุมเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ ลด ปั ญหาและผลกระทบทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม ช่วยเสริ มสร้างสุ ขภาพของประชาชน สร้างความตระหนักถึง พิษภัยของเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์และป้ องกันเด็กและเยาวชน มิให้เข้าถึงเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ โดยง่ายผลกระทบ ที่เกิดจากการดื่มเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ นอกจากปั ญหาทางด้านร่ างกาย ซึ่ งก็คือมีผลต่อตับ ทาให้เป็ นโรคตับแข็ง มะเร็ งตับ หรื อผลต่อหัวใจ ฯลฯ แล้ว อันตรายที่หลายคนอาจจะไม่นึกถึงก็คือผลต่อโรคทางจิตประสาท ซึ่ งก็ ส่ งผลกระทบต่อร่ างกายอย่างมากมายมหาศาลได้เช่นกัน(กรมสุ ขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุ ข, ม.ป.ป.) ซึ่ง สอดคล้องกับ แพทย์หญิงหทัยชนนี บุญเจริ ญ(ม.ป.ป.) กล่าวว่า ผลกระทบที่เกิดจากเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ คือ อารมณ์และพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงอารมณ์เปลี่ยนแปลงง่ายพฤติกรรมเปลี่ยนแปลง การตัดสิ นใจและการ ควบคุมตัวเองไม่ดี มีปัญหาการนอน โดยเฉพาะภายหลังการดื่มเหล้ามีพฤติกรรมหรื อสภาพจิตใจเปลี่ยนแปลง อย่างไม่เหมาะสม เช่น มีพฤติกรรมทางเพศหรื อก้าวร้าวอย่างไม่เหมาะสม อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย การตัดสิ นใจไม่ดี ไม่สามารถเข้าสังคมหรื อทางานได้ นอกจากนี้ผลกระทบที่ส่งผลต่อการเรี ยนคือ 1.) ความบกพร่ องทางสติปัญญาและการเคลื่อนไหว จะเกิดขึ้นหลังจากการดื่มในแต่ละครั้ง ซึ่ งจะขึ้นอยูกบ ่ ั ปริ มาณการดื่มในครั้งนั้นๆ ด้วย 2.) ความจาเสื่ อมแบบไปข้างหน้า หลังการดื่มในปริ มาณมากๆ เซลล์สมอง ถูกทาลายเนื่องจากการใช้แอลกอฮอล์ 3.) ความบกพร่ องด้านความจา ซึ่งรู ปแบบที่รุนแรงที่สุดคือ ั Korsakoff syndrome มีความสัมพันธ์กบการขาด ไธอามีน ร่ วมกับการได้รับพิษจากแอลกอฮอล์ โดย จะมีอาการความจาเสื่ อมในระยะสั้น แต่จะรักษาความจาระยะยาวและการคิดย้อนอดีตได้ดีกว่า 4.) อาการ ผิดปกติที่สมองส่ วนหน้า ทาให้เกิดความบกพร่ องในด้านการคิดรวบยอดการวางแผน และการจัดระบบ
  • 5. 5.) การฝ่ อของสมองส่ วนซี รีเบลลัม ทาให้เกิดการเดินเซ ทรงตัวได้ไม่ดี 6) ภาวะเลือดใต้เยือหุมสมอง ทั้ง ่ ่ ้ เฉี ยบพลันและเรื้ อรัง อาจเกิดหลังจากมีอุบติเหตุที่ศีรษะซึ่ งอาจถูกมองข้ามไปเนื่องจากการได้รับพิษจาก ั แอลกอฮอล์ (กรมสุ ขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุ ข,ม.ป.ป.) ส่ วนผลกระทบที่ส่งผลต่อเศรษฐกิจคือค่าใช้จ่าย ที่เพิ่มขึ้นจากการดื่มสุ ราในแต่ละครั้ง ดังนิรัติยา ใจเสี ยง และคณะ (2549) ได้ศึกษาพฤติกรรมการบริ โภค เครื่ องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่างเป็ นนักศึกษาระดับปริ ญญาตรี จานวน 500 คน ผลการสารวจพบว่านักศึกษาที่ดื่มเครื่ องดื่มที่มีแอลกอฮอล์เสี ยค่าใช้จ่ายในการดื่มเฉลี่ยแต่ละ ครั้งคนละ 218 บาท ซึ่ งสอดคล้องกับแสงหล้า อินทจักร์ (ม.ป.ป.) โดยข้อมูลวิจยปั ญหาสุ ราชี้ชดว่า สุ ราคือ ั ั ที่มาของความยากจน ผูมีรายได้นอยจะใช้รายได้ที่ตวเองหามาได้ไปกับการดื่มเหล้าเป็ นสัดส่ วนที่สูงกว่า ้ ้ ั ผูมีรายได้มาก โดยผูมีรายได้นอยกว่า 2,000 บาทต่อเดือน จ่ายเพื่อดื่ม 100 บาท ต่อเดือน แม้ตวเลขไม่สูงฃ ้ ้ ้ ั นักแต่คิดเป็ นถึงร้อยละ 10.0 ของรายได้ หากเทียบกับผูมีรายได้ 20,000 บาทต่อเดือน ที่มีค่าใช้จ่ายในกา ้ ดื่ม 415 บาท ต่อเดือน หรื อ ร้อยละ 0.9 ของรายได้ ก็ถือว่าใช้จ่ายเกินตัวไปกับการดื่มมากกว่าถึง 11 เท่า นอกจากนี้การดื่มเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ยงส่ งผลกระทบต่อสังคมโดยผลที่เกิดขึ้นในทันทีของการดื่ม ผลักดันให้ ั ก่อความรุ นแรงคือ การไปกดการทางานของสมองโดยเฉพาะกับส่ วนที่ควบคุมความรู ้สึกผิดชอบชัวดี ทาให้ ่ สมองส่ วนอื่นเพิ่มอิทธิ พลต่อความคิดและพฤติกรรม ส่ งผลให้ผดื่มขาดความยับยั้งชังใจดังเช่นที่มีในภาวะปกติ ู้ ่ มหาวิทยาลัยได้มีขอบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ว่าด้วยวินยนักศึกษา พ.ศ. 2536 และประกาศ ้ ั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี เรื่ อง แนวทางการพิจารณาโทษนักศึกษาผูกระทาผิดวินยนักศึกษา เมื่อวันที่ 30 ้ ั มีนาคม 2548 (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี , 2551) หมวด 6 ความผิดเกี่ยวกับการเสพสุ ราหรื อของมึน เมา ข้อ 16. กล่าวคือนักศึกษาผูใดเสพสุ ราหรื อของมึนเมาอย่างใดๆ ภายในมหาวิทยาลัยจะถูกพิจารณาตัด ้ คะแนนความประพฤติระหว่าง 10 - 50 คะแนน (ตักเตือนเป็ นลายลักษณ์อกษร ถึง ภาคทัณฑ์ตลอดสภาพ ั นักศึกษา) ข้อ 17. นักศึกษาผูใดเสพสุ ราหรื อของมึนเมาอย่างใด ๆ จนเป็ นเหตุให้ผอื่นเดือดร้อนราคาญจะถูก ้ ู้ พิจารณาตัดคะแนนความประพฤติระหว่าง51 - 60 คะแนน (พักการศึกษา 1 ภาคการศึกษา) และข้อ 18. นักศึกษาผูใดเสพสุ ราหรื อของมึนเมาอย่างใด ๆ จนเป็ นเหตุให้เสื่ อมเสี ยชื่อเสี ยงของตนเองของนักศึกษาอื่น ้ และหรื อของมหาวิทยาลัยโดยรวม จะถูกพิจารณาตัดคะแนนความประพฤติระหว่าง 51 – 99 คะแนน (พัก การศึกษา 1 ภาคการศึกษา ถึง พักการศึกษา 3 ภาคการศึกษา) กอปรกับประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี เรื่ องการเสพของมึนเมา การอยูร่วมในวงเสพของมึนเมาหรื อ ่ การมีของมึนเมาไว้ในครอบครองในเขตมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2551 โดยมีมาตรการกาลงโทษ ที่รุนแรงคือพักการศึกษา 1ภาคการศึกษา เป็ นต้นไป (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี , 2551)ในปี การศึกษา 2550 นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ถูกลงโทษทางด้านวินกนักศึกษา จานวน 327 คน ในจานวน ั นี้มีการกระทาผิดที่เกี่ยวกับสุ รา จานวน 64 คน คิดเป็ น ร้อยละ19.5 ของการกระทาผิดทั้งหมด และถูก มหาวิทยาลัยสั่งลงโทษในกรณี ความผิดที่เกี่ยวกับสุ ราให้พกการศึกษา จานวน 13 คน และภาคทัณฑ์ตลอด ั สภาพการศึกษา จานวน 38 คน
  • 6. (งานวินยนักศึกษาและการทหาร ส่ วนกิจการนักศึกษา มหาวิทยาลัเทคโนโลยีสุรนารี , 2551) จากกรวบรวม ั ่ ข้อมูล เอกสาร จะเห็นได้วายังมีนกศึกษาของมหาวิทยาลัยที่ไม่ได้ปฏิบติตามพระราชบัญญัติและข้อบังคับขอ ั ั มหาวิทยาลัย ซึ่ งส่ งผลกระทบต่อการเรี ยนของนักศึกษา ทาให้ผวจยเล็งเห็นความสาคัญของการทาวิจยเรื่ อง ู้ ิ ั ั พฤติกรรมการดื่มสุ ราของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี เพื่อนาผลที่ได้จากการวิจยในครั้งนี้ไปใช้ ั ประโยชน์ต่อการวางแผนรณรงค์ และป้ องกันการดื่มสุ ราในมหาวิทยาลัยต่อไป
  • 7. ประชาชนและกลุ่มตัวอย่ าง ประชากรที่ใช้ในการวิจยครั้งนี้คือ นักศึกษาระดับปริ ญญาตรี มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารี ั ปี การศึกษาที่ 2551 ซึ่ งมีจานวนทั้งสิ้ น 8,750 คน กลุ่มตัวอย่าง กาหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจย ดาเนินการโดยใช้วธีคานวณ ั ิ แสดงการเทียบบัญญัติไตรยางศ์เลือกกลุ่มตัวอย่าง สานักวิชา ประชากร กลุ่มตัวอย่ าง ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม 1. สานักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ 3,691 2,243 5,934 1 62 98 260 2. สานักวิชาวิทยาศาสตร์ 63 37 100 3 2 5 3. สานักวิชาเทคโนโลยีสังคม 280 833 1,113 12 37 49 4. สานักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร 206 588 794 9 26 35 5. สานักวิชาแพทยศาสตร์ 146 663 809 6 29 35 รวม 4,386 4,364 8,750 192 192 384 แล้วใช้วธีสุ่มเลือกนักศึกษาโดยสุ่ มอย่างง่าย ิ แสดงข้อมูลพื้นฐานของผูตอบแบบสอบถาม ้ ข้ อมูลเบืองต้ น ้ จานวน ร้ อยละ เพศ ชาย 192 50.0 หญิง 192 50.0 รวม 384 100.0 นักศึกษาชั้นปี ที่ ชั้นปี ที่ 1 107 27.9 ชั้นปี ที่ 2 149 38.8 ชั้นปี ที่ 3 88 22.9 ชั้นปี ที่ 4 40 10.4 รวม 384 100.0
  • 8. ข้ อมูลเบืองต้ น ้ จานวน ร้ อยละ สานักวิชา วิศวกรรมศาสตร์ 260 67.7 เทคโนโลยีการเกษตร 35 9.1 เทคโนโลยีสังคม 49 12.8 แพทยศาสตร์ 35 9.1 วิทยาศาสตร์ 5 1.3 รวม 384 100.0 ่ จากตารางที่ 3 จะเห็นได้วานักศึกษาที่มีพฤติกรรมดื่มสุ ราเพศชายและเพศหญิงมีสดส่ วน เท่ากันั (ร้อยละ 50) ชั้นปี ที่ศึกษามากที่สุดคือชั้นปี ที่ 2 (ร้อยละ 38.8) รองลงมาคือชั้นปี ที่ 1 (ร้อยละ 27.9) และน้อยที่สุด คือชั้นปี ที่ 4 (ร้อยละ 10.4) การสังกัดสานักวิชามากที่สุดคือสานักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ (ร้อยละ 67.7) รองลงมา คือสานักวิชาเทคโนโลยีสังคม (ร้อยละ 12.8) และน้อย ที่สุดคือสานักวิชาวิทยาศาสตร์ (ร้อยละ 1.3) ส่ วนการมี พฤติกรรมการดื่มสุ ราเลือกเฉพาะผูที่ดื่มสุ รา (ร้อยละ 100.0) ้ ผลการวิจัย ผลการวิจยจะนาเสนอตามลาดับ ดังนี้ ั 1. ผลการวิเคราะห์ขอมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการดื่มสุ ราของนักศึกษามหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารี ปี ้ การศึกษา 2551 2. ผลการวิเคราะห์ขอมูลเกี่ยวกับการศึกษาความเป็ นอิสระในการจัดจาแนกพฤติกรรมการ ดื่มสุ ราของ ้ นักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ระหว่างสานักวิชา รายละเอียดผลการวิจย ดังนี้ ั 1. ผลการวิเคราะห์ ข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการดื่มสุ ราของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ร้อยละของนักศึกษาที่ดื่มสุ รา จาแนกตามช่วงอายุของการดื่มสุ ราครั้งแรก ช่ วงอายุการดื่มสุ ราครั้ งแรก จานวน ร้ อยละ 16-18 ปี 119 31.0 19-21 ปี 117 30.5 13-15 ปี 33 22.4 21 ปี ขึ้นไป 86 8.6 10-12 ปี 18 4.7 ต่ากว่า 10 ปี 11 2.9 รวม 384 100.0
  • 9. พบว่า นักศึกษาดื่มสุ ราครั้งแรกมากที่สุดในช่วงอายุ 16-18 ปี (ร้อยละ 31.0) รองลงมาคือ ช่วงอายุ 19-21 ปี (ร้อยละ 30.5) ร้อยละของนักศึกษาที่ดื่มสุ รา จาแนกตามชนิดของสุ ราที่ดื่มครั้งแรก ชนิดของสุ ราทีด่มครั้งแรก ่ ื จานวน ร้ อยละ เบียร์ 154 40.1 เหล้า 116 30.2 สปาย 55 14.3 เหล้าปั่ น 17 4.4 เหล้าขาว 12 3.1 สุ ราพื้นบ้าน เช่นสาโท/อุ ฯ 11 2.9 ไวน์ 11 2.9 เหล้าขาวผสมน้ าแดง 6 1.6 เหล้ายาดอง 2 0.5 รวม 384 100.0 พบว่า นักศึกษาดื่มเบียร์ ในครั้งแรกมากที่สุด (ร้อยละ 40.1) รองลงมาคือดื่ม เหล้า (ร้อยละ 30.2) ร้อยละของนักศึกษาที่ดื่มสุ รา จาแนกตามผูที่ร่วมดื่มสุ ราในครั้งแรก ้ ผู้ทร่วมดื่มสุ ราครั้งแรก ี่ จานวน (ครั้ ง) ร้ อยละ ดื่มกับเพื่อน 295 65.7 ดื่มกับรุ่ นพี่/รุ่ นน้อง 86 19.2 ดื่มคนเดียว 32 7.1 ดื่มกับพ่อแม่/ครอบครัว 31 6.9 อื่น ๆ เช่น แฟน เป็ นต้น 5 1.1 รวม 449 100.0 พบว่า ผูที่ร่วมดื่มสุ ราในครั้งแรกดื่มกับเพื่อนมากที่สุด (ร้อยละ 65.7) รองลงมาคือ ดื่มกับรุ่ นพี่/รุ่ นน้อง ้ (ร้อยละ 19.2)
  • 10. ร้อยละของนักศึกษาที่ดื่มสุ รา จาแนกตามชนิดของสุ ราที่ดื่มปัจจุบน ั ชนิดของสุ ราทีด่มปัจจุบัน ่ ื จานวน (ครั้ ง) ร้ อยละ เบียร์ 288 27.9 เหล้า 239 23.1 เหล้าปั่ น 125 12.1 สปาย 113 10.9 ไวน์ 69 6.7 เหล้าขาว 61 5.9 เหล้ายาดอง 47 4.5 เหล้าขาวผสมน้ าแดง 45 4.6 สุ ราพื้นบ้าน เช่นสาโท/อุ ฯ 39 3.8 อื่น ๆ 7 0.7 รวม 1,033 100.0 พบว่า ชนิดของสุ ราที่นกศึกษาดื่มปัจจุบนดื่มเบียร์มากที่สุด (ร้อยละ 27.9) รองลงมาคือ ดื่มเหล้า (ร้อย ั ั ละ 23.1) ร้อยละของนักศึกษาที่ดื่มสุ รา จาแนกตามการดื่มสุ ราในอนาคต การดื่มสุ ราในอนาคต จานวน ร้ อยละ เหมือนเดิม 169 44.0 ลดลง 143 37.2 ไม่ดื่มเลย 35 9.1 เพิ่มขึ้น 20 5.2 อื่น ๆ 17 4.4 รวม 384 100.0 พบว่า การดื่มสุ ราในอนาคตจะดื่มเหมือนเดิมมากที่สุด (ร้อยละ 44.0) รองลงมาคือ ดื่มลดลง (ร้อยละ 37.2)
  • 11. สรุ ปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ จากผลการวิเคราะห์ พฤติกรรมการดื่มสุ ราของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ปี การศึกษา 2551 โดยมีเป้ าหมายเป็ นนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ระดับปริ ญญาตรี ที่มี ประสบการณ์ในการดื่ม สุ รา จานวน 384 คน ผลการวิเคราะห์ขอมูลประกอบด้วยพฤติกรรมการดื่ม สุ ราของนักศึกษามหาวิทยาลัย ้ เทคโนโลยีสุรนารี และการศึกษาความเป็ นอิสระในการจัดจาแนก พฤติกรรมการดื่มสุ ราของนักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ระหว่างสานักวิชา สามารถสรุ ป ผลการวิจย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะดังนี้ ั 1. สรุ ปผลการวิจัย จากผลการวิเคราะห์พฤติกรรมการดื่มสุ ราของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ปี การศึกษา 2551 สรุ ปผลการวิจย ดังนี้ ั 1.1 มูลเหตุและแรงจูงใจในการดื่มสุ ราของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ผลการวิจยปรากฏ ั ว่าสาเหตุของการดื่มสุ ราของนักศึกษาเพราะต้องการเข้าสังคมมากเป็ นอันดับ 1 อันดับ 2 คือเพื่อนชวนดื่มและ อันดับ 3 คือคลายเครี ยด 1.2 พฤติกรรมการดื่มสุ ราของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ผลการวิจยปรากฏว่า (1) การดื่ม ั สุ ราในครั้งแรกส่ วนใหญ่อายุที่ดื่มคือช่วงอายุ 16-18 ปี โดยมีสุราที่ดื่มในครั้งแรกคือ เบียร์รองลงมาคือเหล้า ครั้ง แรกจะดื่มกับเพื่อน ส่ วนเมื่อเข้าเรี ยนในมหาวิทยาลัยดื่มครั้งแรกในงาน เทศกาลรื่ นเริ งต่าง ๆ ในปั จจุบนส่ วน ั ใหญ่จะดื่มสุ รา 1-2 ครั้ง/เดือน ช่วงเวลาที่ดื่มคือหลังสอบเสร็ จ โดยมีการดื่มสุ ราที่ผบ บาร์ เธค ส่ วนใหญ่จะดื่ม ั กับเพื่อน กิจกรรมที่ทาคือการพูดคุยกันเป็ นส่ วน ใหญ่ รองลงมาคือการฟังเพลง และการร้องเพลง ตามลาดับ ปริ มาณการดื่มแต่ละครั้งจะดื่มหนึ่ง กลม/ขวด รองลงมาคือ 3-4 แก้ว ส่ วนใหญ่จะไม่ดื่มในมหาวิทยาลัย (ร้อยละ 76.8) และสถานที่ใช้ เป็ นที่ดื่มสุ ราในมหาวิทยาลัยมากที่สุดคือหอพักนักศึกษา (ร้อยละ 9.2) (2) สาหรับ ่ ค่าใช้จายในการ ซื้ อสุ รา จะใช้เงินเก็บของตนเองมากที่สุด รองลงมาคือเงินจากพ่อ แม่ ผูปกครอง ส่ วนใหญ่จะ ้ เสี ย ค่าใช้จ่ายในการดื่ม 100-200 บาท/ครั้ง (ร้อยละ 58.9) และบางส่ วนเสี ยค่าใช้จ่ายมากกว่า 500 บาท/ ครั้ง (ร้อยละ 6.3) (3) ผลกระทบต่อนักศึกษา ส่ วนใหญ่จะใช้เวลาในการดื่มเฉลี่ย 3-4 ชัวโมง/ครั้ง ขณะดื่มสุ ราพบเห็น ่ การทะเลาะวิวาทเป็ นส่ วนใหญ่ ถึงแม้ส่วนมากจะไม่มีการใช้สารเสพติด แต่ก็มี บางส่ วนที่สูบบุหรี่ (ร้อยละ 25.6) ในอนาคตนักศึกษาส่ วนใหญ่จะยังดื่มสุ ราเหมือนเดิม การดื่มสุ รา จะไม่ส่งผลกระทบกับผลการเรี ยน และ นักศึกษาเคยประสบอุบติเหตุหลังการดื่มสุ รา (ร้อยละ 19.0) ั 1.3 ผลการวิเคราะห์ขอมูลเกี่ยวกับการศึกษาความเป็ นอิสระในการจัดจาแนกพฤติกรรม การดื่มสุ ราของ ้ นักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ระหว่างสานักวิชา ผลการวิจยปรากฏว่า นักศึกษาสานักวิชา ั วิศวกรรมศาสตร์ สานักวิชาเทคโนโลยีสังคม สานักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร สานักวิชาแพทยศาสตร์ และ สานักวิชาวิทยาศาสตร์ มีพฤติกรรมการดื่มสุ ราไม่แตกต่างกัน ยกเว้น ในเรื่ องอายุที่ดื่มสุ ราในครั้งแรก ชนิดของ สุ ราที่ดื่มในครั้งแรก ดื่มสุ ราบ่อยแค่ไหนในปั จจุบนสถานที่ในการดื่มสุ ราในปั จจุบน และการพบเหตุการณ์ ั ั ทะเลาะวิวาทระหว่างการดื่มสุ รา มีความแตกต่างกันอย่างมีนยสาคัญทางสถิติ ั
  • 12. 2. อภิปรายผล จากสรุ ปผลการวิจยที่นาเสนอข้างต้น ประเด็นสาคัญของการวิจยครั้งนี้ คือ มูลเหตุ แรงจูงใจ พฤติกรรม ั ั และการศึกษาความเป็ นอิสระในการจัดจาแนกพฤติกรรม สามารถอภิปราย ผลได้ดงนี้ ั 2.1 มูลเหตุและแรงจูงใจในการดื่มสุ ราของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี เพราะ ต้องการเข้า สังคมมากที่สุด ทั้งนี้อาจเป็ นเพราะนักศึกษาได้มาเรี ยนรู ้และดาเนินชีวตห่างจาก ครอบครัว ผูปกครอง ซึ่งเป็ นผู้ ิ ้ ่ คอยแนะนาตักเตือนและให้คาปรึ กษาเรื่ องต่าง ๆ เมื่อมาอยูหอพักสภาพแวดล้อมเปลี่ยนไปสังคมเปลี่ยนไป นักศึกษาจึงต้องตัดสิ นใจเรื่ องต่าง ๆ ด้วยตัวเองจึงขาดการยั้งคิด การมาอยูรวมกันกับกลุ่มเพื่อนจึงมีอิทธิ พลมาก ่ ขึ้น ดังนั้นเมื่อเกิดการรวมกลุ่มจึงทาให้นกศึกษามีโอกาสในการดื่มสุ รามากขึ้น ซึ่ งสอดคล้องกับงานวิจยของศิ ั ั ริ นทิพย์ มีสุขอาไพรัสมี(2545) ที่พบว่าสังคมปั จจุบนมักจะให้เหตุผลในการดื่มสุ ราเพราะต้องการเข้าสังคม จะ ั เห็นว่าการ ดื่มสุ ราเป็ นเรื่ องปกติในสังคม เป็ นสิ่ งที่สังคมยอมรับในปั จจุบน ทั้ง ๆ ที่การดื่มสุ รามีผลกระทบอย่าง ั มากดังผลวิจยที่พบว่าในระหว่างดื่มสุ ราพบเห็นการทะเลาะวิวาทมากที่สุด (ร้อยละ 68.2) และหลังการดื่มสุ รายัง ั ั เกิดอุบติเหตุกบตนเอง (ร้อยละ 19.0) ั 2.2 สถานที่ใช้เป็ นที่ดื่มสุ ราส่ วนใหญ่จะไม่ดื่มในมหาวิทยาลัยจะเป็ นตามผับ บาร์ เธค และจะดื่มกับ เพื่อนมากที่สุด ซึ่ งสอดคล้องกับงานวิจยของชลธิ ชา โรจนแสง (2550) ที่พบว่านักศึกษา ชอบดื่มสุ รากับเพื่อนที่ ั ผับหรื อเธค ข้อค้นพบนี้นบว่าเป็ นข้อที่เน้นย้าว่านักศึกษามีการดื่มสุ ราตามร้านที่มีการจาหน่ายสุ ราโดยเฉพาะ ไม่ ั เข้ามาดื่มสุ ราในมหาวิทยาลัย เพราะในมหาวิทยาลัยเองโดยเฉพาะในหอพักนักศึกษามีกฏ ระเบียบ ข้อบังคับ ที่ เข้มงวดในเรื่ องนี้มาก ดังประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี เรื่ อง การเสพของมึนเมา การอยูร่วมในวงเสพ ่ ของมึนเมาหรื อการมีของมึนเมาไว้ในครอบครองในเขตมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2551 โดยมี มาตรการการลงโทษที่รุนแรงคือพักการศึกษา 1 ภาคการศึกษา เป็ นต้นไป (ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี สุ ร นารี , 2551) ทั้งนี้จากมาตรการและการลงโทษที่รุนแรงจึงทาให้นกศึกษาตระหนักถึงการ ลงโทษที่รุนแรงซึ่งเป็ น ั ผลมาจากการดื่มสุ ราในมหาวิทยาลัย แต่ก็มีนกศึกษาบางส่ วนที่ใช้หอพัก นักศึกษาเป็ นสถานที่ในการดื่มสุ ราอยู่ ั ก็นบว่าน่าเป็ นห่วงนักศึกษากลุ่มนี้เหมือนกัน ั 2.3 ค่าใช้จ่ายในการซื้ อสุ รา จะใช้เงินเก็บของตนเองและเสี ยค่าใช้จ่ายในการดื่ม 100-200 บาท/ครั้ง ซึ่ง สอดคล้องกับงานวิจยของชลธิ ชา โรจนแสง (2550) ที่พบว่าในแต่ละครั้งของการดื่ม สุ ราจะมีค่าใช้จ่ายประมาณ ั 100-200 บาท โดยเงินที่ใช้ในการดื่มสุ ราเป็ นเงินส่ วนตัวที่เก็บสะสมไว้ และ นิรัติยา ใจเสี ยง และคณะ (2549) พบว่า นักศึกษาที่ดื่มเครื่ องดื่มที่มีแอลกอฮอล์เสี ยค่าใช้จ่ายในการดื่มเฉลี่ยแต่ละครั้งคนละ 218 บาท 2.4 ผลกระทบต่อนักศึกษา ส่ วนใหญ่จะใช้เวลาในการดื่มเฉลี่ย 3-4 ชัวโมง/ครั้ง และจะดื่ม 1-2 ครั้ง/ ่ เดือน แล้วส่ วนมากหลังจากดื่มแล้วจะกลับไปนอน ข้อค้นพบนี้จะชี้ให้เห็นว่าเวลาที่นกศึกษาใช้ในการดื่มสุ ราจะ ั มาทดแทนเวลาที่ควรใช้เพื่ออ่านหนังสื อ ทบทวนวิชาเรี ยน หรื อการทา การบ้านเพื่อส่ งอาจารย์ โดยใน ขณะเดียวกันการดื่มสุ รายังพบเห็นการทะเลาะวิวาทกันด้วย เพราะ การดื่มสุ ราผลักดันให้ก่อความรุ นแรงขึ้น กล่าวคือการไปกดการทางานของสมอง โดยเฉพาะกับ ส่ วนที่ควบคุมความรู ้สึกผิดชอบชัวดี ทาให้สมองส่ วนอื่น ่
  • 13. เพิ่มอิทธิ พลต่อความคิดและพฤติกรรม ส่ งผลให้ผดื่มขาดความยับยั้งชังใจดังเช่นที่มีในภาวะปกติ (แสงหล้า ู้ ่ อินทจักร์ , ม.ป.ป.) 2.5 การดื่มสุ ราในอนาคตนักศึกษาส่ วนใหญ่จะยังดื่มสุ ราเหมือนเดิมและการดื่มสุ ราจะไม่ ส่ งผลกระทบ กับผลการเรี ยน (ร้อยละ 71.4) ซึ่ งสอดคล้องกับงานวิจยของชลธิ ชา โรจนแสง (2550) ที่พบว่าการดื่มสุ ราไม่มี ั ผลกระทบต่อการเรี ยน และในอนาคตก็ยงคงดื่มสุ ราเป็ นบางครั้งบางคราว ต่อไป และสอดคล้องกับงานวิจยของ ั ั อ้อยทิพย์ ถานันตะ (2550) ที่พบว่านักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นมีทศนคติในทางบวกต่อการดื่มสุ รา เป็ นข้อ ั ั ค้นพบที่ถือว่าตอกย้าให้กบสังคมปั ญญาชนว่านักศึกษาทุกวันนี้ถือว่าการดื่มสุ ราเป็ นเรื่ องที่ถูกต้อง เหมาะสม ทั้ง ๆ ที่การดื่มสุ ราส่ งผลกระทบในทุก ๆ ด้าน เช่น ด้านร่ างกายมีผลต่อตับ ทาให้เป็ นโรคตับแข็ง มะเร็ งตับ หรื อผล ต่อหัวใจ ผลต่อโรคทางจิตประสาท ด้านการเรี ยนมีผลกระทบต่อความบกพร่ องทางสติปัญญาและการ เคลื่อนไหว ความจาเสื่ อมแบบไปข้างหน้า ความบกพร่ องด้านความจา อาการผิดปกติที่สมองส่ วนหน้า ทาให้เกิด ความบกพร่ องในด้านการคิดรวบยอด การวางแผน และการจัดระบบ การฝ่ อของ สมองส่ วนซี รีเบลลัมทาให้เกิด ่ การเดินเซ ทรงตัวได้ไม่ดี และภาวะเลือดใต้เยื่อหุมสมอง ทั้งเฉี ยบพลันและเรื้ อรัง เนื่องจากการได้รับพิษจา ้ แอลกอฮอล์ (กรมสุ ขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุ ข,ม.ป.ป.) ทั้งนี้คณะผูวจยเห็นว่าสาเหตุที่นกศึกษาไม่ตระหนัก ้ิั ั ถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นกับการเรี ยนนั้นน่าจะเกิดจากสังคมของนักศึกษาเองที่มีการใช้ชีวิตที่มีความใกล้ชิดกันและ มีความสนิทสนมกันมากระหว่างนักศึกษาด้วยกันหรื อกับรุ่ นพี่และรุ่ นน้อง ดังผลการวิจยที่พบว่าผูที่ร่วมดื่มสุ ั ้ รมากที่สุดคือเพื่อน รองลงมาคือรุ่ นพี่ และรุ่ นน้องตามลาดับ 2.6 ผลการวิเคราะห์ขอมูลเกี่ยวกับการศึกษาความเป็ นอิสระในการจัดจาแนกพฤติกรรม การดื่มสุ ราของ ้ นักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ระหว่างสานักวิชา ปรากฏว่านักศึกษาสานักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สานัก วิชาเทคโนโลยีสังคม สานักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร สานักวิชาแพทยศาสตร์ และสานักวิชาวิทยาศาสตร์ ส่ วน ใหญ่มีพฤติกรรมการดื่มสุ ราไม่แตกต่างกัน ทาให้มองเห็นภาพได้วาการเรี ยนในแต่ละสานักวิชาไม่ส่งผลต่อ ่ พฤติกรรมการดื่มสุ ราของนักศึกษา ทั้งนี้อาจเป็ นเพราะว่าการใช้ชีวตของนักศึกษาในแต่ละวันจะคล้าย ๆ กันมาก ิ อย่างเช่น การเรี ยนวิชาพื้นฐานด้วยกัน สถานที่เรี ยนเดียวกัน ทานอาหารที่เดียวกัน พักอาศัยปะปนกันไม่ได้แยก ่ หอพักเป็ นสานักวิชา และหลังเลิกเรี ยนก็ใช้ชีวตเหมือน ๆ กัน ซึ่ งอยูในสังคมของมหาวิทยาลัย ิ 3. ข้ อเสนอแนะ จากผลการวิเคราะห์พฤติกรรมการดื่มสุ ราของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ปี 2551 มี ข้อเสนอแนะ ดังนี้ 3.1 ข้อเสนอแนะจากการวิจย พฤติกรรมการดื่มสุ ราเฉลี่ยครั้งละ 3- 4 ชัวโมง มากถึง 1-2 ครั้งในหนึ่ง ั ่ เดือนนั้น ย่อม กระทบต่อการใช้ชีวตประจาวันของนักศึกษาแน่นอน และที่สาคัญมีผลกระทบต่อการทบทวน ิ หรื อการอ่านหนังสื อ แต่ตวของนักศึกษาเองกลับมีความคิดว่าการดื่มสุ ราไม่กระทบต่อผลการเรี ยนของตนเอง ั และในอนาคตก็ยงจะดื่มต่อไป และที่สาคัญยิงยังพบว่าการดื่มสุ ราในแต่ละครั้งนักศึกษาพบเห็นการทะเลาะ ั ่ วิวาทด้วย ซึ่ งการทะเลาะวิวาทในขณะที่ไม่มีสติ หรื ออยูในอาการที่เมาสุ รา ครองสติไม่ได้ ก็จะนามาสู่ การทา ่ ร้ายร่ างกายกัน การไม่เข้าใจกัน อันจะนามาสู่ การแตกความสามัคคีในหมู่คณะ คณะผูวิจยเห็นว่าพฤติกรรม ้ ั
  • 14. เหล่านี้เป็ นผลกระทบต่อนักศึกษาและสถาบัน ควรใช้มาตรการด้านกฎหมายเข้ามาบังคับใช้ เช่น กฎหมายที่หาม ้ ผูที่มีอายุไม่ถึง 20 ปี บริ บูรณ์ บริ โภคเครื่ องดื่มที่ผสมแอลกอฮอล์ เป็ นต้น ้ 3.2 ข้อเสนอแนะในการวิจยครั้งต่อไปการวิจยในครั้งนี้ เป็ นงานวิจยที่ศึกษาในภาพรวมกว้าง ๆ เพื่อที่จะ ั ั ั ได้ทราบถึงพฤติกรรมของนักศึกษาในภาพรวมเท่านั้น การวิจยในครั้งต่อไปน่าที่จะมุ่งเน้นถึงการเปรี ยบเทียบ ั พฤติกรรมการดื่มสุ ราในแต่ละชั้นปี เน้นกลุ่มเป้ าหมายโดยตรงไม่วาจะเป็ นตัวนักศึกษาผูดื่มเอง ผูประกอบการ ่ ้ ้ หรื อแม้กระทังมาตรการของมหาวิทยาลัยเองว่าได้เข้มงวดหรื อบังคับใช้กฎระเบียบมากน้อยขนาดไหน ่
  • 15. อ้างอิง งานวินยนักศึกษาและการทหาร ส่ วนกิจการนักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี . (2551).สรุ ปสถิติ ั ผู้กระทาผิดวินัยนักศึกษา ปี การศึกษา 2551 ฝ่ ายทะเบียนนักศึกษา ศูนย์บริ การการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี . (2551). สถิติจานวนนักศึกษา ภาคการศึกษาที่ 3 ปี การศึกษา 2551 นภาภรณ์ เต่งแก้ว. (2543). พฤติกรรมการบริ โภคสุ รา เบียร์ และบุหรี่ ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ . รายงานการวิจย คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ั