SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
บทคัดย่อ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์วิศวกรรมของระบบคอมพิวเตอร์ที่ผ่านการออกแบบอย่างระมัดระวังขององค์กร
โดยใช้กลไกนวัตกรรมและการบูรณาการเทคนิคการซอฟแวร์เพื่อให้ได้ประสิทธิภาพการทางาน
บรรลุเป้าหมายที่ตามที่ได้ตั้งไว้
เป้าหมายที่พบมากที่สุดในสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์หมุนรอบความสมดุลระหว่างค่าใช้จ่ายและผลการดาเ
นินงาน แม้ว่าการพิจารณาอื่น ๆ เช่นขนาด, น้าหนัก, ความน่าเชื่อถือ,
ชุดคุณลักษณะที่เพิ่มขยายและการใช้พลังงานเป็นปัจจัยสาคัญเช่นกัน
บทนำ
การศึกษาการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเพื่อเป็นเกิดความรู้ในด้าน
Computer Architecture สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์
เพื่อใช้ในการออกแบบโครงสร้างของคอมพิวเตอร์รวมถึงความเข้าใจในส่วนต่างๆของคอมพิวเตอร์ว่ามีลักษ
ณะการทางานเป็นอย่างไร
พบการศึกษาพบว่า นอกจากที่ได้รู้ความหมายของ Computer
Architecture สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์
แล้วยังได้ทราบถึงความเป็นมาของคอมพิวเตอร์อีกด้วยรวมถึงส่วนประกอบต่างๆของคอมพิวเตอร์ว่าหน้าที่
ของในส่วนนั้นเป็นเช่นไร
งำนวิจัย
Architec. แบบแรกของVon Neumann
รูปแบบการดีไซน์ของ VonNeumann
กล่าวไว้ว่าการจะสร้างเครื่องจักรสาหรับคานวนและประมวลผลนั้นจะต้องมีส่วนประกอบหลักคือ
1. Computation (CA) –เป็นส่วนที่เอาไว้คานวนผลทางคณิตศาสตร์ ปัจจุบันเราเรียกมันว่า “ALU”
2. Control (CC) – เป็นส่วนควบคุมการลาดับทางานของระบบทั้งหมด ปัจจุบันเราเรียกมันว่า “CU”
3. Storage (M) – เป็นส่วนเอาไว้เก็บค่า เก็บตัวแปร
เหมือนกับกระดาษทดเวลาเราคิดเลข ปัจจุบันเราเรียกมันว่า “Memory” หรือ RAM นั่นเอง
4. Input (I) – เป็นส่วนที่เอาไว้ให้ผู้ใช้สั่งงานได้ ปัจจุบันเราเรียกรวมทั้ง Input-Output ว่า “I/O” เลย
5. Output (O) –ส่วนสาหรับแสดงผลคาตอบให้คนเห็น
จากนั้น Von Neumann ก็นาส่วนประกอบหลักทั้งหมดที่กล่าวมาข้างต้นมาประกอบกัน โดยมี
Control เป็นตัวกลางสาหรับควบคุม ซึ่งไม่ว่าข้อมูลจะไปทางไหนต้องผ่านการสั่งการโดย Control
แต่ปัจจุบันไม่ได้เป็นแบบที่กล่าวมาในข้างตน แต่มีการพัฒนาต่อคือสร้างเส้นเชื่อมระหว่าง I/Oกับ Memory
ขึ้นมาเรียกว่า DMA หรือ Direct Memory Access
สาเหตุที่ต้องเพิ่มเข้ามาก็เพราะว่าในดีไซน์ตามสถาปัตยกรรมของ Von Neumann
นั้นออกแบบมาโดยคิดว่าคอมพิวเตอร์จะทางานแบบ Single-Task หรือรันได้ทีละโปรแกรมเท่านั้น
I/O
ย่อมาจาก Input /Output คือ การนาเข้า และการแสดงผล ในวงการคอมพิวเตอร์ คาศัพท์นี้ถูกใช้เรียก
ระบบรับ และแสดงผล ของคอมพิวเตอร์ ดังนี้
1.อุปกรณ์ที่เป็นตัวช่วยในการนาข้อมูลเข้าคอมพิวเตอร์ (Input device) ซึ่งทาหน้าที่รับข้อมูลจากคน
และส่งต่อข้อมูลไปยัง หน่วยประมวลผลกลาง (CPU) ของคอมพิวเตอร์ เพื่อทาการประมวลผลต่อไป
ตัวอย่างเช่น คีย์บอร์ด (keyboard),เมาส์ (mouse),สแกนเนอร์ (scanner),ไมโครโฟน
(microphone),กล้องเว็บแคม (webcam)เป็นต้น
2.อุปกรณ์ที่เป็นตัวช่วยในการแสดงผลจากคอมพิวเตอร์สู่คน เพื่อให้คนสามารถอ่าน
หรือรับรู้ข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ได้ (Outputdevice)
ซึ่งจะทาหน้าที่แสดงผลลัพธ์ที่มาจากการประมวลผลข้อมูล ของส่วนประมวลผลข้อมูล ภายในคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างเช่น เครื่องพิมพ์ (Printer),เครื่องวาด (Plotter),จอภาพ(Monitor) , เครื่องฉายภาพ(LCD
Projector) ,ลาโพง เป็นต้น
อินพุต/เอำต์พุตฮำร์ดแวร์ คือ
โปรแกรมที่ใช้ติดต่ออุปกรณ์ต่างๆ ทางานร่วมกัน
เป็นโปรแกรมที่ใช้ควบคุมอุปกรณ์แต่ละชนิดจะมีความแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับการทางาน
อุปกรณ์อินพุต/เอำต์พุต (I/O Devices)
อุปกรณ์อินพุต/เอาต์พุต แบ่งออกเป็น 2ประเภท
1.Block Devices เป็นอุปกรณ์ที่จัดเก็บข้อมูลได้โดยทาการเก็บเป็นบล็อกเช่น ดิสก์เก็ต ฮาร์ดดิสก์ เทป
ขนาดของบล็อกประมาณ 512 ไบต์ ถึง 32,768
ไบต์ สามารถอ่าน/เขียนข้อมูลลงในแต่ละบล็อกได้โดยอิสระ อุปกรณ์ประเภทที่เป็นบล็อกจาพวกดิสก์สาม
ารถกาหนดตาแหน่งลงไปในแผ่นดิสก์ได้ ประกอบไปด้วย ไซเรนเดอร์ (Cylinder) และเซ็กเตอร์ (Sector)
-แต่ละบล็อกที่บรรจุข้อมูลภายในหัวอ่านสามารถนาข้อมูลออกมาได้
-อุปกรณ์ที่มีการแอ็กเซสโดยตรง (direct access storage device) ได้แก่ดิสก์
-ข้อมูลจะถูกจัดไว้เป็นกลุ่มในระดับบล็อกหรือเซ็กเตอร์
-แต่ละกลุ่มจะมีแอ็ดเดรสของตัวเอง
-การแอ็กเซสทาได้โดยกาหนดแอ็ดเดรสของข้อมูลกลุ่มนั้น
ซึ่งจะทาให้ทราบว่าข้อมูลกลุ่มนั้นอยู่ที่ไหน
-อุปกรณ์ที่มีการแอ็กเซสแบบลาดับ (serial access storage device) ได้แก่เทป
-ลักษณะของอุปกรณ์ประเภทนี้การแอ็กเซสจะต้องเป็นไปตามลาดับ ตั้งแต่ต้นเทป
เรียงไปจนถึงตาแหน่งที่ต้องการ
-การเก็บข้อมูลจะเก็บเป็นกลุ่มๆ ไม่มีแอ็ดเดรสของแต่ละกลุ่ม การอ่านจะต้องอ่านเข้ามาทีละกลุ่ม
2. Character Devices เป็นอุปกรณ์ที่รับข้อมูลเป็นสาย จานวนข้อมูลขึ้นอยู่กับบัฟเฟอร์ (Buffer)
ที่มีแต่ไม่สามารถกาหนดตาแหน่งของบัฟเฟอร์เหล่านี้ได้
-อุปกรณ์ประเภทนี้ได้แก่ การ์ดเน็ตเวิร์คของเครื่องพิมพ์ สแกนเนอร์
-อุปกรณ์ชนิดข้อมูลเป็นสาย (stream)
อุปกรณ์ประเภทนี้มีข้อมูลการส่งเข้าออกจะเรียงมาเป็นลาดับก่อน-หลัง
-การแบ่งแยกข้อมูลทาได้โดยตรวจสอบลาดับของข้อมูล
-เป็นอุปกรณ์ที่มีการจัดการได้ง่าย เพียงแต่จัดลาดับการรับ – ส่ง ข้อมูลที่ถูกต้อง
-อุปกรณ์ประเภทนี้ ข้อมูลที่ส่งและรับไม่ขึ้นอยู่กับลาดับการส่ง
-ต้องอาศัยข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อที่จะแยกแยะข้อมูลแต่ละตัว
-การจัดการอุปกรณ์ประเภทนี้ระบบปฏิบัติการจะต้องมีวิธีจัดการโดยเฉพาะ
ขึ้นอยู่กับลักษณะของอุปกรณ์ชนิดนั้น
บรรณำนุกรม
https://www.techopedia.com/definition/26757/computer-architecture //Computer
Architecture
http://www.mindphp.com // I/O คืออะไร
http://www.rangforever.com/office_detail.php?id_o_t=16&id=23

More Related Content

Similar to sp201

การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงานการประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน111227
 
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงานการประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน111227
 
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงานการประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน111227
 
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงานการประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน111227
 
มาตรฐาน Ieee
มาตรฐาน Ieeeมาตรฐาน Ieee
มาตรฐาน IeeePituk Sense
 
8957-Article Text-23727-26489-10-20170630.pdf
8957-Article Text-23727-26489-10-20170630.pdf8957-Article Text-23727-26489-10-20170630.pdf
8957-Article Text-23727-26489-10-20170630.pdfkhamsonez
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer projectPanidaling
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ความหมายและความสำคัญ
โครงงานคอมพิวเตอร์ ความหมายและความสำคัญโครงงานคอมพิวเตอร์ ความหมายและความสำคัญ
โครงงานคอมพิวเตอร์ ความหมายและความสำคัญWattana Kinwattanasakun
 
อาชีพทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
อาชีพทางเทคโนโลยีสารสนเทศอาชีพทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
อาชีพทางเทคโนโลยีสารสนเทศsuraruk1998
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Berlilng Cherbet
 
30879960 geospatial-system-on-cloud-computing
30879960 geospatial-system-on-cloud-computing30879960 geospatial-system-on-cloud-computing
30879960 geospatial-system-on-cloud-computingAyutthaya GIS
 
Charpter 5 3
Charpter 5 3Charpter 5 3
Charpter 5 3monnoonan
 
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซการออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
โครงงานว ชาคอมพ วเตอMร_
โครงงานว ชาคอมพ วเตอMร_โครงงานว ชาคอมพ วเตอMร_
โครงงานว ชาคอมพ วเตอMร_joyno111324
 

Similar to sp201 (20)

08
0808
08
 
08
0808
08
 
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงานการประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน
 
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงานการประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน
 
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงานการประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน
 
2
22
2
 
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงานการประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน
 
มาตรฐาน Ieee
มาตรฐาน Ieeeมาตรฐาน Ieee
มาตรฐาน Ieee
 
8957-Article Text-23727-26489-10-20170630.pdf
8957-Article Text-23727-26489-10-20170630.pdf8957-Article Text-23727-26489-10-20170630.pdf
8957-Article Text-23727-26489-10-20170630.pdf
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ความหมายและความสำคัญ
โครงงานคอมพิวเตอร์ ความหมายและความสำคัญโครงงานคอมพิวเตอร์ ความหมายและความสำคัญ
โครงงานคอมพิวเตอร์ ความหมายและความสำคัญ
 
อาชีพทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
อาชีพทางเทคโนโลยีสารสนเทศอาชีพทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
อาชีพทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Cost estimate
Cost estimateCost estimate
Cost estimate
 
08
0808
08
 
30879960 geospatial-system-on-cloud-computing
30879960 geospatial-system-on-cloud-computing30879960 geospatial-system-on-cloud-computing
30879960 geospatial-system-on-cloud-computing
 
Charpter 5 3
Charpter 5 3Charpter 5 3
Charpter 5 3
 
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซการออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
 
ICT Competency For KKU Students
ICT Competency For KKU StudentsICT Competency For KKU Students
ICT Competency For KKU Students
 
โครงงานว ชาคอมพ วเตอMร_
โครงงานว ชาคอมพ วเตอMร_โครงงานว ชาคอมพ วเตอMร_
โครงงานว ชาคอมพ วเตอMร_
 

More from pakkapon petprasit

More from pakkapon petprasit (6)

หน่วยความจำ
หน่วยความจำหน่วยความจำ
หน่วยความจำ
 
i7 kaby lake
i7 kaby lakei7 kaby lake
i7 kaby lake
 
sp210 computer organization
sp210 computer organizationsp210 computer organization
sp210 computer organization
 
Magnetic disks
Magnetic disksMagnetic disks
Magnetic disks
 
9500 gt
9500 gt9500 gt
9500 gt
 
Flashdrive
FlashdriveFlashdrive
Flashdrive
 

sp201

  • 1. บทคัดย่อ สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์วิศวกรรมของระบบคอมพิวเตอร์ที่ผ่านการออกแบบอย่างระมัดระวังขององค์กร โดยใช้กลไกนวัตกรรมและการบูรณาการเทคนิคการซอฟแวร์เพื่อให้ได้ประสิทธิภาพการทางาน บรรลุเป้าหมายที่ตามที่ได้ตั้งไว้ เป้าหมายที่พบมากที่สุดในสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์หมุนรอบความสมดุลระหว่างค่าใช้จ่ายและผลการดาเ นินงาน แม้ว่าการพิจารณาอื่น ๆ เช่นขนาด, น้าหนัก, ความน่าเชื่อถือ, ชุดคุณลักษณะที่เพิ่มขยายและการใช้พลังงานเป็นปัจจัยสาคัญเช่นกัน บทนำ การศึกษาการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเพื่อเป็นเกิดความรู้ในด้าน Computer Architecture สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ในการออกแบบโครงสร้างของคอมพิวเตอร์รวมถึงความเข้าใจในส่วนต่างๆของคอมพิวเตอร์ว่ามีลักษ ณะการทางานเป็นอย่างไร พบการศึกษาพบว่า นอกจากที่ได้รู้ความหมายของ Computer Architecture สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ แล้วยังได้ทราบถึงความเป็นมาของคอมพิวเตอร์อีกด้วยรวมถึงส่วนประกอบต่างๆของคอมพิวเตอร์ว่าหน้าที่ ของในส่วนนั้นเป็นเช่นไร งำนวิจัย Architec. แบบแรกของVon Neumann รูปแบบการดีไซน์ของ VonNeumann กล่าวไว้ว่าการจะสร้างเครื่องจักรสาหรับคานวนและประมวลผลนั้นจะต้องมีส่วนประกอบหลักคือ 1. Computation (CA) –เป็นส่วนที่เอาไว้คานวนผลทางคณิตศาสตร์ ปัจจุบันเราเรียกมันว่า “ALU” 2. Control (CC) – เป็นส่วนควบคุมการลาดับทางานของระบบทั้งหมด ปัจจุบันเราเรียกมันว่า “CU” 3. Storage (M) – เป็นส่วนเอาไว้เก็บค่า เก็บตัวแปร เหมือนกับกระดาษทดเวลาเราคิดเลข ปัจจุบันเราเรียกมันว่า “Memory” หรือ RAM นั่นเอง
  • 2. 4. Input (I) – เป็นส่วนที่เอาไว้ให้ผู้ใช้สั่งงานได้ ปัจจุบันเราเรียกรวมทั้ง Input-Output ว่า “I/O” เลย 5. Output (O) –ส่วนสาหรับแสดงผลคาตอบให้คนเห็น จากนั้น Von Neumann ก็นาส่วนประกอบหลักทั้งหมดที่กล่าวมาข้างต้นมาประกอบกัน โดยมี Control เป็นตัวกลางสาหรับควบคุม ซึ่งไม่ว่าข้อมูลจะไปทางไหนต้องผ่านการสั่งการโดย Control แต่ปัจจุบันไม่ได้เป็นแบบที่กล่าวมาในข้างตน แต่มีการพัฒนาต่อคือสร้างเส้นเชื่อมระหว่าง I/Oกับ Memory ขึ้นมาเรียกว่า DMA หรือ Direct Memory Access สาเหตุที่ต้องเพิ่มเข้ามาก็เพราะว่าในดีไซน์ตามสถาปัตยกรรมของ Von Neumann นั้นออกแบบมาโดยคิดว่าคอมพิวเตอร์จะทางานแบบ Single-Task หรือรันได้ทีละโปรแกรมเท่านั้น I/O ย่อมาจาก Input /Output คือ การนาเข้า และการแสดงผล ในวงการคอมพิวเตอร์ คาศัพท์นี้ถูกใช้เรียก ระบบรับ และแสดงผล ของคอมพิวเตอร์ ดังนี้ 1.อุปกรณ์ที่เป็นตัวช่วยในการนาข้อมูลเข้าคอมพิวเตอร์ (Input device) ซึ่งทาหน้าที่รับข้อมูลจากคน และส่งต่อข้อมูลไปยัง หน่วยประมวลผลกลาง (CPU) ของคอมพิวเตอร์ เพื่อทาการประมวลผลต่อไป ตัวอย่างเช่น คีย์บอร์ด (keyboard),เมาส์ (mouse),สแกนเนอร์ (scanner),ไมโครโฟน (microphone),กล้องเว็บแคม (webcam)เป็นต้น 2.อุปกรณ์ที่เป็นตัวช่วยในการแสดงผลจากคอมพิวเตอร์สู่คน เพื่อให้คนสามารถอ่าน หรือรับรู้ข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ได้ (Outputdevice) ซึ่งจะทาหน้าที่แสดงผลลัพธ์ที่มาจากการประมวลผลข้อมูล ของส่วนประมวลผลข้อมูล ภายในคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างเช่น เครื่องพิมพ์ (Printer),เครื่องวาด (Plotter),จอภาพ(Monitor) , เครื่องฉายภาพ(LCD Projector) ,ลาโพง เป็นต้น อินพุต/เอำต์พุตฮำร์ดแวร์ คือ โปรแกรมที่ใช้ติดต่ออุปกรณ์ต่างๆ ทางานร่วมกัน เป็นโปรแกรมที่ใช้ควบคุมอุปกรณ์แต่ละชนิดจะมีความแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับการทางาน อุปกรณ์อินพุต/เอำต์พุต (I/O Devices)
  • 3. อุปกรณ์อินพุต/เอาต์พุต แบ่งออกเป็น 2ประเภท 1.Block Devices เป็นอุปกรณ์ที่จัดเก็บข้อมูลได้โดยทาการเก็บเป็นบล็อกเช่น ดิสก์เก็ต ฮาร์ดดิสก์ เทป ขนาดของบล็อกประมาณ 512 ไบต์ ถึง 32,768 ไบต์ สามารถอ่าน/เขียนข้อมูลลงในแต่ละบล็อกได้โดยอิสระ อุปกรณ์ประเภทที่เป็นบล็อกจาพวกดิสก์สาม ารถกาหนดตาแหน่งลงไปในแผ่นดิสก์ได้ ประกอบไปด้วย ไซเรนเดอร์ (Cylinder) และเซ็กเตอร์ (Sector) -แต่ละบล็อกที่บรรจุข้อมูลภายในหัวอ่านสามารถนาข้อมูลออกมาได้ -อุปกรณ์ที่มีการแอ็กเซสโดยตรง (direct access storage device) ได้แก่ดิสก์ -ข้อมูลจะถูกจัดไว้เป็นกลุ่มในระดับบล็อกหรือเซ็กเตอร์ -แต่ละกลุ่มจะมีแอ็ดเดรสของตัวเอง -การแอ็กเซสทาได้โดยกาหนดแอ็ดเดรสของข้อมูลกลุ่มนั้น ซึ่งจะทาให้ทราบว่าข้อมูลกลุ่มนั้นอยู่ที่ไหน -อุปกรณ์ที่มีการแอ็กเซสแบบลาดับ (serial access storage device) ได้แก่เทป -ลักษณะของอุปกรณ์ประเภทนี้การแอ็กเซสจะต้องเป็นไปตามลาดับ ตั้งแต่ต้นเทป เรียงไปจนถึงตาแหน่งที่ต้องการ -การเก็บข้อมูลจะเก็บเป็นกลุ่มๆ ไม่มีแอ็ดเดรสของแต่ละกลุ่ม การอ่านจะต้องอ่านเข้ามาทีละกลุ่ม 2. Character Devices เป็นอุปกรณ์ที่รับข้อมูลเป็นสาย จานวนข้อมูลขึ้นอยู่กับบัฟเฟอร์ (Buffer) ที่มีแต่ไม่สามารถกาหนดตาแหน่งของบัฟเฟอร์เหล่านี้ได้ -อุปกรณ์ประเภทนี้ได้แก่ การ์ดเน็ตเวิร์คของเครื่องพิมพ์ สแกนเนอร์ -อุปกรณ์ชนิดข้อมูลเป็นสาย (stream) อุปกรณ์ประเภทนี้มีข้อมูลการส่งเข้าออกจะเรียงมาเป็นลาดับก่อน-หลัง -การแบ่งแยกข้อมูลทาได้โดยตรวจสอบลาดับของข้อมูล -เป็นอุปกรณ์ที่มีการจัดการได้ง่าย เพียงแต่จัดลาดับการรับ – ส่ง ข้อมูลที่ถูกต้อง -อุปกรณ์ประเภทนี้ ข้อมูลที่ส่งและรับไม่ขึ้นอยู่กับลาดับการส่ง -ต้องอาศัยข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อที่จะแยกแยะข้อมูลแต่ละตัว -การจัดการอุปกรณ์ประเภทนี้ระบบปฏิบัติการจะต้องมีวิธีจัดการโดยเฉพาะ ขึ้นอยู่กับลักษณะของอุปกรณ์ชนิดนั้น