SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ว30202                                         สมบัติเชิงกลของสาร    1
      โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

                                              สมบัติเชิงกลของสาร

                                                               ภาพสะพานที่เห็นคงเปนที่คุนตาของนักเรียน
                                                     หลายคนเพราะหากเดินทางโดยรถยนตจากกรุงเทพมหา -
                                                     นครสูโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ แนนอนวานักเรียนตอง
                                                             
                                                     เห็นสะพานพระรามแปดทีทอดยาวขามแมน้ําเจาพระยา ซึ่ง
                                                                                 ่
                                                     นับเปนสถาปตยกรรมที่มีความงดงามอีกแหงหนึ่งของ
                                                     ประเทศไทยเลยทีเดียว กอนจะเกิดความงดงามเชนนี้
                                                     วิศวกรตองใชความรูเ กี่ยวกับสมบัติเชิงกลของวัสดุทจะ
                                                                                                        ี่
                                                     นํามาเปนโครงสราง เพื่อใหไดสะพานคงทนแข็งแรง
                                                     สามารถรองรับน้ําหนักของรถทีแลนผาน รวมไปถึงตัว
                                                                                     ่
สะพานเอง ยังไมรวมถึงการสึกหรอหรือเสื่อมสภาพจากปจจัยอื่นๆ ในบทเรียนนี้นกเรียนจะไดศกษาสมบัติเชิงกล
                                                                                   ั           ึ
ของของแข็ง รวมไปถึงของเหลวซึ่งจะกลาวถึงในภายหลัง เพื่อเปนพืนฐานความรูใชในการอธิบายสมบัติตางๆ
                                                                    ้
ของสิ่งที่นกเรียนพบเห็นในชีวตประจําวัน และเปนพื้นฐานสําหรับการศึกษาดานวัสดุศาสตรในระดับที่สูงขึ้น
            ั                 ิ
        คุณสมบัตเิ ชิงกลของวัสดุ เชน ความแข็ง (Hardness) ความแข็งแรง (Strength) ความเหนียว (Ductility)
ฯลฯ เปนสิ่งทีจะบอกวาวัสดุนั้นๆ สามารถที่จะรับหรือทนทานแรง หรือพลังงานเชิงกลภายนอกทีมากระทําไดดี
              ่                                                                                  ่
มากนอยเพียงใด ในงานวิศวกรรมคุณสมบัติเชิงกลมีความสําคัญมากทีสุด เพราะเมื่อเราจะเลือกใชวสดุใดๆ ก็ตาม
                                                                      ่                            ั
สิ่งแรกทีจะนํามาพิจารณาก็คือ คุณสมบัตเิ ชิงกลของมัน การที่เครื่องจักรหรืออุปกรณใดๆ จะสามารถทํางานได
          ่
อยางปลอดภัยขึ้นอยูกับคุณสมบัติเชิงกลของวัสดุที่ใชทําเครื่องจักร อุปกรณนนๆ เปนสําคัญ
                                                                           ั้

สถานะของสาร
       จากความรูเดิม เราทราบวาสถานะของสาร มี 3 สถานะ คือ ของแข็ง ของเหลว และแกส สารที่มีสถานะ
เปนของเหลวหรือแกสบางทีเรียกรวมกันวาของไหลเพราะสารทั้งสองสถานะสามารถไหลได
       1. ของแข็ง เปนสถานะที่มรูปรางและปริมาตรคงที่ในอุณหภูมิปกติ มีรปทรงตางๆเชน กอนหิน ไม ยาง
                                    ี                                  ู
          ดินสอ เทียนไข และเหล็ก เปนตน
       2. ของเหลว เปนสถานะที่มรูปรางไมคงทีแนนอนในอุณหภูมิปกติ จะเปลี่ยนตามภาชนะที่บรรจุอยู แตมี
                                      ี         ่
          ปริมาตรคงที่ เชน น้ํา น้ํามัน ปรอท แอลกอฮอล เปนตน
       3. แกส เปนสถานะที่มรูปรางและปริมาตรไมคงที่แนนอนในอุณหภูมิปกติ มีการเปลียนแปลงอยูเสมอ
                               ี                                                   ่
          รูปรางและปริมาตรจะเหมือนกับรูปรางภาชนะที่บรรจุ เชนแกส

                                       สาขาวิชาฟสิกส โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ว30202                                               สมบัติเชิงกลของสาร    2
      โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

            ในที่นี้จะขอกลาวถึงคุณสมบัติเชิงกลของสารในสถานะของแข็ง สวนของเหลวจะกลาวถึงในลําดับ
ตอไป
1. ความเคน (Stress)
            ความเคนหมายถึง แรงตานทานภายในเนือวัสดุที่มีตอแรงภายนอกที่มากระทําตอหนึงหนวยพืนที่ แต
                                                  ้                                        ่        ้
เนื่องจากความไมเหมาะสมทางปฏิบัติ และความยากในการวัดหาคานี้ เราจึงมักจะพูดถึงความเคนในรูปของแรง
ภายนอกที่มากระทําตอหนึงหนวยพืนที่ ดวยเหตุผลที่วา แรงกระทําภายนอกมีความสมดุลกับแรงตานทานภายใน
                       ่       ้                    
                                              พิจารณาพืนทีหนาตัดดังรูปที่ 1 ซึ่งถูกแบงออกเปนพื้นทีเ่ ล็ก ๆ
                                                        ้ ่
                                              พิจารณา        ซึ่งแสดงในรูปที่ 2 พบวามีแรง      กระทําบน
                                              พื้นที่     แรงนี้เกิดจากแรงองคประกอบสองทิศทาง
                                                      คือ         และ       ซึ่งเกิดในแนวตั้งฉาก(Normal) และใน
                                                      แนวขนาน(Tangent ) ถา เปนพื้นที่เล็กๆเขาใกลศูนย
                                                      แรง มีขนาดเล็กมาก ผลหารของแรงภายในตอพื้นที่เล็กๆนี้
                                                      เรียกวา ความเคน (Stress) ซึ่งหมายถึง ความเขมของแรงภายใน
                                                      บนพื้นที่ที่แรงกระทําหรือแรงลัพธภายในตอพื้นที่หนาตัดที่
 รูปที่ 1 แรงภายนอกและแรงภายในที่กระทําตอวัตถุ
                                                      แรงกระทํา โดยความเคนแบงออกเปน 2 ประเภท ดังนี้
                                                      1. 1 ความเคนปกติ (Normal Stress)
                                                           ความเคนปกติเปนความเขมของแรง หรือแรงภายในตอ
                                                      หนวยพืนที่
                                                                ้         แรงภายในนันตองกระทําตังไดฉากกับ
                                                                                       ้            ้
                                                      พื้นที่ ใชสญลักษณ คือ ( Sigma ) สําหรับพื้นใดๆเมื่อ
                                                                  ั
                                                       ΔA → 0 จะไดวา



                                                                             dFn
                                                                       σ=
                                                                             dA
                                                      โดยกําหนดให
                                                         หมายถึง ความเคน (Stress) มีหนวยเปนปาสกาล (Pa,
       รูปที่ 2 แรงเคนปกติและแรงเคนเฉือน
                                                         1 Pa = 1N/m2) หรือ kgf/mm2 หรือ psi (lbf/in2)
                                                      F หมายถึง แรงภายนอกทีมากระทํา มีหนวยเปน N หรือ
                                                                              ่
                                                         kgf หรือ lbf
                                                      A หมายถึง พื้นที่ภาคตัดขวางที่แรงกระทํา : m2 หรือ mm2

                                       สาขาวิชาฟสิกส โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ว30202                                                  สมบัติเชิงกลของสาร       3
       โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

         ความเคนปกติเฉลี่ย
              วัตถุที่มรูปแบบสม่ําเสมอ คงที่ตลอด เมื่อมีแรงกระทําในแนวแกนทางดานปลายทั้งสองของวัตถุ ไม
                       ี
วาจะเปนวัตถุที่แขวนอยู (Hanger)หรือมีการมัดรวมกันอยู (Truss Member) หรือยึดดวยโบลท วัตถุเหลานี้จะเกิด
ความเคนเฉลี่ยกระจายทั่วทั้งพื้นที่หนาตัดตลอดแนวแกนของวัตถุ สําหรับการวิเคราะห ภาระภายในบนภาคตัด
ขวางจะพิจารณาพื้นที่หนาตัดของวัตถุที่ตั้งฉากกับแรง ถาไมคิดน้ําหนักของวัตถุจะไดดังรูปที่ การสมดุลของสวน
วัตถุทถกตัดจะเกิดแรงลัพธภายใน (Internal Result Force) ที่กระทําบนภาคตัดขวาง(Cross Section)จะมีคาสมดุล
       ี่ ู
เทากับขนาดของแรงภายนอกที่มากระทํา

      F
                                                      หากตัดวัตถุใหมีรูปแบบคงที่จะเกิดความเคนปกติคงที่
                                                      ( Constant Normal Stress ) กระจายอยูอยางสม่ําเสมอตลอด
                          F   แรงภายใน                พื้นที่หนาตัดของวัตถุ
                              Internal Force                      เนื่องจากแตละพื้นที่ บนพื้นที่สม่าเสมอหนาตัดนี้
                                                                                                     ํ
                                 พืนทีหนาตัด
                                   ้ ่                จะมีแรงกระทํา ΔF = σΔA และผลรวมของแรงบนพืนที่เล็ก ๆ ้
                                 cross section area
                                                      เหลานี้จะมีคาเทากับแรง F ซึ่งเปนผลลัพธของแรงภายใน
                                                                   ถาเราพิจารณาพื้นที่เล็กมากๆ โดยหนดให
                              แรงภายนอก
                                                         ΔA = dA และ ΔF = dF และคาความเคน             คงที่
                              External Force
                          F                           จะไดดังนี้
     F
รูปที่ 3 แรงภายนอกและแรงภายในที่กระทําตอวัตถุ

                                                           ดังนั้น               F = σA
                 F
                                                      เมื่อกําหนดให
                                                                   หมายถึง ความเคนเฉลี่ย ณ จุดทุกจุดบนพืนที่หนาตัด
                                                                                                          ้
                                                                 F หมายถึง ผลลัพธของแรงปกติภายใน ซึ่งแรงนี้จะผาน
                                                      จุดศูนยถวงของวัตถุในแนวแกนที่แรงกระทําบนพื้นที่หนาตัด
                                                                 
                                                                 A หมายถึง พื้นทีหนาตัดของวัตถุท่แรงลัพธกระทํา
                                                                                    ่             ี
                                                      เพื่อที่จะใหคงไวซึ่งการเปลี่ยนแปลงรูปแบบอยางสม่ําเสมอ ของ
                                                                            A
                                                      วัตถุ
                                                              F                                                  F
                      F
   รูปที่ 4 แสดงแรงภายในที่เกิดขึนบนหนาตัด
                                 ้                           F                                                   F


                                           สาขาวิชาฟสิกส โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ว30202                                                      สมบัติเชิงกลของสาร     4
        โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

          1.2 ความเคนเฉือน ( Shear Stress )
          ความเคนเฉือน ใชสัญลักษณคอ τ เกิดขึนเมื่อมีแรงมากระทําใหทิศทางขนานกับพืนทีภาคตัดขวางดังรูป
                                       ื       ้                                    ้ ่
ที่ 2 แรงเฉือน ΔFt กระทําในแนวขนานบนพืนที่เล็กๆ ΔA ทําใหเกิดความเคนเฉือนบนพื้นทีหนาตัด สําหรับพื้น
                                             ้                                       ่
ใดๆเมื่อ ΔA → 0 จะไดวา                                                  Fn               F
                                             ΔFt dFt
                                    τ = lim     =
                                         ΔA→0 A   dA                    A                                    Ft
                                       dF
                                     τ= t
                                       dA

                                                           รูปที่ 5 รูปแสดงแรงกระทําที่ทําใหความเคนปกติและความเคนเฉือน

         ในกรณีวัตถุมคุณสมบัติสม่ําเสมอมีดังรูปที่ 5 ความเคนเฉือนจะมีคาเทากันในทุกๆจุดบนระนาบเดียวกัน
                     ี
เทากับความเคนเฉือนเฉลีย โดยมีคาเทากับแรงเฉือน (Shear Force) หารดวยพื้นที่ภาคตัดขวาง A ซึ่งขนานกับ
                        ่       
ทิศทางของแรงเฉือน ดังนี้
                                                             dFt = τdA

                                                           ∫ dF = ∫ τdA = τ ∫ dA
                                                                t
                                                                                    A


จะได                                                       Ft = τA
เมื่อ    τ        หมายถึง ความเคนเฉือนเฉลี่ย ณ จุดทุกจุดบนพื้นที่หนาตัด
          Ft      หมายถึง ผลลัพธของแรงเฉือนภายใน ซึ่งแรงนี้มีคาเทากับแรงเฉือนภายนอกทีกระทําตอวัตถุ
                                                                                        ่
          A       หมายถึง พื้นที่หนาตัดของวัตถุที่มระนาบขนานกับแนวของแรงเฉือนที่กระทํา
                                                    ี
ในทางปฏิบัตความเคนที่เกิดจะมีทั้งความเคนอัดหรือดึง และความเคนเฉือนพรอมๆกันกันดังรูปที่ 5 สวนในกรณี
              ิ
ที่เกิดความเคนเฉือนอยางเดียวเชนกรณีทมีแรงภายนอกพยายามดึงวัตถุใหเลื่อนออกจากกัน ความเคนเฉือนจะมีคา
                                         ่ี
เทากับ อัตราสวนระหวางแรงเฉือนตอพื้นที่ที่มีระนาบขนานกับแรงเฉือนนั้นดังรูปที่ 6
                                       A
จากรูปจะได τ = F/A
                                                                    F                                    F
              F                                        F

                                    รูปที่ 6 แสดงการเคลื่อนผานกันของวัตถุเมื่อไดรบความเคนเฉือน
                                                                                   ั




                                         สาขาวิชาฟสิกส โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ว30202                                               สมบัติเชิงกลของสาร      5
       โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

2. ความเครียดกับการเปลี่ยนแปลงรูปราง ( Strain )
         ความเครียด (Strain) คือ การเปลี่ยนแปลงรูปรางของวัสดุ (Deformation) เมื่อมีแรงภายนอกมากระทํา
(เกิดความเคน) การเปลี่ยนรูปของวัสดุนี้เปนผลมาจากการเคลื่อนที่ภายในเนื้อวัสดุ ซึ่งลักษณะของมันสามารถ
แบงเปน 2 ชนิดใหญ ๆ คือ
         1. การเปลียนรูปแบบอิลาสติกหรือความเครียดแบบคืนรูป (Elastic Deformation or Elastic Strain) เปน
                        ่
              การเปลียนรูปในลักษณะทีเ่ มื่อปลดแรงกระทํา อะตอมซึ่งเคลื่อนไหวเนื่องจากผลของความเคนจะ
                      ่
              เคลื่อนกลับเขาตําแหนงเดิม ทําใหวัสดุคงรูปรางเดิมไวได ตัวอยางไดแก พวกยางยืด, สปริง ถาเราดึง
              มันแลวปลอยมันจะกลับไปมีขนาดเทาเดิม
         2. การเปลียนรูปแบบพลาสติกหรือความเครียดแบบคงรูป (Plastic Deformation or Plastic Strain) เปน
                          ่
              การเปลียนรูปที่ถึงแมวาจะปลดแรงกระทํานั้นออกแลววัสดุก็ยังคงรูปรางตามที่ถูกเปลี่ยนไปนัน โดย
                            ่                                                                               ้
              อะตอมที่เคลื่อนที่ไปแลวจะไมกลับไปตําแหนงเดิม
     วัสดุทุกชนิดจะมีพฤติกรรมการเปลียนรูปทั้งสองชนิดนีขึ้นอยูกับแรงที่มากระทํา หรือความเคนวามีมากนอย
                                        ่                      ้
เพียงใด หากไมเกินพิกัดการคืนรูป (Elastic Limit) แลว วัสดุนั้นก็จะมีพฤติกรรมคืนรูปแบบอิลาสติก (Elastic
Behavior) แตถาความเคนเกินกวาพิกัดการคืนรูปแลววัสดุกจะเกิดการเปลี่ยนรูปแบบถาวรหรือแบบพลาสติก
                                                             ็
(Plastic Deformation)
นอกจากความเครียดทั้ง 2 ชนิดนีแลว ยังมีความเครียดอีกประเภทหนึ่งซึ่งพบในวัสดุประเภทโพลีเมอร เชน
                                 ้
พลาสติก เรียกวาความเครียดกึ่งอิลาสติกจะมีลักษณะที่เมือปราศจากแรงกระทําวัสดุจะมีการคืนรูป แตจะไม
                                                          ่
กลับไปจนมีลกษณะเหมือนเดิม การวัดและคํานวณหาคาความเครียดมีอยู 2 ลักษณะคือ
               ั

       2.1 ความเครียดตามยาวหรือความเครียดเชิงเสน (Linear Strain) สัญลักษณ คือ ε จะเกิดขึ้นเมื่อแรงที่มา
กระทํามีลกษณะเปนแรงดึงหรือแรงกด คาของความเครียดจะเทากับความยาวที่เปลียนไปตอความยาวเดิม อยางไร
          ั                                                                 ่
ก็ตามโดยทัวไปคาความเครียดเชิงเสนนี้จะขึ้นอยูกับตําแหนงของวัสดุ และอาจคํานวณไดโดยการพิจารณาการยืด
            ่                                 
ตัวของชิ้นสวน dL เล็กๆ ณ ตําแหนงนั้นๆ

                                                                                      จากรูปชิ้นสวน dL มี
                                                                                                            dδ
                         dL                                                           ความเครียดเทากับ ε =
                 dL + dδ
                                                                                                               dL
                                                                                      เมื่อ dδ คือความยาวที่
        รูปที่ 7 แสดงการยืดของชิ้นสวน dL ใดๆในวัตถุเมื่อไดรับความความเคนดึง
                                                                                      เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมของ
                                                                    dδ
ความเครียดเชิงเสน ณ ตําแหนงใดๆ เปนไปตามสมการ ε =                                   ชิ้นสวน dL
                                                                    dL


                                        สาขาวิชาฟสิกส โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ว30202                                                    สมบัติเชิงกลของสาร     6
      โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

ถาหากชิ้นสวนที่รับแรงดึงมีพื้นที่หนาตัดคงที่ตลอดความยาว มีคณสมบัตเิ ปนเนื้อเดียวกันตลอด และแรงดึง
                                                              ุ
กระทําผานจุดศูนยถวงของหนาตัด ความเครียดตามยาวที่เกิดขึ้นจะมีคาคงที่ มีคาเทากับความเครียดเฉลีย ดังนี้
                                                                                                 ่

                                                                                  วัตถุมีความยาวเดิมเปน L0 และมี
                                                                                  ความยาวเปลี่ยนไปจากเดิม
                                                                                  เปน δ = L − L0 เมื่อไดรับความเคน
              F                                                  F                ความเครียดเฉลี่ยมีคาเทากับ

                       รูปที่ 8 ความเครียดตามยาวเฉลี่ย                                             δ
                                                                                             ε=
                                                                                                   L0
       2.2 ความเครียดเฉือน
       ความเครียดเฉือน (Shear Strain) ใชกับกรณีที่แรงที่กระทํามีลักษณะเปนแรงเฉือน ( τ ) ดังรูป คาของ
ความเครียดจะเทากับระยะที่เคลื่อนที่ไปตอระยะหางระหวางระนาบ ดังสมการ
                                                       a
                                                 γ =
                                                       h


                                            เมื่อ        γ  = tan θ ≈ θ (หนวย radian ในกรณีทเี่ ปนมุมเล็กๆ)
                                                         a = ระยะทีเ่ คลื่อนไป (displacement )
                                                          h = ระยะหางระหวางระนาบ
                                                         θ = มุมที่เปลี่ยนไป

        รูปที่ 9 ความเครียดเฉือน


จะเห็นไดวาคาของความเครียดทั้งสองแบบไมมีหนวย เพราะตัวตั้งและตัวหารมีหนวยเปนความยาวอยูแลว
                                                                                           

3. ความสัมพันธระหวางความเคนกับความเครียด (Stress-Strain Relationship)
        ในการแสดงความสัมพันธระหวางความเคนและความเครียด ในที่นี้เราจะใชเสนโคงความเคน-ความเครียด
(Stress-Strain Curve) ซึ่งไดจากการทดสอบแรงดึง (Tensile Test) เปนหลัก โดยจะพลอตคาของความเคนในแกน
ตั้งและความเครียดในแกนนอน ดังรูปที่ 10 การทดสอบแรงดึงนอกจากจะใหความสัมพันธระหวางความเคน-
ความเครียดแลว ยังจะแสดงความสามารถในการรับแรงดึงของวัสดุ ความเปราะ เหนียวของวัสดุ (Brittleness


                                       สาขาวิชาฟสิกส โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ว30202                                            สมบัติเชิงกลของสาร    7
      โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

and Ductility) และบางครั้งอาจใชบอกความสามารถในการขึ้นรูปของวัสดุ (Formability) ไดอีกดวย




                รูปที่ 10 เสนโคงความเคน-ความเครียด (Stress-Strain Curve) แบบมีจุดคราก (Yield Point)
             การทดสอบแรงดึง (Tension Test)
          วิธการทดสอบนั้น เราจะนําตัวอยางทีจะทดสอบมาดึงอยางชา ๆ แลวบันทึกคาของความเคนและ
              ี                                 ่
ความเครียดทีเ่ กิดขึ้นไว แลวมาพลอตเปนเสนโคงดังรูปที่ 10 ขนาดและรูปรางของชินทดสอบมีตาง ๆ กัน ขึ้นอยู
                                                                                      ้
กับชนิดของวัสดุนั้น ๆ มาตรฐานตาง ๆ ของการทดสอบ เชน มาตรฐานของ ASTM (American Society of Testing
and Materials), BS (British Standards), JIS (Japanese Industrial Standards) หรือแมแต มอก. (มาตรฐาน
ผลิตภัณฑอตสาหกรรมไทย) ไดกําหนดขนาดและรูปรางของชิ้นทดสอบไว ทั้งนี้เพือใหผลของการทดสอบเชื่อถือ
                ุ                                                                   ่
ได พรอมกับกําหนดความเร็วในการเพิ่มแรงกระทําเอาไวดวย       
             จากการศึกษาเสนโคงความเคน-ความเครียด เราพบวา เมื่อเราเริ่มดึงชินทดสอบอยางชา ๆ ชิ้นทดสอบ
                                                                                ้
จะคอย ๆ ยืดออก จนถึงจุดจุดหนึ่ง (จุด A) ซึ่งในชวงนี้ความสัมพันธระหวางความเคน-ความเครียดจะเปนสัดสวน
คงที่ ทําใหเราไดกราฟที่เปนเสนตรง ตามกฎของฮุค (Hook's law) ซึ่งกลาววาความเคนเปนสัดสวนโดยตรงกับ
ความเครียด จุด A นี้ เรียกวาพิกดสัดสวน (Proportional Limit) และภายใตพกัดสัดสวนนี้ วัสดุจะแสดงพฤติกรรม
                                    ั                                        ิ
การคืนรูปแบบอิลาสติก (Elastic Behavior) นั่นคือเมื่อปลอยแรงกระทํา ชิ้นทดสอบจะกลับไปมีขนาดเทาเดิม
เมื่อเราเพิ่มแรงกระทําตอไปจนเกินพิกดสัดสวน เสนกราฟจะคอย ๆ โคงออกจากเสนตรง วัสดุหลายชนิดจะยังคง
                                          ั
แสดงพฤติกรรมการคืนรูปไดอีกเล็กนอยจนถึงจุด ๆ หนึง (จุด B) เรียกวา พิกัดยืดหยุน (Elastic limit) ซึ่งจุดนี้จะ
                                                          ่                             
เปนจุดกําหนดวาความเคนสูงสุดที่จะไมทําใหเกิดการแปรรูปถาวร (Permanent Deformation or Offset) กับวัสดุ


                                       สาขาวิชาฟสิกส โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ว30202                                                         สมบัติเชิงกลของสาร   8
       โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

นั้น เมื่อผานจุดนี้ไปแลววัสดุจะมีการเปลียนรูปอยางถาวร (Plastic Deformation) ลักษณะการเริ่มตนของ
                                           ่
ความเครียดแบบพลาสติกนีเ้ ปลี่ยนแปลงไปตามชนิดของวัสดุในโลหะหลายชนิด เชน พวกเหล็กกลาคารบอนต่ํา
(Low Carbon Steel) จะเกิดการเปลี่ยนรูปอยางรวดเร็ว โดยไมมีการเพิ่มความเคน (บางครั้งอาจจะลดลงก็ม) ที่จด C
                                                                                                        ี ุ
ซึ่งเปนจุดที่เกิดการเปลียนรูปแบบพลาสติก จุด C นี้เรียกวาจุดคราก (Yield Point) และคาของความเคนที่จุดนี้
                         ่
เรียกวา ความเคนจุดคราก (Yield Stress) หรือ Yield Strength คา Yield Strength นี้มีประโยชนกับวิศวกรมาก
เพราะเปนจุดแบงระหวางพฤติกรรมการคืนรูปกับพฤติกรรมการคงรูป และในกรณีของโลหะจะเปนคาความ
แข็งแรงสูงสุดที่เราคงใชประโยชนไดโดยไมเกิดการเสียหาย
               วัสดุหลายชนิดเชน อะลูมเิ นียม ทองแดง จะไมแสดงจุดครากอยางชัดเจน แตเราก็มวิธีทจะหาไดโดย
                                                                                              ี ี่
กําหนดความเครียดที่ 0.10 - 0.20% ของความยาวกําหนดเดิม (Original Gage Length) แลวลากเสนขนานกับกราฟ
ชวงแรกไปจนตัดเสนกราฟทีโคงไปทางดานขวา ดังรูปที่ 11 คาความเคนที่จุดตัดนี้จะนํามาใชแทนคาความเคนจุด
                               ่
ครากได ความเคนที่จุดนี้บางครั้งเรียกวา ความเคนพิสูจน (Proof Stress) หรือความเคน 0.1 หรือ 0.2% offset ดัง
แสดงในรูปที่ 11
                       ความเคน

                                ความเครียดพิสูจน




                                                                                            ความเครียด
                           0.1 – 0.2 %
                                         รูปที่ 11 เสนโคงความเคน-ความเครียดแบบที่ไมมีจุดคราก

หลังจากจุดครากแลว วัสดุจะเปลียนรูปแบบพลาสติกโดยความเคนจะคอย ๆ เพิ่มอยางชา ๆ หรืออาจจะคงทีจนถึง
                                  ่                                                                          ่
จุดสูงสุด (จุด D) คาความเคนที่จุดนีเ้ รียกวา Ultimate Strength หรือความเคนแรงดึง (Tensile Strength) ซึ่งเปนคา
ความเคนสูงสุดที่วัสดุจะทนไดกอนทีจะขาดหรือแตกออกจากกัน (Fracture) เนื่องจากวัสดุหลายชนิดสามารถ
                                         ่
เปลี่ยนรูปอยางพลาสติกไดมาก ๆ คาความเคนสูงสุดนีสามารถนํามาคํานวณใชงานได นอกจากนี้ คานี้ยังใชเปน
                                                          ้
ดัชนีเปรียบเทียบคุณสมบัติของวัสดุไดดวยวา คําวา ความแข็งแรง (Strength) ของวัสดุ หรือ กําลังวัสดุนั้น
โดยทั่วไป จะหมายถึงคาความเคนสูงสุดที่วัสดุทนไดนี้เอง

                                           สาขาวิชาฟสิกส โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ว30202                                                    สมบัติเชิงกลของสาร         9
       โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

           ที่จุดสุดทาย (จุด E) ของกราฟ เปนจุดทีวัสดุเกิดการแตกหรือขาดออกจากกัน (Fracture) สําหรับโลหะ
                                                  ่
บางชนิด เชน เหล็กกลาคารบอนต่ําหรือโลหะเหนียว คาความเคนประลัย (Rupture Strength) นี้จะต่ํากวาความเคน
สูงสุด เพราะเมื่อเลยจุด D ไป พื้นที่ภาคตัดขวางของตัวอยางทดสอบลดลง ทําใหพนที่จะตานทานแรงดึงลดลงดวย
                                                                             ื้
ในขณะที่เรายังคงคํานวณคาของความเคนจากพื้นที่หนาตัดเดิมของวัสดุกอนที่จะทําการทดสอบแรงดึง ดังนั้นคา
ของความเคนจึงลดลง สวนโลหะอืน ๆ เชน โลหะทีผานการขึ้นรูปเย็น (Cold Work) มาแลว มันจะแตกหักที่จด
                                    ่               ่                                                 ุ
ความเคนสูงสุด โดยไมมการลดขนาดพื้นที่ภาคตัดขวาง ดังรูป 12 a ทํานองเดียวกับพวกวัสดุเปราะ (Brittle
                           ี
Materials) เชน เซรามิค ที่มการเปลียนรูปอยางพลาสติกนอยมากหรือไมมีเลย สวนกรณีของวัสดุที่เปนพลาสติกจะ
                              ี       ่
เกิดแตกหักโดยที่ตองการความเคนสูงขึ้น ดังรูป 12 b

   ความเคน                                                      ความเคน




                                                    ความเครียด                                              ความเครียด
                           12 a วัสดุเปราะ                                         12 b วัสดุพลาสติก


               รูปที่ 12 เปรียบเทียบเสนโคงความเคน-ความเครียดของวัสดุเปราะและวัสดุพลาสติก

เสนโคงความเคน-ความเครียดนี้ นอกจากจะใชบอกคาความแข็งแรง ณ จุดคราก (Yield Strength) ความเคนสูงสุด
และความเคนประลัยแลว ยังจะใชบอกคาตาง ๆ ไดอกดังนี้ คือ
                                                     ี
         3.1 ความเหนียว (Ductility) คาที่ใชวัดจะบอกเปนเปอรเซนต การยืดตัว (Percentage Elongation) และการ
ลดพืนที่ภาคตัดขวาง (Reduction of Area) ในทางปฏิบัตเิ รามักใชคา %El มากกวาเพราะสะดวกในการวัด ความ
     ้
เหนียวของวัสดุนี้จะเปนตัวบอกความสามารถในการขึ้นรูปของมัน คือถาวัสดุมความเหนียวดี (%El สูง) ก็สามารถ
                                                                                ี
นําไปขึ้นรูป เชน รีด ตีขึ้นรูป ดึงเปนลวด ฯลฯ ไดงาย แตถามีความเหนียวต่ํา (เปราะ , Brittle) ก็จะนําไปขึ้นรูปยาก
                                                   
หรือทําไมได เปนตน
         3.2. Modulus of Elasticity or Stiffness ภายใตพกัดสัดสวนซึ่งวัสดุมีพฤติกรรมเปนอิลาสติก อัตราสวน
                                                          ิ
ระหวางความเคนตอความเครียดจะเทากับคาคงที่ คาคงที่นี้เรียกวา Modulus of elasticity (E) หรือ Young's


                                        สาขาวิชาฟสิกส โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ว30202                                                 สมบัติเชิงกลของสาร   10
      โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

Modulus หรือ Stiffness มักมีหนวยเปน ksi (1 ksi=1000 psi) หรือ kgf/mm2 หรือ GPa ถาแรงที่มากระทําเปนแรง
เฉือนเราเรียกคาคงที่นี้วา Shear Modulus หรือ Modulus of Rigidity (G) คา E และ G ของวัสดุแตละชนิดจะมี
คาเฉลี่ยคงที่ และเปนตัวบอกความสามารถคงรูป (Stiffness, Rigidity) ของวัสดุ นั่นคือ ถา E และ G มีคาสูง วัสดุ
                                                                                                  
จะเปลี่ยนรูปอยางอิลาสติกไดนอย แตถา E และ G ต่ํา มันก็จะเปลียนรูปอยางอิลาสติกไดมาก คา E และ G นี้มี
                                                                ่
ประโยชนมากสําหรับงานออกแบบวัสดุที่ตองรับแรงตาง ๆ ตารางที่ 1 จะแสดงตัวอยางคา E ของวัสดุ ตางๆ
                                           

                               ตารางที่ 1 ตัวอยางคามอดุลสของยังสําหรับวัสดุบางชนิด
                                                          ั
                                   วัสดุ                    มอดุลัสของยัง , E ( x 1011 N/m2 )
                        ตะกัว่                                           0.16
                        แกว                                             0.55
                        อลูมิเนียม                                       0.70
                        ทองเหลือง                                        0.91
                        ทองแดง                                            1.1
                        เหล็ก                                             1.9
                        เหล็กกลา                                         2.0
                        ทังสเตน                                           3.6

การคํานวณหาคามอดุลัสของยัง
       คามอดุลัสของยัง คืออัตราสวนระหวางความเคนตอความเครียด มีความสัมพันธตามสมการ
                                                                                                   F
                           σ
                        E=                     เมื่อแทนคาความเคนและความเครียด จะไดวา
                                                                                               E= A
                           ε                                                                       Δl
                                                                                                   L0
                                                              F L0
                                                       E=      ⋅
                                                              A δ
        เมื่อ    E หมายถึง คามอดุลัสของยัง ( Young’s Modulus ) มีหนวยเปน N/m2
                 F หมายถึง แรงเคน มีหนวยเปน N
                 A หมายถึง พื้นที่หนาตัด มีหนวยเปน m2
                 L0 และ δ หมายถึง ความยาวของวัตถุเดิมและความยาวที่เปลี่ยนแปลงตามลําดับมีหนวยเปน m



                                       สาขาวิชาฟสิกส โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ว30202                                                        สมบัติเชิงกลของสาร   11
        โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

*** การคํานวณระยะยืดกรณีที่วตถุมีพื้นที่หนาตัดไมสม่ําเสมอ
                            ั



                                 dL
                                                          dL + dδ

         กรณีที่วตถุมีพนที่หนาตัดไมสม่ําเสมอ เราจะพิจารณาจากสวนเล็กๆในวัตถุที่มีความยาว dL เมื่อไดรบ
                 ั      ื้                                                                             ั
แรงเคนตามยาวดังรูปทําใหวตถุยดออกโดยแตละสวน dL เล็กๆ จะยืดออกเปนระยะ dδ ตางๆกันขึนอยูกับ
                            ั ื                                                             ้ 
พื้นที่หนาตัดของชิ้นสวน dL ดังนั้นในการหาระยะยืดทั้งหมดของวัตถุ จึงตองอาศัยการอินทิเกรตตลอดความยาว
ของวัสดุ กรณีออกแรงเคนกระทําตอวัตถุ และวัตถุยังคงมีสภาพยืดหยุนเปนไปตามกฎของฮุก จะสามารถ
                                                                 
คํานวณหาระยะยืดทั้งหมดของวัสดุ( δ ) ไดดงนี้ ั
จากนิยามของความเครียด                             dδ
                                               ε=
                                                           dL
จะไดวา                                       dδ = εdL
                                                    σ
เมื่อแทนคาจากนิยามของความเคน                  E=
                                                     ε
จะได                                               σ dL
                                               dδ =
                                                      E
                                                     σ                  F
ดังนั้นความยาวที่ยดออกทั้งหมด
                  ื                       δ =∫            dL = ∫           dL
                                                 L
                                                      E             L
                                                                        AE

                                                            FL
ในกรณีท่ี F และ A คงที่ จะไดวา                      δ=
                                                            AE


ตัวอยางการคํานวณเรืองสมบัติเชิงกลของของแข็ง
                     ่
ตัวอยาง 1 ลวดทองแดงเสนหนึ่งยาว 4 เมตร มีพนที่ภาคตัดขวาง 1 x 10-8ตารางเมตร มีคายังมอดุลัสเปน 1.1 x 1011
                                           ื้
          นิวตันตอตารางเมตร จะตองออกแรงดึงเทาใดจึงจะทําใหลวดเสนนียดออกอีก 1 มิลลิเมตร
                                                                      ้ื
                                                                                    F L0                A ⋅ E ⋅δ
                   แนวคิด             หาแรงที่ใชในการดึงลวดจาก            E=        ⋅     จะได   F=
                                                                                    A δ                    L0
                            จากโจทย L0= 4 m , A = 1 x 10-8 m2 , E = 1.1 x 1011 N/m2 , δ = 1 x 10-3 m
                                                 −8
                                                      (m 2 ) ⋅ 1.1x1011 ( Nm −2 ) ⋅ 1x10 −3 (m)
                            แทนคา F = 1x10                                                     = 0.275 N
                                                                    4(m)
                   ตอบ                0.275 นิวตัน


                                         สาขาวิชาฟสิกส โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ว30202                                                        สมบัติเชิงกลของสาร   12
      โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

ตัวอยางที่ 2 สายเคเบิลเหล็กมีพื้นที่ภาคตัดขวาง 3.0 x 10-4 ตารางเมตร ผูกติดกับลิฟทซึ่งหนัก 8000 นิวตัน ถาใน
              การใชลฟทกาหนดใหความเคนที่กระทํากับสายเคเบิลมีคาไมเกิน 0.25 ของขอบเขตความยืดหยุน จง
                      ิ ํ                                                                                 
              หาคาความเรงสูงสุดในการเคลื่อนที่ขึ้นของลิฟท ถาสายเคเบิลเหล็กมีคาขอบเขตความยืดหยุน
              2.8 x 108 นิวตันตอตามรางเมตร
              แนวคิด เขียนแรงที่เกิดขึ้นกับตัวลิฟท           จาก             F
                                                                         σ = หรือ F = σA
                                                                              A
                                     F
                                                              แทนคา F = 0.25 x 2.8 x 108x 3.0 x 10-4 N
                                                                           F = 2.1 x 104 N
                                                              หาคาความเรงจาก ∑ F = ma
                                  m=800 kg                    แทนคา
                                                                                   F − (800 x9.8) = 800 ⋅ a
                                                                                  21,000 − 7,840 = 800a
                                800 x 9.8 N                                                     a=
                                                                                                    13,160
                                                                                                     800
                                                                                                a = 16.45m/s 2
            ตอบ ลิฟทเคลือนที่ดวยความเรงสูงสุดไดไม
                         ่
                เกิน 16.45 เมตร/วินาที2

ตัวอยางที่ 3 ลวดเหล็กดึงลิฟทมความเคนทีขีดจํากัดความยืดหยุนเทากับ 2 x 108 นิวตันตอตารางเมตร และมี
                                   ี          ่
              พื้นที่หนาตัด 2.0 x 10-4 เมตร2 ถาลิฟทมีสมภาระมวล 2,000 กิโลกรัม ลิฟทนี้สามารถเคลื่อนที่ดวย
                                                         ั                                                
                                                                                    2                  2
              ความเรงสูงสุดเทาใด ลวดจึงจะไมยืดเกินขีดจํากัด กําหนดคา g = 9.8 m/s ( 10.2 เมตร/วินาที )




                                       สาขาวิชาฟสิกส โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ว30202                                               สมบัติเชิงกลของสาร     13
       โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

ตัวอยางที่ 4 ลวดทําดวยโลหะตางชนิดกันสองเสนยาวเทากัน มีพื้นที่หนาตัดเปน 0.1 และ 0.18 ตารางเซนติเมตร
              เมื่อดึงลวดทั้งสองดวยแรงเทากัน มันจะยืดออกยาวเทากับ 0.3 และ 0.2 เซนติเมตร ตามลําดับ จงหา
              อัตราสวนของมอดุลสของยังของลวดเสนทีหนึ่ง ตอมอดุลลัสของยังของลวดเสนที่สอง ( 6/5 )
                                   ั                    ่




ตัวอยางที่ 5 ลูกตุมมีมวล 20 กิโลกรัม สายแขวนลูกตุมเปนลวดเหล็กยาว 10 เมตร มีพนที่ภาคตัดขวาง 5 x 10-6 ตา
                                                                                    ื้
              รางแมตร ปลอยใหลูกตุมแกวงเปนมุมกวาง โดยมีอัตราเร็วที่จุดต่ําสุด 10 เมตร/วินาที ความยาวของ
              เสนลวดที่ยดเพิ่มขึ้นจากเมื่อแขวนอยูนิ่งมีคาเทาใด ใหมอดุลสยังของเหล็กมีคาเทากับ 20 x 1010 นิว
                          ื                                                ั
              ตัน/ตารางเมตร ( 2 x 10-3 m )




                                        สาขาวิชาฟสิกส โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ว30202                                                 สมบัติเชิงกลของสาร     14
            โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

     ตัวอยางที่ 6 จงคํานวณหาระยะยืดของวัตถุเนื่องจากแรงภายนอกขนาด 100 กิโลนิวตัน ที่กระทําที่ปลายทั้งสอง
                   ดานของแผนวัตถุหนา 20 มิลลิเมตร ยาว 10 เมตร โดยมีความของปลายสองดานไมเทากัน ดานหนึ่ง
                   กวาง 40 มิลลิเมตร และปลายอีกดานหนึ่งกวาง 120 มิลลิเมตร ดังแสดงในรูป เมื่อวัตถุมีคามอดุลส
                                                                                                            ั
                   ของยังเปน 200 จิกะพาสคัล
                     y

        กวาง 40 มิลลิเมตร               หนา 20 มิลลิเมตร

                                                                     y                                 กวาง 120 มิลลิเมตร x
F = 100 กิโลพาสคัล                                                                                      F = 100 กิโลพาสคัล
                                                 x
                                                                         dx
                                                                    10 เมตร


                     กําหนด ∫ 1 dx = ln x และ du ( x) =              d
                                                                        u ( x) ⋅ dx
                                     x                               dx
     แนวคิด
              เนื่องจากวัตถุมีพ้นที่หนาตัดไมสม่ําเสมอจึงหาความยาวที่เปลี่ยนแปลงโดยการอินทิเกรต
                                ื
                                 σ               F
              จาก δ = ∫              dL = ∫         dL               และ A = xy
                             L
                                 E           L
                                                 AE
              ……………………………………………………………………………………………………………..
              ……………………………………………………………………………………………………………..
              ……………………………………………………………………………………………………………..
              ……………………………………………………………………………………………………………..
              ……………………………………………………………………………………………………………..
              ……………………………………………………………………………………………………………..
              ……………………………………………………………………………………………………………..
              ……………………………………………………………………………………………………………..
              ……………………………………………………………………………………………………………..
              ……………………………………………………………………………………………………………..
              ……………………………………………………………………………………………………………..
              ……………………………………………………………………………………………………………..

                                                     สาขาวิชาฟสิกส โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

More Related Content

What's hot

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องmoohhack
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกลชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกลโรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์wirayuth jaksuwan
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมWichai Likitponrak
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1Kruthai Kidsdee
 
การงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดการงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดNokko Bio
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
เฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตเฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตkrurutsamee
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตบทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตฟลุ๊ค ลำพูน
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตPopeye Kotchakorn
 
แผ่นพับ เรื่อง เครื่องดักจับแมลงจากขวดพลาสติก
แผ่นพับ เรื่อง เครื่องดักจับแมลงจากขวดพลาสติกแผ่นพับ เรื่อง เครื่องดักจับแมลงจากขวดพลาสติก
แผ่นพับ เรื่อง เครื่องดักจับแมลงจากขวดพลาสติกEnormity_tung
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนKrupol Phato
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4supphawan
 
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยมแผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยมKamolthip Boonpo
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงพัน พัน
 

What's hot (20)

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกลชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
 
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกลเล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
 
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
 
การงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดการงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ด
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
เฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตเฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรต
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตบทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
แผ่นพับ เรื่อง เครื่องดักจับแมลงจากขวดพลาสติก
แผ่นพับ เรื่อง เครื่องดักจับแมลงจากขวดพลาสติกแผ่นพับ เรื่อง เครื่องดักจับแมลงจากขวดพลาสติก
แผ่นพับ เรื่อง เครื่องดักจับแมลงจากขวดพลาสติก
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
 
Math5
Math5Math5
Math5
 
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยมแผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 

Similar to Physical Properties

โครงสร้างสาระวิทย์ม.3
โครงสร้างสาระวิทย์ม.3โครงสร้างสาระวิทย์ม.3
โครงสร้างสาระวิทย์ม.3supphawan
 
หน่วยที่ 3 สมบัติทางกลของโลหะ(ใช้สอน)
หน่วยที่ 3 สมบัติทางกลของโลหะ(ใช้สอน)หน่วยที่ 3 สมบัติทางกลของโลหะ(ใช้สอน)
หน่วยที่ 3 สมบัติทางกลของโลหะ(ใช้สอน)Naynui Cybernet
 
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่thanakit553
 
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่มวลแรงกฎการเคลื่อนที่
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่Chakkrawut Mueangkhon
 

Similar to Physical Properties (7)

Solid
SolidSolid
Solid
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.3
โครงสร้างสาระวิทย์ม.3โครงสร้างสาระวิทย์ม.3
โครงสร้างสาระวิทย์ม.3
 
หน่วยที่ 3 สมบัติทางกลของโลหะ(ใช้สอน)
หน่วยที่ 3 สมบัติทางกลของโลหะ(ใช้สอน)หน่วยที่ 3 สมบัติทางกลของโลหะ(ใช้สอน)
หน่วยที่ 3 สมบัติทางกลของโลหะ(ใช้สอน)
 
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
 
P03
P03P03
P03
 
Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่มวลแรงกฎการเคลื่อนที่
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่
 

Physical Properties

  • 1. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ว30202 สมบัติเชิงกลของสาร 1 โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ สมบัติเชิงกลของสาร ภาพสะพานที่เห็นคงเปนที่คุนตาของนักเรียน หลายคนเพราะหากเดินทางโดยรถยนตจากกรุงเทพมหา - นครสูโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ แนนอนวานักเรียนตอง  เห็นสะพานพระรามแปดทีทอดยาวขามแมน้ําเจาพระยา ซึ่ง ่ นับเปนสถาปตยกรรมที่มีความงดงามอีกแหงหนึ่งของ ประเทศไทยเลยทีเดียว กอนจะเกิดความงดงามเชนนี้ วิศวกรตองใชความรูเ กี่ยวกับสมบัติเชิงกลของวัสดุทจะ ี่ นํามาเปนโครงสราง เพื่อใหไดสะพานคงทนแข็งแรง สามารถรองรับน้ําหนักของรถทีแลนผาน รวมไปถึงตัว ่ สะพานเอง ยังไมรวมถึงการสึกหรอหรือเสื่อมสภาพจากปจจัยอื่นๆ ในบทเรียนนี้นกเรียนจะไดศกษาสมบัติเชิงกล ั ึ ของของแข็ง รวมไปถึงของเหลวซึ่งจะกลาวถึงในภายหลัง เพื่อเปนพืนฐานความรูใชในการอธิบายสมบัติตางๆ ้ ของสิ่งที่นกเรียนพบเห็นในชีวตประจําวัน และเปนพื้นฐานสําหรับการศึกษาดานวัสดุศาสตรในระดับที่สูงขึ้น ั ิ คุณสมบัตเิ ชิงกลของวัสดุ เชน ความแข็ง (Hardness) ความแข็งแรง (Strength) ความเหนียว (Ductility) ฯลฯ เปนสิ่งทีจะบอกวาวัสดุนั้นๆ สามารถที่จะรับหรือทนทานแรง หรือพลังงานเชิงกลภายนอกทีมากระทําไดดี ่ ่ มากนอยเพียงใด ในงานวิศวกรรมคุณสมบัติเชิงกลมีความสําคัญมากทีสุด เพราะเมื่อเราจะเลือกใชวสดุใดๆ ก็ตาม ่ ั สิ่งแรกทีจะนํามาพิจารณาก็คือ คุณสมบัตเิ ชิงกลของมัน การที่เครื่องจักรหรืออุปกรณใดๆ จะสามารถทํางานได ่ อยางปลอดภัยขึ้นอยูกับคุณสมบัติเชิงกลของวัสดุที่ใชทําเครื่องจักร อุปกรณนนๆ เปนสําคัญ ั้ สถานะของสาร จากความรูเดิม เราทราบวาสถานะของสาร มี 3 สถานะ คือ ของแข็ง ของเหลว และแกส สารที่มีสถานะ เปนของเหลวหรือแกสบางทีเรียกรวมกันวาของไหลเพราะสารทั้งสองสถานะสามารถไหลได 1. ของแข็ง เปนสถานะที่มรูปรางและปริมาตรคงที่ในอุณหภูมิปกติ มีรปทรงตางๆเชน กอนหิน ไม ยาง ี ู ดินสอ เทียนไข และเหล็ก เปนตน 2. ของเหลว เปนสถานะที่มรูปรางไมคงทีแนนอนในอุณหภูมิปกติ จะเปลี่ยนตามภาชนะที่บรรจุอยู แตมี ี ่ ปริมาตรคงที่ เชน น้ํา น้ํามัน ปรอท แอลกอฮอล เปนตน 3. แกส เปนสถานะที่มรูปรางและปริมาตรไมคงที่แนนอนในอุณหภูมิปกติ มีการเปลียนแปลงอยูเสมอ ี ่ รูปรางและปริมาตรจะเหมือนกับรูปรางภาชนะที่บรรจุ เชนแกส สาขาวิชาฟสิกส โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
  • 2. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ว30202 สมบัติเชิงกลของสาร 2 โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ ในที่นี้จะขอกลาวถึงคุณสมบัติเชิงกลของสารในสถานะของแข็ง สวนของเหลวจะกลาวถึงในลําดับ ตอไป 1. ความเคน (Stress) ความเคนหมายถึง แรงตานทานภายในเนือวัสดุที่มีตอแรงภายนอกที่มากระทําตอหนึงหนวยพืนที่ แต ้ ่ ้ เนื่องจากความไมเหมาะสมทางปฏิบัติ และความยากในการวัดหาคานี้ เราจึงมักจะพูดถึงความเคนในรูปของแรง ภายนอกที่มากระทําตอหนึงหนวยพืนที่ ดวยเหตุผลที่วา แรงกระทําภายนอกมีความสมดุลกับแรงตานทานภายใน ่ ้  พิจารณาพืนทีหนาตัดดังรูปที่ 1 ซึ่งถูกแบงออกเปนพื้นทีเ่ ล็ก ๆ ้ ่ พิจารณา ซึ่งแสดงในรูปที่ 2 พบวามีแรง กระทําบน พื้นที่ แรงนี้เกิดจากแรงองคประกอบสองทิศทาง คือ และ ซึ่งเกิดในแนวตั้งฉาก(Normal) และใน แนวขนาน(Tangent ) ถา เปนพื้นที่เล็กๆเขาใกลศูนย แรง มีขนาดเล็กมาก ผลหารของแรงภายในตอพื้นที่เล็กๆนี้ เรียกวา ความเคน (Stress) ซึ่งหมายถึง ความเขมของแรงภายใน บนพื้นที่ที่แรงกระทําหรือแรงลัพธภายในตอพื้นที่หนาตัดที่ รูปที่ 1 แรงภายนอกและแรงภายในที่กระทําตอวัตถุ แรงกระทํา โดยความเคนแบงออกเปน 2 ประเภท ดังนี้ 1. 1 ความเคนปกติ (Normal Stress) ความเคนปกติเปนความเขมของแรง หรือแรงภายในตอ หนวยพืนที่ ้ แรงภายในนันตองกระทําตังไดฉากกับ ้ ้ พื้นที่ ใชสญลักษณ คือ ( Sigma ) สําหรับพื้นใดๆเมื่อ ั ΔA → 0 จะไดวา dFn σ= dA โดยกําหนดให หมายถึง ความเคน (Stress) มีหนวยเปนปาสกาล (Pa, รูปที่ 2 แรงเคนปกติและแรงเคนเฉือน 1 Pa = 1N/m2) หรือ kgf/mm2 หรือ psi (lbf/in2) F หมายถึง แรงภายนอกทีมากระทํา มีหนวยเปน N หรือ ่ kgf หรือ lbf A หมายถึง พื้นที่ภาคตัดขวางที่แรงกระทํา : m2 หรือ mm2 สาขาวิชาฟสิกส โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
  • 3. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ว30202 สมบัติเชิงกลของสาร 3 โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ ความเคนปกติเฉลี่ย วัตถุที่มรูปแบบสม่ําเสมอ คงที่ตลอด เมื่อมีแรงกระทําในแนวแกนทางดานปลายทั้งสองของวัตถุ ไม ี วาจะเปนวัตถุที่แขวนอยู (Hanger)หรือมีการมัดรวมกันอยู (Truss Member) หรือยึดดวยโบลท วัตถุเหลานี้จะเกิด ความเคนเฉลี่ยกระจายทั่วทั้งพื้นที่หนาตัดตลอดแนวแกนของวัตถุ สําหรับการวิเคราะห ภาระภายในบนภาคตัด ขวางจะพิจารณาพื้นที่หนาตัดของวัตถุที่ตั้งฉากกับแรง ถาไมคิดน้ําหนักของวัตถุจะไดดังรูปที่ การสมดุลของสวน วัตถุทถกตัดจะเกิดแรงลัพธภายใน (Internal Result Force) ที่กระทําบนภาคตัดขวาง(Cross Section)จะมีคาสมดุล ี่ ู เทากับขนาดของแรงภายนอกที่มากระทํา F หากตัดวัตถุใหมีรูปแบบคงที่จะเกิดความเคนปกติคงที่ ( Constant Normal Stress ) กระจายอยูอยางสม่ําเสมอตลอด F แรงภายใน พื้นที่หนาตัดของวัตถุ Internal Force เนื่องจากแตละพื้นที่ บนพื้นที่สม่าเสมอหนาตัดนี้ ํ พืนทีหนาตัด ้ ่ จะมีแรงกระทํา ΔF = σΔA และผลรวมของแรงบนพืนที่เล็ก ๆ ้ cross section area เหลานี้จะมีคาเทากับแรง F ซึ่งเปนผลลัพธของแรงภายใน ถาเราพิจารณาพื้นที่เล็กมากๆ โดยหนดให แรงภายนอก ΔA = dA และ ΔF = dF และคาความเคน คงที่ External Force F จะไดดังนี้ F รูปที่ 3 แรงภายนอกและแรงภายในที่กระทําตอวัตถุ ดังนั้น F = σA F เมื่อกําหนดให หมายถึง ความเคนเฉลี่ย ณ จุดทุกจุดบนพืนที่หนาตัด ้ F หมายถึง ผลลัพธของแรงปกติภายใน ซึ่งแรงนี้จะผาน จุดศูนยถวงของวัตถุในแนวแกนที่แรงกระทําบนพื้นที่หนาตัด  A หมายถึง พื้นทีหนาตัดของวัตถุท่แรงลัพธกระทํา ่ ี เพื่อที่จะใหคงไวซึ่งการเปลี่ยนแปลงรูปแบบอยางสม่ําเสมอ ของ A วัตถุ F F F รูปที่ 4 แสดงแรงภายในที่เกิดขึนบนหนาตัด ้ F F สาขาวิชาฟสิกส โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
  • 4. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ว30202 สมบัติเชิงกลของสาร 4 โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ 1.2 ความเคนเฉือน ( Shear Stress ) ความเคนเฉือน ใชสัญลักษณคอ τ เกิดขึนเมื่อมีแรงมากระทําใหทิศทางขนานกับพืนทีภาคตัดขวางดังรูป ื ้ ้ ่ ที่ 2 แรงเฉือน ΔFt กระทําในแนวขนานบนพืนที่เล็กๆ ΔA ทําใหเกิดความเคนเฉือนบนพื้นทีหนาตัด สําหรับพื้น ้ ่ ใดๆเมื่อ ΔA → 0 จะไดวา Fn F ΔFt dFt τ = lim = ΔA→0 A dA A Ft dF τ= t dA รูปที่ 5 รูปแสดงแรงกระทําที่ทําใหความเคนปกติและความเคนเฉือน ในกรณีวัตถุมคุณสมบัติสม่ําเสมอมีดังรูปที่ 5 ความเคนเฉือนจะมีคาเทากันในทุกๆจุดบนระนาบเดียวกัน ี เทากับความเคนเฉือนเฉลีย โดยมีคาเทากับแรงเฉือน (Shear Force) หารดวยพื้นที่ภาคตัดขวาง A ซึ่งขนานกับ ่  ทิศทางของแรงเฉือน ดังนี้ dFt = τdA ∫ dF = ∫ τdA = τ ∫ dA t A จะได Ft = τA เมื่อ τ หมายถึง ความเคนเฉือนเฉลี่ย ณ จุดทุกจุดบนพื้นที่หนาตัด Ft หมายถึง ผลลัพธของแรงเฉือนภายใน ซึ่งแรงนี้มีคาเทากับแรงเฉือนภายนอกทีกระทําตอวัตถุ ่ A หมายถึง พื้นที่หนาตัดของวัตถุที่มระนาบขนานกับแนวของแรงเฉือนที่กระทํา ี ในทางปฏิบัตความเคนที่เกิดจะมีทั้งความเคนอัดหรือดึง และความเคนเฉือนพรอมๆกันกันดังรูปที่ 5 สวนในกรณี ิ ที่เกิดความเคนเฉือนอยางเดียวเชนกรณีทมีแรงภายนอกพยายามดึงวัตถุใหเลื่อนออกจากกัน ความเคนเฉือนจะมีคา ่ี เทากับ อัตราสวนระหวางแรงเฉือนตอพื้นที่ที่มีระนาบขนานกับแรงเฉือนนั้นดังรูปที่ 6 A จากรูปจะได τ = F/A F F F F รูปที่ 6 แสดงการเคลื่อนผานกันของวัตถุเมื่อไดรบความเคนเฉือน ั สาขาวิชาฟสิกส โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
  • 5. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ว30202 สมบัติเชิงกลของสาร 5 โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ 2. ความเครียดกับการเปลี่ยนแปลงรูปราง ( Strain ) ความเครียด (Strain) คือ การเปลี่ยนแปลงรูปรางของวัสดุ (Deformation) เมื่อมีแรงภายนอกมากระทํา (เกิดความเคน) การเปลี่ยนรูปของวัสดุนี้เปนผลมาจากการเคลื่อนที่ภายในเนื้อวัสดุ ซึ่งลักษณะของมันสามารถ แบงเปน 2 ชนิดใหญ ๆ คือ 1. การเปลียนรูปแบบอิลาสติกหรือความเครียดแบบคืนรูป (Elastic Deformation or Elastic Strain) เปน ่ การเปลียนรูปในลักษณะทีเ่ มื่อปลดแรงกระทํา อะตอมซึ่งเคลื่อนไหวเนื่องจากผลของความเคนจะ ่ เคลื่อนกลับเขาตําแหนงเดิม ทําใหวัสดุคงรูปรางเดิมไวได ตัวอยางไดแก พวกยางยืด, สปริง ถาเราดึง มันแลวปลอยมันจะกลับไปมีขนาดเทาเดิม 2. การเปลียนรูปแบบพลาสติกหรือความเครียดแบบคงรูป (Plastic Deformation or Plastic Strain) เปน ่ การเปลียนรูปที่ถึงแมวาจะปลดแรงกระทํานั้นออกแลววัสดุก็ยังคงรูปรางตามที่ถูกเปลี่ยนไปนัน โดย ่ ้ อะตอมที่เคลื่อนที่ไปแลวจะไมกลับไปตําแหนงเดิม วัสดุทุกชนิดจะมีพฤติกรรมการเปลียนรูปทั้งสองชนิดนีขึ้นอยูกับแรงที่มากระทํา หรือความเคนวามีมากนอย ่ ้ เพียงใด หากไมเกินพิกัดการคืนรูป (Elastic Limit) แลว วัสดุนั้นก็จะมีพฤติกรรมคืนรูปแบบอิลาสติก (Elastic Behavior) แตถาความเคนเกินกวาพิกัดการคืนรูปแลววัสดุกจะเกิดการเปลี่ยนรูปแบบถาวรหรือแบบพลาสติก ็ (Plastic Deformation) นอกจากความเครียดทั้ง 2 ชนิดนีแลว ยังมีความเครียดอีกประเภทหนึ่งซึ่งพบในวัสดุประเภทโพลีเมอร เชน ้ พลาสติก เรียกวาความเครียดกึ่งอิลาสติกจะมีลักษณะที่เมือปราศจากแรงกระทําวัสดุจะมีการคืนรูป แตจะไม ่ กลับไปจนมีลกษณะเหมือนเดิม การวัดและคํานวณหาคาความเครียดมีอยู 2 ลักษณะคือ ั 2.1 ความเครียดตามยาวหรือความเครียดเชิงเสน (Linear Strain) สัญลักษณ คือ ε จะเกิดขึ้นเมื่อแรงที่มา กระทํามีลกษณะเปนแรงดึงหรือแรงกด คาของความเครียดจะเทากับความยาวที่เปลียนไปตอความยาวเดิม อยางไร ั ่ ก็ตามโดยทัวไปคาความเครียดเชิงเสนนี้จะขึ้นอยูกับตําแหนงของวัสดุ และอาจคํานวณไดโดยการพิจารณาการยืด ่  ตัวของชิ้นสวน dL เล็กๆ ณ ตําแหนงนั้นๆ จากรูปชิ้นสวน dL มี dδ dL ความเครียดเทากับ ε = dL + dδ dL เมื่อ dδ คือความยาวที่ รูปที่ 7 แสดงการยืดของชิ้นสวน dL ใดๆในวัตถุเมื่อไดรับความความเคนดึง เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมของ dδ ความเครียดเชิงเสน ณ ตําแหนงใดๆ เปนไปตามสมการ ε = ชิ้นสวน dL dL สาขาวิชาฟสิกส โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
  • 6. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ว30202 สมบัติเชิงกลของสาร 6 โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ ถาหากชิ้นสวนที่รับแรงดึงมีพื้นที่หนาตัดคงที่ตลอดความยาว มีคณสมบัตเิ ปนเนื้อเดียวกันตลอด และแรงดึง ุ กระทําผานจุดศูนยถวงของหนาตัด ความเครียดตามยาวที่เกิดขึ้นจะมีคาคงที่ มีคาเทากับความเครียดเฉลีย ดังนี้  ่ วัตถุมีความยาวเดิมเปน L0 และมี ความยาวเปลี่ยนไปจากเดิม เปน δ = L − L0 เมื่อไดรับความเคน F F ความเครียดเฉลี่ยมีคาเทากับ รูปที่ 8 ความเครียดตามยาวเฉลี่ย δ ε= L0 2.2 ความเครียดเฉือน ความเครียดเฉือน (Shear Strain) ใชกับกรณีที่แรงที่กระทํามีลักษณะเปนแรงเฉือน ( τ ) ดังรูป คาของ ความเครียดจะเทากับระยะที่เคลื่อนที่ไปตอระยะหางระหวางระนาบ ดังสมการ a γ = h เมื่อ γ = tan θ ≈ θ (หนวย radian ในกรณีทเี่ ปนมุมเล็กๆ) a = ระยะทีเ่ คลื่อนไป (displacement ) h = ระยะหางระหวางระนาบ θ = มุมที่เปลี่ยนไป รูปที่ 9 ความเครียดเฉือน จะเห็นไดวาคาของความเครียดทั้งสองแบบไมมีหนวย เพราะตัวตั้งและตัวหารมีหนวยเปนความยาวอยูแลว  3. ความสัมพันธระหวางความเคนกับความเครียด (Stress-Strain Relationship) ในการแสดงความสัมพันธระหวางความเคนและความเครียด ในที่นี้เราจะใชเสนโคงความเคน-ความเครียด (Stress-Strain Curve) ซึ่งไดจากการทดสอบแรงดึง (Tensile Test) เปนหลัก โดยจะพลอตคาของความเคนในแกน ตั้งและความเครียดในแกนนอน ดังรูปที่ 10 การทดสอบแรงดึงนอกจากจะใหความสัมพันธระหวางความเคน- ความเครียดแลว ยังจะแสดงความสามารถในการรับแรงดึงของวัสดุ ความเปราะ เหนียวของวัสดุ (Brittleness สาขาวิชาฟสิกส โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
  • 7. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ว30202 สมบัติเชิงกลของสาร 7 โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ and Ductility) และบางครั้งอาจใชบอกความสามารถในการขึ้นรูปของวัสดุ (Formability) ไดอีกดวย รูปที่ 10 เสนโคงความเคน-ความเครียด (Stress-Strain Curve) แบบมีจุดคราก (Yield Point) การทดสอบแรงดึง (Tension Test) วิธการทดสอบนั้น เราจะนําตัวอยางทีจะทดสอบมาดึงอยางชา ๆ แลวบันทึกคาของความเคนและ ี ่ ความเครียดทีเ่ กิดขึ้นไว แลวมาพลอตเปนเสนโคงดังรูปที่ 10 ขนาดและรูปรางของชินทดสอบมีตาง ๆ กัน ขึ้นอยู ้ กับชนิดของวัสดุนั้น ๆ มาตรฐานตาง ๆ ของการทดสอบ เชน มาตรฐานของ ASTM (American Society of Testing and Materials), BS (British Standards), JIS (Japanese Industrial Standards) หรือแมแต มอก. (มาตรฐาน ผลิตภัณฑอตสาหกรรมไทย) ไดกําหนดขนาดและรูปรางของชิ้นทดสอบไว ทั้งนี้เพือใหผลของการทดสอบเชื่อถือ ุ ่ ได พรอมกับกําหนดความเร็วในการเพิ่มแรงกระทําเอาไวดวย  จากการศึกษาเสนโคงความเคน-ความเครียด เราพบวา เมื่อเราเริ่มดึงชินทดสอบอยางชา ๆ ชิ้นทดสอบ ้ จะคอย ๆ ยืดออก จนถึงจุดจุดหนึ่ง (จุด A) ซึ่งในชวงนี้ความสัมพันธระหวางความเคน-ความเครียดจะเปนสัดสวน คงที่ ทําใหเราไดกราฟที่เปนเสนตรง ตามกฎของฮุค (Hook's law) ซึ่งกลาววาความเคนเปนสัดสวนโดยตรงกับ ความเครียด จุด A นี้ เรียกวาพิกดสัดสวน (Proportional Limit) และภายใตพกัดสัดสวนนี้ วัสดุจะแสดงพฤติกรรม ั ิ การคืนรูปแบบอิลาสติก (Elastic Behavior) นั่นคือเมื่อปลอยแรงกระทํา ชิ้นทดสอบจะกลับไปมีขนาดเทาเดิม เมื่อเราเพิ่มแรงกระทําตอไปจนเกินพิกดสัดสวน เสนกราฟจะคอย ๆ โคงออกจากเสนตรง วัสดุหลายชนิดจะยังคง ั แสดงพฤติกรรมการคืนรูปไดอีกเล็กนอยจนถึงจุด ๆ หนึง (จุด B) เรียกวา พิกัดยืดหยุน (Elastic limit) ซึ่งจุดนี้จะ ่  เปนจุดกําหนดวาความเคนสูงสุดที่จะไมทําใหเกิดการแปรรูปถาวร (Permanent Deformation or Offset) กับวัสดุ สาขาวิชาฟสิกส โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
  • 8. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ว30202 สมบัติเชิงกลของสาร 8 โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ นั้น เมื่อผานจุดนี้ไปแลววัสดุจะมีการเปลียนรูปอยางถาวร (Plastic Deformation) ลักษณะการเริ่มตนของ ่ ความเครียดแบบพลาสติกนีเ้ ปลี่ยนแปลงไปตามชนิดของวัสดุในโลหะหลายชนิด เชน พวกเหล็กกลาคารบอนต่ํา (Low Carbon Steel) จะเกิดการเปลี่ยนรูปอยางรวดเร็ว โดยไมมีการเพิ่มความเคน (บางครั้งอาจจะลดลงก็ม) ที่จด C ี ุ ซึ่งเปนจุดที่เกิดการเปลียนรูปแบบพลาสติก จุด C นี้เรียกวาจุดคราก (Yield Point) และคาของความเคนที่จุดนี้ ่ เรียกวา ความเคนจุดคราก (Yield Stress) หรือ Yield Strength คา Yield Strength นี้มีประโยชนกับวิศวกรมาก เพราะเปนจุดแบงระหวางพฤติกรรมการคืนรูปกับพฤติกรรมการคงรูป และในกรณีของโลหะจะเปนคาความ แข็งแรงสูงสุดที่เราคงใชประโยชนไดโดยไมเกิดการเสียหาย วัสดุหลายชนิดเชน อะลูมเิ นียม ทองแดง จะไมแสดงจุดครากอยางชัดเจน แตเราก็มวิธีทจะหาไดโดย ี ี่ กําหนดความเครียดที่ 0.10 - 0.20% ของความยาวกําหนดเดิม (Original Gage Length) แลวลากเสนขนานกับกราฟ ชวงแรกไปจนตัดเสนกราฟทีโคงไปทางดานขวา ดังรูปที่ 11 คาความเคนที่จุดตัดนี้จะนํามาใชแทนคาความเคนจุด ่ ครากได ความเคนที่จุดนี้บางครั้งเรียกวา ความเคนพิสูจน (Proof Stress) หรือความเคน 0.1 หรือ 0.2% offset ดัง แสดงในรูปที่ 11 ความเคน ความเครียดพิสูจน ความเครียด 0.1 – 0.2 % รูปที่ 11 เสนโคงความเคน-ความเครียดแบบที่ไมมีจุดคราก หลังจากจุดครากแลว วัสดุจะเปลียนรูปแบบพลาสติกโดยความเคนจะคอย ๆ เพิ่มอยางชา ๆ หรืออาจจะคงทีจนถึง ่ ่ จุดสูงสุด (จุด D) คาความเคนที่จุดนีเ้ รียกวา Ultimate Strength หรือความเคนแรงดึง (Tensile Strength) ซึ่งเปนคา ความเคนสูงสุดที่วัสดุจะทนไดกอนทีจะขาดหรือแตกออกจากกัน (Fracture) เนื่องจากวัสดุหลายชนิดสามารถ ่ เปลี่ยนรูปอยางพลาสติกไดมาก ๆ คาความเคนสูงสุดนีสามารถนํามาคํานวณใชงานได นอกจากนี้ คานี้ยังใชเปน ้ ดัชนีเปรียบเทียบคุณสมบัติของวัสดุไดดวยวา คําวา ความแข็งแรง (Strength) ของวัสดุ หรือ กําลังวัสดุนั้น โดยทั่วไป จะหมายถึงคาความเคนสูงสุดที่วัสดุทนไดนี้เอง สาขาวิชาฟสิกส โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
  • 9. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ว30202 สมบัติเชิงกลของสาร 9 โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ ที่จุดสุดทาย (จุด E) ของกราฟ เปนจุดทีวัสดุเกิดการแตกหรือขาดออกจากกัน (Fracture) สําหรับโลหะ ่ บางชนิด เชน เหล็กกลาคารบอนต่ําหรือโลหะเหนียว คาความเคนประลัย (Rupture Strength) นี้จะต่ํากวาความเคน สูงสุด เพราะเมื่อเลยจุด D ไป พื้นที่ภาคตัดขวางของตัวอยางทดสอบลดลง ทําใหพนที่จะตานทานแรงดึงลดลงดวย ื้ ในขณะที่เรายังคงคํานวณคาของความเคนจากพื้นที่หนาตัดเดิมของวัสดุกอนที่จะทําการทดสอบแรงดึง ดังนั้นคา ของความเคนจึงลดลง สวนโลหะอืน ๆ เชน โลหะทีผานการขึ้นรูปเย็น (Cold Work) มาแลว มันจะแตกหักที่จด ่ ่ ุ ความเคนสูงสุด โดยไมมการลดขนาดพื้นที่ภาคตัดขวาง ดังรูป 12 a ทํานองเดียวกับพวกวัสดุเปราะ (Brittle ี Materials) เชน เซรามิค ที่มการเปลียนรูปอยางพลาสติกนอยมากหรือไมมีเลย สวนกรณีของวัสดุที่เปนพลาสติกจะ ี ่ เกิดแตกหักโดยที่ตองการความเคนสูงขึ้น ดังรูป 12 b ความเคน ความเคน ความเครียด ความเครียด 12 a วัสดุเปราะ 12 b วัสดุพลาสติก รูปที่ 12 เปรียบเทียบเสนโคงความเคน-ความเครียดของวัสดุเปราะและวัสดุพลาสติก เสนโคงความเคน-ความเครียดนี้ นอกจากจะใชบอกคาความแข็งแรง ณ จุดคราก (Yield Strength) ความเคนสูงสุด และความเคนประลัยแลว ยังจะใชบอกคาตาง ๆ ไดอกดังนี้ คือ ี 3.1 ความเหนียว (Ductility) คาที่ใชวัดจะบอกเปนเปอรเซนต การยืดตัว (Percentage Elongation) และการ ลดพืนที่ภาคตัดขวาง (Reduction of Area) ในทางปฏิบัตเิ รามักใชคา %El มากกวาเพราะสะดวกในการวัด ความ ้ เหนียวของวัสดุนี้จะเปนตัวบอกความสามารถในการขึ้นรูปของมัน คือถาวัสดุมความเหนียวดี (%El สูง) ก็สามารถ ี นําไปขึ้นรูป เชน รีด ตีขึ้นรูป ดึงเปนลวด ฯลฯ ไดงาย แตถามีความเหนียวต่ํา (เปราะ , Brittle) ก็จะนําไปขึ้นรูปยาก  หรือทําไมได เปนตน 3.2. Modulus of Elasticity or Stiffness ภายใตพกัดสัดสวนซึ่งวัสดุมีพฤติกรรมเปนอิลาสติก อัตราสวน ิ ระหวางความเคนตอความเครียดจะเทากับคาคงที่ คาคงที่นี้เรียกวา Modulus of elasticity (E) หรือ Young's สาขาวิชาฟสิกส โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
  • 10. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ว30202 สมบัติเชิงกลของสาร 10 โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ Modulus หรือ Stiffness มักมีหนวยเปน ksi (1 ksi=1000 psi) หรือ kgf/mm2 หรือ GPa ถาแรงที่มากระทําเปนแรง เฉือนเราเรียกคาคงที่นี้วา Shear Modulus หรือ Modulus of Rigidity (G) คา E และ G ของวัสดุแตละชนิดจะมี คาเฉลี่ยคงที่ และเปนตัวบอกความสามารถคงรูป (Stiffness, Rigidity) ของวัสดุ นั่นคือ ถา E และ G มีคาสูง วัสดุ  จะเปลี่ยนรูปอยางอิลาสติกไดนอย แตถา E และ G ต่ํา มันก็จะเปลียนรูปอยางอิลาสติกไดมาก คา E และ G นี้มี ่ ประโยชนมากสําหรับงานออกแบบวัสดุที่ตองรับแรงตาง ๆ ตารางที่ 1 จะแสดงตัวอยางคา E ของวัสดุ ตางๆ  ตารางที่ 1 ตัวอยางคามอดุลสของยังสําหรับวัสดุบางชนิด ั วัสดุ มอดุลัสของยัง , E ( x 1011 N/m2 ) ตะกัว่ 0.16 แกว 0.55 อลูมิเนียม 0.70 ทองเหลือง 0.91 ทองแดง 1.1 เหล็ก 1.9 เหล็กกลา 2.0 ทังสเตน 3.6 การคํานวณหาคามอดุลัสของยัง คามอดุลัสของยัง คืออัตราสวนระหวางความเคนตอความเครียด มีความสัมพันธตามสมการ F σ E= เมื่อแทนคาความเคนและความเครียด จะไดวา  E= A ε Δl L0 F L0 E= ⋅ A δ เมื่อ E หมายถึง คามอดุลัสของยัง ( Young’s Modulus ) มีหนวยเปน N/m2 F หมายถึง แรงเคน มีหนวยเปน N A หมายถึง พื้นที่หนาตัด มีหนวยเปน m2 L0 และ δ หมายถึง ความยาวของวัตถุเดิมและความยาวที่เปลี่ยนแปลงตามลําดับมีหนวยเปน m สาขาวิชาฟสิกส โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
  • 11. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ว30202 สมบัติเชิงกลของสาร 11 โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ *** การคํานวณระยะยืดกรณีที่วตถุมีพื้นที่หนาตัดไมสม่ําเสมอ ั dL dL + dδ กรณีที่วตถุมีพนที่หนาตัดไมสม่ําเสมอ เราจะพิจารณาจากสวนเล็กๆในวัตถุที่มีความยาว dL เมื่อไดรบ ั ื้ ั แรงเคนตามยาวดังรูปทําใหวตถุยดออกโดยแตละสวน dL เล็กๆ จะยืดออกเปนระยะ dδ ตางๆกันขึนอยูกับ ั ื ้  พื้นที่หนาตัดของชิ้นสวน dL ดังนั้นในการหาระยะยืดทั้งหมดของวัตถุ จึงตองอาศัยการอินทิเกรตตลอดความยาว ของวัสดุ กรณีออกแรงเคนกระทําตอวัตถุ และวัตถุยังคงมีสภาพยืดหยุนเปนไปตามกฎของฮุก จะสามารถ  คํานวณหาระยะยืดทั้งหมดของวัสดุ( δ ) ไดดงนี้ ั จากนิยามของความเครียด dδ ε= dL จะไดวา dδ = εdL σ เมื่อแทนคาจากนิยามของความเคน E= ε จะได σ dL dδ = E σ F ดังนั้นความยาวที่ยดออกทั้งหมด ื δ =∫ dL = ∫ dL L E L AE FL ในกรณีท่ี F และ A คงที่ จะไดวา δ= AE ตัวอยางการคํานวณเรืองสมบัติเชิงกลของของแข็ง ่ ตัวอยาง 1 ลวดทองแดงเสนหนึ่งยาว 4 เมตร มีพนที่ภาคตัดขวาง 1 x 10-8ตารางเมตร มีคายังมอดุลัสเปน 1.1 x 1011 ื้ นิวตันตอตารางเมตร จะตองออกแรงดึงเทาใดจึงจะทําใหลวดเสนนียดออกอีก 1 มิลลิเมตร ้ื F L0 A ⋅ E ⋅δ แนวคิด หาแรงที่ใชในการดึงลวดจาก E= ⋅ จะได F= A δ L0 จากโจทย L0= 4 m , A = 1 x 10-8 m2 , E = 1.1 x 1011 N/m2 , δ = 1 x 10-3 m −8 (m 2 ) ⋅ 1.1x1011 ( Nm −2 ) ⋅ 1x10 −3 (m) แทนคา F = 1x10 = 0.275 N 4(m) ตอบ 0.275 นิวตัน สาขาวิชาฟสิกส โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
  • 12. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ว30202 สมบัติเชิงกลของสาร 12 โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ ตัวอยางที่ 2 สายเคเบิลเหล็กมีพื้นที่ภาคตัดขวาง 3.0 x 10-4 ตารางเมตร ผูกติดกับลิฟทซึ่งหนัก 8000 นิวตัน ถาใน การใชลฟทกาหนดใหความเคนที่กระทํากับสายเคเบิลมีคาไมเกิน 0.25 ของขอบเขตความยืดหยุน จง ิ ํ  หาคาความเรงสูงสุดในการเคลื่อนที่ขึ้นของลิฟท ถาสายเคเบิลเหล็กมีคาขอบเขตความยืดหยุน 2.8 x 108 นิวตันตอตามรางเมตร แนวคิด เขียนแรงที่เกิดขึ้นกับตัวลิฟท จาก F σ = หรือ F = σA A F แทนคา F = 0.25 x 2.8 x 108x 3.0 x 10-4 N F = 2.1 x 104 N หาคาความเรงจาก ∑ F = ma m=800 kg แทนคา F − (800 x9.8) = 800 ⋅ a 21,000 − 7,840 = 800a 800 x 9.8 N a= 13,160 800 a = 16.45m/s 2 ตอบ ลิฟทเคลือนที่ดวยความเรงสูงสุดไดไม ่ เกิน 16.45 เมตร/วินาที2 ตัวอยางที่ 3 ลวดเหล็กดึงลิฟทมความเคนทีขีดจํากัดความยืดหยุนเทากับ 2 x 108 นิวตันตอตารางเมตร และมี ี ่ พื้นที่หนาตัด 2.0 x 10-4 เมตร2 ถาลิฟทมีสมภาระมวล 2,000 กิโลกรัม ลิฟทนี้สามารถเคลื่อนที่ดวย ั  2 2 ความเรงสูงสุดเทาใด ลวดจึงจะไมยืดเกินขีดจํากัด กําหนดคา g = 9.8 m/s ( 10.2 เมตร/วินาที ) สาขาวิชาฟสิกส โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
  • 13. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ว30202 สมบัติเชิงกลของสาร 13 โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ ตัวอยางที่ 4 ลวดทําดวยโลหะตางชนิดกันสองเสนยาวเทากัน มีพื้นที่หนาตัดเปน 0.1 และ 0.18 ตารางเซนติเมตร เมื่อดึงลวดทั้งสองดวยแรงเทากัน มันจะยืดออกยาวเทากับ 0.3 และ 0.2 เซนติเมตร ตามลําดับ จงหา อัตราสวนของมอดุลสของยังของลวดเสนทีหนึ่ง ตอมอดุลลัสของยังของลวดเสนที่สอง ( 6/5 ) ั ่ ตัวอยางที่ 5 ลูกตุมมีมวล 20 กิโลกรัม สายแขวนลูกตุมเปนลวดเหล็กยาว 10 เมตร มีพนที่ภาคตัดขวาง 5 x 10-6 ตา  ื้ รางแมตร ปลอยใหลูกตุมแกวงเปนมุมกวาง โดยมีอัตราเร็วที่จุดต่ําสุด 10 เมตร/วินาที ความยาวของ เสนลวดที่ยดเพิ่มขึ้นจากเมื่อแขวนอยูนิ่งมีคาเทาใด ใหมอดุลสยังของเหล็กมีคาเทากับ 20 x 1010 นิว ื ั ตัน/ตารางเมตร ( 2 x 10-3 m ) สาขาวิชาฟสิกส โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
  • 14. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ว30202 สมบัติเชิงกลของสาร 14 โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ ตัวอยางที่ 6 จงคํานวณหาระยะยืดของวัตถุเนื่องจากแรงภายนอกขนาด 100 กิโลนิวตัน ที่กระทําที่ปลายทั้งสอง ดานของแผนวัตถุหนา 20 มิลลิเมตร ยาว 10 เมตร โดยมีความของปลายสองดานไมเทากัน ดานหนึ่ง กวาง 40 มิลลิเมตร และปลายอีกดานหนึ่งกวาง 120 มิลลิเมตร ดังแสดงในรูป เมื่อวัตถุมีคามอดุลส  ั ของยังเปน 200 จิกะพาสคัล y กวาง 40 มิลลิเมตร หนา 20 มิลลิเมตร y กวาง 120 มิลลิเมตร x F = 100 กิโลพาสคัล F = 100 กิโลพาสคัล x dx 10 เมตร กําหนด ∫ 1 dx = ln x และ du ( x) = d u ( x) ⋅ dx x dx แนวคิด เนื่องจากวัตถุมีพ้นที่หนาตัดไมสม่ําเสมอจึงหาความยาวที่เปลี่ยนแปลงโดยการอินทิเกรต ื σ F จาก δ = ∫ dL = ∫ dL และ A = xy L E L AE …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. สาขาวิชาฟสิกส โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ