SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
INT. TEERAPHAN KHAMJAROEN
KCHOSP AUG 2018
Ref. :Essential of clinical Rheumatology 2017, CPG Thai 2557
causes
1. Hereditary : FHx of RA increased risk for 3 – 5 times, HLA-DR4 genes (Chr 6, MHC),
Allele HLA-DRB1*0405 in Eastern Asia include Thailand (increase risk 3.84x)
2. Epigenetics (กระบวนการเหนือพันธุกรรม) : การปป.ของ gene ที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม โดยไม่มีการปป.ของลาดับ
หรือตน.ของ DNA มีผลต่อ DNA methylation, microRNA
3. Environment:
• Smoking – ชายที่มี RF+ และสูบบุหรี่จะมีโอกาสเป็น RA มากกว่าอีกกลุ่ม 2x และในหญิงจะมีความเสี่ยงมากกว่า 1.3x , smoking จะ
การสร้าง Ab ต่อ citrullinated peptide  ACPA, เพิ่ม oxidative stress, เพิ่ม apoptosis, เพิ่ม cytokine และเพิ่ม
severity ของโรค RA มากกว่าคนที่ไม่สูบ
• Infection – Virus (EBV, Parvovirus B19, Rubella, CMV, HSV, Retrovirus), Bacteria (Chlamydia,
Mycloplasma, Proteus mirabilis, E.coli, Porphyromonas gingialis <ก่อให้เกิด periodontal dz>) เชื้อพวกนี้จะมี
molecular mimicry โดยทีส่วน amino QKRAA เรียงตัวเหมือนที่อยู่บนยีน HLA-DRB1 กระตุ้นให้ข้ออักเสบ
4. Hormone: F > M : 2x – 3x , elder > younger, peak 45 – 49 yrs (postmenopause), โรค
สงบในช่วง E และ P สูง, มีรายงานว่าการใช้ OCP ช่วยป้ องกัน RA ได้
Clinical S&S
• “เช้า-3-เท่า-มือ-ตุ่ม-ตอย-ฟิล์ม”
• Symmetrical, M/C small jt.
• Morning jt. Stiffness > 1 hr
• Flexion contracture
• Ulnar deviation
• Swan neck deformity
• Boutonniere deformity
• Extensor tendon rupture
• Joint ankylosis (Late)
• Cock up toe deformity
: M/C, extensor surface
• : keratoconjunctivitis sicca (15-20%) ถ้ามี
xerosomia (ปากแห้ง น้าลายน้อย) ด้วย = Sjoren’s syndrome
ซึ่งจัดเป็น 2o Sjoren ในกลุ่มนี้, Episcleritis, scleromalacia
perforans
: ACD (75%), IDA (15%), Megaloblastic
anemia ในคนที่ได้ MTX, Thrombocytosis, eosinophilia ใน
ระยะกาเริบ, Felty’s syndrome (1%) พบใน chronic RA มี
neutropenia < 1500, thrombocytopenia,
splenomegaly มีกมี RN, vasculitis, chronic wound ที่ขา
เพิ่ม risk infxn และสัมพันธ์กับ HLA-DR4, lymphadenopathy
ใกล้บริเวณข้อที่อักเสบ, paraproteinemia
• : Pleuritis, Interstitial pneumonitis (ILD) เป็น UIP หรือ
NSIP ก็ได้, pulmonary nodule, PHT (30%)
: pericarditis, pericardial effusion (30%),
atherosclerosis
• : rare, มักพบในคนไข้ที่ได้ยา gold salt, penicillamine ทา
ให้เกิด MN, ในกลุ่มที่ได้ NSAIDs อาจมี AIN, amyloidosis,
papillary necrosis
: พบได้น้อย แต่พบได้หลากหลายแบบ
: พบได้บ่อย โดยเฉพาะใน end-stage dz
• : บริเวณรอบข้อและพบ muscle atrophy,
steroid myopathy
Film: marginal erosion, joint space narrowing, juxta-articular
osteopenia, malalignment, joint subluxation
Boutonniere deformity
Swan neck deformity
Ulnar deviation
Rheumatoid nodule
ACR-EULAR 2010: Se 58-85%, Sp 44-89%
Se. ดีกว่า จึงนิยมกว่า และ Rx ได้เร็วกว่า ทาให้ประสิทธิภาพในการรักษาดีกว่า
:
- เป็น TOC ให้ใช้ สัปดาห์ละครั้ง, ออกฤทธิ์ที่ 6-8 wk ควรให้ folic ร่วม 1-5
mg/d เพื่อลด SE, ห้ามในขณะ infxn, Pregnancy, Lactation
- แบ่งให้ bid มี GI SE ค่อนข้างมากจึงควรให้ folic ร่วม, peak ที่ 2-3 mo.,
ห้ามให้ในคนที่แพ้ Sulfa, ASA,G6PDD, Lactation แต่ให้ใน pregnancy ได้
- effectiveness ต่าสุดในกลุ่ม มักใช้เสริม MTX, peak ที่ 2-3 mo.,
ยาจะสะสมที่ skin และ macula ทาให้เกิด Bull’s eye maculopathy ตามัว
หรือบอดได้ irreversible ใช้ได้ใน pregnancy, Renal/Liver dz แต่ควรปรับ
dose, ไม่ควรใช้ใน Lactation
F/U assessment
• Clinical
• SE of Tx
• Pain and Severity of dz: PAS, PAS II, RAPID3, CDAI, SDAI, DAS28 ,DAS28-ESR, DAS28-CRP แต่ที่แนะนาให้ใช้คือ
ACR/EULAR Boolean หรือ index base
definition:
• โรคสงบ คือ จานวนข้อกดเจ็บ ≤ 1 ข้อ, จานวนข้อบวม ≤ 1 ข้อ, CRP < 1 mg/dL และ
• PGA < 1 ใน visual analog scale
: โรคสงบ คือ SDAI ≤ 3.3
: เพื่อบรรเทาอาการปวด และลด joint stiffness เพิ่ม
ROM และ muscle strengthening
- การแช่น้าอุ่น พาราฟิน
- คลื่น ultrasound
- QD exercise
Conclusion: Rheumatoid arthritis
Chronic polyarthritis: อาการและตาแหน่งเข้าได้กับ RA
Criteria dx:
ACR/EULAR 2010
ACR 1987
RF, ACPA
ESR or CRP
Film hands or feet
DDx อย่างอื่น: Gout, Septic arthritis, CNT dz อื่นๆ
-Uric, CBC, UA, ANA, HBsAg, AntiHCV, AntiHIV
-Synovial fluid profiles
Definite Treatment modality
Pain control:
-NSAIDs
-Tramol
-Tramol+Para
Pred 7.5 mg/d
เมื่อมีข้อบ่งชี้:
-อาการรุนแรงจนทากิจวัตรประจาวัน/ทางาน ไม่ได้
-ไม่ตอบสนองต่อ NSAIDs
-มีข้อห้ามในการให้ NSAIDs เช่น โรคไต, โรคตับ
DMARDs: MTX, SSZ, HCQ, CQ
Start Max ปรับทีละ ปรับยาทุก
MTX (mg/wk)
ให้ยา wkly
5 – 7.5 10 2.5 4 – 12 wk
SSZ (mg/d) 1000 2000 500 4 – 12 wk
CQ (mg/d) 125 – 250 250 125 12 wk
HCQ (mg/d) 200 400 200 12 wk
PT
มี poor prognostic factors?:
-ข้อบวมหลายข้อ
-ROM ของข้อจากัดมากๆ
-มี extra-articular sx : rheumatoid nodule,
vasculitis
-RF หรือ ACPA +ve
-ESR หรือ CRP สูง
-มี erosion,osteopenia จาก film
ใช้ combinationติดตามอาการ และ SE ของยา ทุก 1 – 3 เดือน
Remission นานอย่างน้อย 6 เดือน: SDAI ≤3.3 หรือ PGA < 1
และมีข้อกดเจ็บและบวมไม่เกิน 1 ข้อและ CRP < 1 (ถ้าไม่มี CRP ให้ใช้
ESR แทน)  ให้ลดยา
มีข้อบ่งชี้ในการ refer?:
-ไม่แน่ใจ dx
-มี comp จาก dz หรือ extra-articular sx ที่รุนแรง
-multiple co-morbidity
-ไม่ตอบสนองต่อ high dose DMARD นานอย่างน้อย 3 – 6 เดือน
-off Pred ไม่ได้ภายใน 6 -12 เดือน
-มี comp จากการรักษา
-Pregnancy or Lactation
หลังเริ่มยา ก่อนเริ่มยา
ไม่เข้าเกณฑ์

More Related Content

Similar to Rheumatoid arthritis

Nle step 2_2009 si115-116 and nle_step_2_2009 nctms editors cut key
Nle step 2_2009 si115-116 and nle_step_2_2009 nctms editors cut keyNle step 2_2009 si115-116 and nle_step_2_2009 nctms editors cut key
Nle step 2_2009 si115-116 and nle_step_2_2009 nctms editors cut keyLoveis1able Khumpuangdee
 
Nt2009 Complete Ans
Nt2009 Complete AnsNt2009 Complete Ans
Nt2009 Complete Ansvora kun
 
Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015Utai Sukviwatsirikul
 
Thai guideline on the hypertension 2015
Thai  guideline on the hypertension 2015Thai  guideline on the hypertension 2015
Thai guideline on the hypertension 2015Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูง 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูง 2558แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูง 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูง 2558Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555Utai Sukviwatsirikul
 
Pulmonary hypertension definition and classification in Thai
Pulmonary hypertension definition and classification in ThaiPulmonary hypertension definition and classification in Thai
Pulmonary hypertension definition and classification in ThaiThorsang Chayovan
 
Guidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaGuidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaUtai Sukviwatsirikul
 
Guidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaGuidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaUtai Sukviwatsirikul
 
Tuberculosis in OPD case (Thai)
Tuberculosis in OPD case (Thai)Tuberculosis in OPD case (Thai)
Tuberculosis in OPD case (Thai)Patinya Yutchawit
 
Topic discussion-1230451515031376-1
Topic discussion-1230451515031376-1Topic discussion-1230451515031376-1
Topic discussion-1230451515031376-1Sevda Mut
 

Similar to Rheumatoid arthritis (20)

Nle step 2_2009 si115-116 and nle_step_2_2009 nctms editors cut key
Nle step 2_2009 si115-116 and nle_step_2_2009 nctms editors cut keyNle step 2_2009 si115-116 and nle_step_2_2009 nctms editors cut key
Nle step 2_2009 si115-116 and nle_step_2_2009 nctms editors cut key
 
Nt2009 Complete Ans
Nt2009 Complete AnsNt2009 Complete Ans
Nt2009 Complete Ans
 
Triage
TriageTriage
Triage
 
Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015
 
Thai guideline on the hypertension 2015
Thai  guideline on the hypertension 2015Thai  guideline on the hypertension 2015
Thai guideline on the hypertension 2015
 
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
 
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูง 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูง 2558แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูง 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูง 2558
 
Dangue fever pp
Dangue fever ppDangue fever pp
Dangue fever pp
 
Acute Mi
Acute MiAcute Mi
Acute Mi
 
Dm foot
Dm footDm foot
Dm foot
 
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
 
Pulmonary hypertension definition and classification in Thai
Pulmonary hypertension definition and classification in ThaiPulmonary hypertension definition and classification in Thai
Pulmonary hypertension definition and classification in Thai
 
Meningitis And Encephalitis
Meningitis And EncephalitisMeningitis And Encephalitis
Meningitis And Encephalitis
 
Guidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaGuidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemia
 
Guidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaGuidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemia
 
Tuberculosis in OPD case (Thai)
Tuberculosis in OPD case (Thai)Tuberculosis in OPD case (Thai)
Tuberculosis in OPD case (Thai)
 
Septic Shock
Septic ShockSeptic Shock
Septic Shock
 
solitary thyroid nodule
solitary thyroid nodulesolitary thyroid nodule
solitary thyroid nodule
 
Topic discussion-1230451515031376-1
Topic discussion-1230451515031376-1Topic discussion-1230451515031376-1
Topic discussion-1230451515031376-1
 
Hypertension
HypertensionHypertension
Hypertension
 

Rheumatoid arthritis

  • 1. INT. TEERAPHAN KHAMJAROEN KCHOSP AUG 2018 Ref. :Essential of clinical Rheumatology 2017, CPG Thai 2557
  • 2. causes 1. Hereditary : FHx of RA increased risk for 3 – 5 times, HLA-DR4 genes (Chr 6, MHC), Allele HLA-DRB1*0405 in Eastern Asia include Thailand (increase risk 3.84x) 2. Epigenetics (กระบวนการเหนือพันธุกรรม) : การปป.ของ gene ที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม โดยไม่มีการปป.ของลาดับ หรือตน.ของ DNA มีผลต่อ DNA methylation, microRNA 3. Environment: • Smoking – ชายที่มี RF+ และสูบบุหรี่จะมีโอกาสเป็น RA มากกว่าอีกกลุ่ม 2x และในหญิงจะมีความเสี่ยงมากกว่า 1.3x , smoking จะ การสร้าง Ab ต่อ citrullinated peptide  ACPA, เพิ่ม oxidative stress, เพิ่ม apoptosis, เพิ่ม cytokine และเพิ่ม severity ของโรค RA มากกว่าคนที่ไม่สูบ • Infection – Virus (EBV, Parvovirus B19, Rubella, CMV, HSV, Retrovirus), Bacteria (Chlamydia, Mycloplasma, Proteus mirabilis, E.coli, Porphyromonas gingialis <ก่อให้เกิด periodontal dz>) เชื้อพวกนี้จะมี molecular mimicry โดยทีส่วน amino QKRAA เรียงตัวเหมือนที่อยู่บนยีน HLA-DRB1 กระตุ้นให้ข้ออักเสบ 4. Hormone: F > M : 2x – 3x , elder > younger, peak 45 – 49 yrs (postmenopause), โรค สงบในช่วง E และ P สูง, มีรายงานว่าการใช้ OCP ช่วยป้ องกัน RA ได้
  • 3. Clinical S&S • “เช้า-3-เท่า-มือ-ตุ่ม-ตอย-ฟิล์ม” • Symmetrical, M/C small jt. • Morning jt. Stiffness > 1 hr • Flexion contracture • Ulnar deviation • Swan neck deformity • Boutonniere deformity • Extensor tendon rupture • Joint ankylosis (Late) • Cock up toe deformity : M/C, extensor surface • : keratoconjunctivitis sicca (15-20%) ถ้ามี xerosomia (ปากแห้ง น้าลายน้อย) ด้วย = Sjoren’s syndrome ซึ่งจัดเป็น 2o Sjoren ในกลุ่มนี้, Episcleritis, scleromalacia perforans : ACD (75%), IDA (15%), Megaloblastic anemia ในคนที่ได้ MTX, Thrombocytosis, eosinophilia ใน ระยะกาเริบ, Felty’s syndrome (1%) พบใน chronic RA มี neutropenia < 1500, thrombocytopenia, splenomegaly มีกมี RN, vasculitis, chronic wound ที่ขา เพิ่ม risk infxn และสัมพันธ์กับ HLA-DR4, lymphadenopathy ใกล้บริเวณข้อที่อักเสบ, paraproteinemia • : Pleuritis, Interstitial pneumonitis (ILD) เป็น UIP หรือ NSIP ก็ได้, pulmonary nodule, PHT (30%) : pericarditis, pericardial effusion (30%), atherosclerosis • : rare, มักพบในคนไข้ที่ได้ยา gold salt, penicillamine ทา ให้เกิด MN, ในกลุ่มที่ได้ NSAIDs อาจมี AIN, amyloidosis, papillary necrosis : พบได้น้อย แต่พบได้หลากหลายแบบ : พบได้บ่อย โดยเฉพาะใน end-stage dz • : บริเวณรอบข้อและพบ muscle atrophy, steroid myopathy Film: marginal erosion, joint space narrowing, juxta-articular osteopenia, malalignment, joint subluxation
  • 4. Boutonniere deformity Swan neck deformity Ulnar deviation Rheumatoid nodule
  • 5.
  • 6. ACR-EULAR 2010: Se 58-85%, Sp 44-89% Se. ดีกว่า จึงนิยมกว่า และ Rx ได้เร็วกว่า ทาให้ประสิทธิภาพในการรักษาดีกว่า
  • 7.
  • 8.
  • 9. : - เป็น TOC ให้ใช้ สัปดาห์ละครั้ง, ออกฤทธิ์ที่ 6-8 wk ควรให้ folic ร่วม 1-5 mg/d เพื่อลด SE, ห้ามในขณะ infxn, Pregnancy, Lactation - แบ่งให้ bid มี GI SE ค่อนข้างมากจึงควรให้ folic ร่วม, peak ที่ 2-3 mo., ห้ามให้ในคนที่แพ้ Sulfa, ASA,G6PDD, Lactation แต่ให้ใน pregnancy ได้ - effectiveness ต่าสุดในกลุ่ม มักใช้เสริม MTX, peak ที่ 2-3 mo., ยาจะสะสมที่ skin และ macula ทาให้เกิด Bull’s eye maculopathy ตามัว หรือบอดได้ irreversible ใช้ได้ใน pregnancy, Renal/Liver dz แต่ควรปรับ dose, ไม่ควรใช้ใน Lactation
  • 10. F/U assessment • Clinical • SE of Tx • Pain and Severity of dz: PAS, PAS II, RAPID3, CDAI, SDAI, DAS28 ,DAS28-ESR, DAS28-CRP แต่ที่แนะนาให้ใช้คือ ACR/EULAR Boolean หรือ index base definition: • โรคสงบ คือ จานวนข้อกดเจ็บ ≤ 1 ข้อ, จานวนข้อบวม ≤ 1 ข้อ, CRP < 1 mg/dL และ • PGA < 1 ใน visual analog scale : โรคสงบ คือ SDAI ≤ 3.3
  • 11. : เพื่อบรรเทาอาการปวด และลด joint stiffness เพิ่ม ROM และ muscle strengthening - การแช่น้าอุ่น พาราฟิน - คลื่น ultrasound - QD exercise
  • 12. Conclusion: Rheumatoid arthritis Chronic polyarthritis: อาการและตาแหน่งเข้าได้กับ RA Criteria dx: ACR/EULAR 2010 ACR 1987 RF, ACPA ESR or CRP Film hands or feet DDx อย่างอื่น: Gout, Septic arthritis, CNT dz อื่นๆ -Uric, CBC, UA, ANA, HBsAg, AntiHCV, AntiHIV -Synovial fluid profiles Definite Treatment modality Pain control: -NSAIDs -Tramol -Tramol+Para Pred 7.5 mg/d เมื่อมีข้อบ่งชี้: -อาการรุนแรงจนทากิจวัตรประจาวัน/ทางาน ไม่ได้ -ไม่ตอบสนองต่อ NSAIDs -มีข้อห้ามในการให้ NSAIDs เช่น โรคไต, โรคตับ DMARDs: MTX, SSZ, HCQ, CQ Start Max ปรับทีละ ปรับยาทุก MTX (mg/wk) ให้ยา wkly 5 – 7.5 10 2.5 4 – 12 wk SSZ (mg/d) 1000 2000 500 4 – 12 wk CQ (mg/d) 125 – 250 250 125 12 wk HCQ (mg/d) 200 400 200 12 wk PT มี poor prognostic factors?: -ข้อบวมหลายข้อ -ROM ของข้อจากัดมากๆ -มี extra-articular sx : rheumatoid nodule, vasculitis -RF หรือ ACPA +ve -ESR หรือ CRP สูง -มี erosion,osteopenia จาก film ใช้ combinationติดตามอาการ และ SE ของยา ทุก 1 – 3 เดือน Remission นานอย่างน้อย 6 เดือน: SDAI ≤3.3 หรือ PGA < 1 และมีข้อกดเจ็บและบวมไม่เกิน 1 ข้อและ CRP < 1 (ถ้าไม่มี CRP ให้ใช้ ESR แทน)  ให้ลดยา มีข้อบ่งชี้ในการ refer?: -ไม่แน่ใจ dx -มี comp จาก dz หรือ extra-articular sx ที่รุนแรง -multiple co-morbidity -ไม่ตอบสนองต่อ high dose DMARD นานอย่างน้อย 3 – 6 เดือน -off Pred ไม่ได้ภายใน 6 -12 เดือน -มี comp จากการรักษา -Pregnancy or Lactation หลังเริ่มยา ก่อนเริ่มยา ไม่เข้าเกณฑ์