SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
เครื่องใช้ไฟฟ้า จัดทำโดย  ด . ช .  จตุพงษ์  จิตมะโน  เลขที่  2  ม . 3/4 ด . ช .  ชินวัฒน์  ใจบุญ  เลขที่  4  ม . 3/4 ด . ช .  พีระพล  พัดขำ  เลขที่  13  ม . 3/4 ด . ช .  อานันต์  กันคำ  เลขที่  21  ม . 3/4 ด . ช .  ฉัตรมงคล  สังข์อนันต์ เลขที่  22  ม . 3/4
ส่วนประกอบของหลอดไฟฟ้า  หลอดไฟฟ้าแบบธรรมดาหรือหลอดไฟฟ้าชนิดไส้ มีส่วนประกอบทั่วๆไปดังนี้   1 .  หลอดแก้ว  2 .  ไส้หลอดทำด้วยโลหะทังสเตน  3 .  เส้นหลอดต่อเข้ากับไส้หลอด  4 .  ลอดยึดไส้หลอด  5 .  ก้านลวดยึดไส้หลอด  6 .  ขั้นหลอด
ในการประดิษฐ์หลอดไฟฟ้าชนิดนี้ บริษัทผู้ผลิตจะเอาอากาศออกจากหลอดแก้วจนหมด แล้วบรรจุก๊าซอาร์กอนหรือไอโอดีน เข้าไปแทนที่ เพื่ออายุการใช้งานของหลอดนานขึ้น หลอดไฟฟ้าชนิดมีไส้มีหลายขนาดด้วยกัน เช่น  3   วัตต์  25   วัตต์  40   วัตต์  100   วัตต์  เป็นต้น อายุการใช้งานของหลอดไฟฟ้าประมาณ  1000   ชั่วโมง หลอดไฟฟ้าชนิดไส้มี  2   แบบ คือ ขั้วแบบเกลียวแล้วขั้วแบบเขี้ยว  หลักการทำงานของไส้หลอดไฟฟ้า เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลผ่านไส้หลอดที่ทำด้วยทังสเตนที่มีความต้านทานสูง ไส้หลอดจะไม่ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน แต่ด้วยแรงดันไฟฟ้าที่สูง ของกระแสไฟฟ้าจึงดันให้อิเลคตรอนผ่านไส้หลอด การที่ไส้หลอดมีขนาดเล็กมากประกอบกับมีความต้านทางสูง เมื่ออิเลคตรอนอิสระ เคลื่อนที่ผ่านจึง  ทำให้เกิดความร้อนสูงมากจนไส้หลอดเปล่งแสงออกมา  ปัจจุบันไม่นิยมใช้หลอดไฟฟ้าชนิดไส้ เนื่องจากหลอดไฟฟ้าชนิดนี้มีความร้อนสูงและสิ้น เปลืองกำลังไฟฟ้ามาก
หลอดฟลูอเรสเซนต์ ส่วนประกอบของหลอดไฟฟ้า ........  หลอดไฟฟ้าชนิดนี้ มีลักษณะแตกต่างไปจากหลอดไฟฟ้าธรรมชาติชนิดไส้ กล่าวคือ ตัวหลอดทำด้วยแก้ว บางใสกลมยาวรูปทรงกระบอกหรือรูปวงกลม ภายในหลอดแก้วจะสูบอากาศออกเกือบหมด และบรรจุก๊าซอาร์กอนและปรอทไว้เล็กน้อย ที่ผิวด้านในของหลอดฉาบไว้ด้วยสารเคมีบางชนิดที่เปล่งแสงได้ เมื่อได้รับรังสีอัลตร้าไวโอเลต สารเคมีที่มีสมบัติดังกล่าวนี้เรียกว่า  สารเรืองแสง ที่เหลือไส้หลอดแต่ละข้างจะมีขั้วโลหะอาบน้ำยาเพื่อให้กระจายอิเลคตรอนได้ง่าย เมื่อได้รับความร้อนจากไส้หลอดขั้วโลหะเป็นขั้วไฟฟ้าที่เรียกว่า อิเลคโทรด  (  Electrode  )  ซึ่งขั้วไฟฟ้าจะทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อต่อกระแสไฟฟ้าจากวงจรภายนอกเข้าสู่ตัวหลอด  .......  การใช้หลอดฟลูออเรสเซนต์ไม่สามารถต่อเข้ากับวงจรไฟฟ้าในบ้านได้โดยตรงเหมือนกับหลอดไฟฟ้าธรรมดา เพราะจะทำให้หลอดไส้ขาดทันทีที่กระแสไฟฟ้าผ่าน ดังนั้นจึงต้องใช้ต่อร่วมกับอุปกรณ์อื่นอีก ได้แก่ สตาร์ตเตอร์ และบัลลัสต์  (  ที่มา  http :// www . electron . rmutphysics . com / news / index . php?option = com  )
หลอดตะเกียบ หลักการทำงานของหลอดประหยัดพลังงาน  (  หลอดตะเกียบ )  ........  หลอดไฟฟ้าประหยัดพลังงานโดยทั่วไปใช้กับความ ต่างศักย์ ขนาด  230   โวลต์ เมื่อกดสวิตช์เพื่อเปิดไฟ ความต่างศักย์ ที่สตาร์ตเตอร์  ( Starter )  จุดติดอยู่ระหว่าง  250   โวลต์ -  450   โวลต์ ซึ่งทำหน้าที่เป็นตัวจ่ายกระแสไฟฟ้า  ( Glow discharge )  เมื่อกระแสไฟไหลผ่านวงจรผ่าน ขั้วบวกและขั้วลบที่มีแท่งโลหะ  ( Bimetal )  ต่อเชื่อมอยู่ เมื่อกระแสไฟไหลผ่านขั้วทั้งสองแล้ว จะเกิดการไหลของกระแสไฟภายใต้ความต่างศักย์ที่สูงขึ้น ส่งผลให้ขดลวดที่ทำมาจากโลหะทังสเตนปล่อยอิเลคตรอนวิ่งไปชนกับอะตอมของก๊าซในหลอดไฟ  ( Impact ionization )  ทำให้อะตอมของก๊าซเกิดปฏิกิริยาไอออนไนเซชัน  (  เกิดเป็นอนุภาคของก๊าซที่มีขั้ว )  เมื่ออนุภาคที่มีขั้วดังกล่าววิ่งไปชน กับสารเรืองแสง  ( Luminescent substance )  ก็จะเกิดเป็นสเปคตรัมหรือแสง ที่เรามองเห็นนั่นเอง
เครื่องปิงขนมปังและไมโครเวฟ เป็นเครื่องใช้ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานความร้อน โดยใช้หลักการคือ เมื่อปล่อยกระแสไฟฟ้าผ่านขดลวดตัวนำที่มีความต้านทานสูงๆ ลวดตัวนำนั้นจะร้อนจนสามารถนำความร้อนออกไปใช้ประโยชน์ได้ เนื่องจากเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อนมาก จึงสิ้นเปลี่ยน พลังงานไฟฟ้า มากเมื่อเปรียบกับการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทอื่นๆ มื่อใช้ในเวลาที่เท่ากัน   ฉะนั้นขณะใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าให้พลังงานความร้อนจึงควร ใช้ด้วยความระมัดระวัง  ตัวอย่างเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน เช่น เตารีด หม้อหุงข้าว กระทะไฟฟ้า กาต้มน้ำ เครื่องต้มกาแฟ เตาไฟฟ้า ฯลฯ
  วิธีใช้เครื่อดูดฝุ่นให้ประหยัดพลังงานและปลอดภัย 1.  เมื่อใช้แล้วควรเอาฝุ่นผงในถุงทิ้งทุกครั้งเพื่อเครื่องจะได้มีแรงดูดดี และไม่กินไฟ 2.  ซื้อเฉพาะประเภทที่มีสายดินพร้อมมากับปลั๊กไฟ และติดตั้งระบบสายดินที่เต้ารับด้วย ยกเว้นว่าเป็นเครื่องใชไฟฟ้าประเภท  2 3.  ดูข้อควรปฏิบัติในการใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย ,[object Object]
การซื้อตู้เย็นนอกจากจะต้องคำนึงถึงราคาแล้ว ควรจะพิจารณาถึงลักษณะและระบบของตู้เย็น เพื่อประหยัดพลังงาน ดังต่อไปนี้ 1  ควรเลือกซื้อตู้เย็นที่มีสลากประหยัดไฟโดยเป็นสติกเกอร์ติดอยู่ที่ตู้เย็น ซึ่งสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม  ( สมอ )  เป็นผู้ตรวจสอบและรับรองคุณภาพ โดยกำหนดเป็นตัวเลขดังนี้         เลข  5   ดีมาก หมายถึง ประสิทธิภาพสูงสุด   เลข  4  ดีหมายถึง ประสิทธิภาพสูง   เลข  3   ปานกลางหมายถึง ประสิทธิภาพปานกลาง   เลข  2  พอใช้หมายถึง ประสิทธิภาพพอใช้   เลข  1  ต่ำหมายถึง ประสิทธิภาพต่ำ      ,[object Object]
ส่วนประกอบของตู้เย็น แนวคิดพื้นฐานการทำงานของตู้เย็นมาจากหลักการทางฟิสิกส์  โดยใช้หลักที่ว่า  ขณะที่ของเหลวเปลี่ยนสถานะเป็นแก๊ส  มันจะดูดความร้อน  ทดลองทา อัลกฮอลล์ ลงบนผิว  จะรู้สึกเย็น  เพราะว่าอัลกฮอลล์ระเหยได้เร็ว  มันจึงดูดความร้อนออกจากผิวและทำให้เกิดความเย็นขึ้น  ของเหลวที่เราใช้ในตู้เย็น  เรียกว่า สารทำความเย็น  ( refrigerant )  ซึ่งระเหยที่อุณหภูมิต่ำ  ดังนั้นจึงสามารถลดอุณหภูมิภายในตู้เย็นลงต่ำกว่าจุดเยือกแข็งได้ ตู้เย็นมีส่วนสำคัญ  5   ส่วนคือ คอมเพรสเซอร์  ( Compressor )  ท่อแลกเปลี่ยนความร้อน  ส่วนที่เป็นคอยส์ร้อน  มีลักษณะขดไปมาอยู่นอกตู้  วาล์วขยาย  ( Expansion  valve )  ท่อแลกเปลี่ยนความร้อน ส่วนที่เป็นคอยส์เย็น  มีลักษณะขดไปมาอยู่ภายในตู้เย็น  สารทำความเย็น  เป็นของเหลวบรรจุอยู่และไหลเวียนอยู่ภายในตู้  ในวงการอุตสาหกรรม  ส่วนใหญ่จะใช้ แอมโมเนีย  ( Ammonia )  เป็นสารทำความเย็น  แอมโมเนียบริสุทธิ์ระเหยที่อุณหภูมิ  -32   องศาเซลเซียส
กลไกพื้นฐานการทำงานของตู้เย็น 1 . คอมเพรสเซอร์อัดสารทำความเย็นที่อยู่ในสถานะแก๊ส  ทำให้อุณหภูมิและความดันเพิ่มขึ้น  ( สีส้ม )  ผ่านไปยังคอยส์ร้อน  อยู่ด้านหลังตู้เย็น ความร้อนถูกระบายออก  ( ตู้เย็นสมัยใหม่ออกแบบให้สวยงามโดยหลบคอยส์ร้อนไว้ จึงมองไม่เห็น )  2 . สารทำความเย็นถูกเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว  ( สีม่วง )  ไหลผ่านไปยังวาล์วขยาย  (  Expansion valve )  3 . เมื่อผ่านวาล์วขยาย  ความดันจะลดลงอย่างรวดเร็ว  สารทำความเย็นที่อยู่ในสถานะของเหลว เปลี่ยนเป็นแก๊สในทันที  ( สีน้ำเงิน )  4 . สารทำความเย็นไหลผ่านเข้าไปในคอยส์เย็น  และดูดความร้อนจากภายในตู้ออกมา  ต่อจากนั้นผ่านเข้าไปในคอมเพรสเซอร์  และถูกอัด เป็นวัฎจักรเข้าสู่ขั้นตอนที่หนึ่ง
ตู้เย็นที่อยู่ในครัวของคุณ   ใช้วัฎจักรทำความเย็นที่มีการดูดความร้อนอย่างต่อเนื่อง  ให้เราใช้แอมโมเนียเป็นสารทำความเย็น  ซึ่งเดือดที่อุณหภูมิ  -33   องศาเซลเซียส  วัฎจักรเป็นดังนี้ 1 . คอมเพรสเซอร์อัดแอมโมเนียที่อยู่ในสถานะแก๊ส  ทำให้อุณหภูมิกับความดันเพิ่มขึ้น  ( สีส้ม )  2 . คอยล์ร้อน  อยู่ด้านหลังของตู้เย็น  ช่วยระบายความร้อนของแอมโมเนีย  ทำให้แอมโมเนียเปลี่ยนสถานะจากแก๊ส เป็นของเหลว  ( สีม่วง )  3 . แอมโมเนียความดันสูงขยายผ่านวาล์วขยาย  (  วาล์วขยายเป็นช่องแคบ เมื่อแก๊สผ่านช่องนี้มันจะขยายตัว  ความดันจะลดลง )  ทำให้แอมโมเนียเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็นแก๊ส  ดูดความร้อนออกจากตู้  4 . แก๊สแอมโมเนียไหลกลับเข้าสู่คอมเพรสเซอร์  และถูกอัดวนกลับสู่วัฏจักรข้อแรก  ลองสังเกตขณะขับรถ  และเปิดแอร์  คุณจะได้ยินเสียงน้ำยาไหลผ่านวาล์วขยาย เป็นที่น่าเสียดายที่ว่า  แก๊สแอมโมเนีย เป็นพิษ  ถ้าในระบบของตู้เย็นมีการรั่วไหล ย่อมเป็นอันตรายยิ่ง  ดังนั้นภายในบ้านจึงไม่ใช้แอมโมเนียเป็นสารทำความเย็น  สารทำความเย็น ที่นิยมใช้กันมาก เรียกว่า  CFC  ( ย่อมาจาก  Chlorofluorocarbons )  ถูกผลิตขึ้นมาครั้งแรกโดยบริษัท  Dupont  ในปี ค . ศ .  1930   เป็นสารไม่มีพิษ ใช้ทดแทนแอมโมเนีย  ในปี  1970   นักวิทยาศาสตร์ค้นพบว่า  สาร  CFC  เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะชั้นโอโซน  ในบรรยากาศ  ดังนั้น ในปี  ค . ศ .  1990   ทั่วโลก  จึงตัดสินใจหาสารตัวใหม่แทน  CFC  หน้าถัดไปเรามาดูการทำความเย็นแบบอื่นๆ
การทำความเย็นแบบอื่น การทำความเย็นไม่ต้องใช้สารทำความเย็นแต่เพียงอย่างเดียว  มีอุปกรณ์บางชนิด  เพียงแต่คุณเสียบปลั๊กเข้ากับที่สูบบุหรี่  มันก็สามารถให้ความเย็นได้  การทำความเย็นแบบนี้  เป็นปรากฏการณ์ทางวิทยาศาสตร์  เรียกว่า  Peltier  effect  หรือ  Thermo electric  effect  คุณสามารถสร้างปรากฏการณ์นี้อย่างง่ายๆ  โดยอุปกรณ์ประกอบด้วย  แบตเตอรี่  สายทองแดง  2   เส้น  และเส้นลวดเหล็กผสมบิสมัท  ให้ต่อสายทองแดงทั้งสองเข้ากับขั้วทั้งสองของแบตเตอรี่  และเชื่อมเส้นลวดเข้ากับสายทองแดงทั้งสอง  เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลจากสายทองแดงไปที่เส้นลวด  ผ่านจุดเชื่อมเกิดความร้อนขึ้น  และเมื่อกระแสไหลจากเส้นลวด ไปที่สายทองแดง  จุดเชื่อมจะเย็น  อุณหภูมิสามารถลดลงได้ถึง  4.4   องศาเซลเซียส ถ้าเราจะสร้างตู้เย็นแบบนี้  ให้นำจุดเชื่อมที่ร้อนไว้นอกตู้  และจุดเชื่อมที่เย็นไว้ภายในตู้  และต้องการความเย็นมากๆ  ก็ให้ต่อจุดเชื่อมหลายๆจุด  ทำให้ความเย็นลดลงไปถึงระดับเย็นเจี๊ยบ
โทรทัศน์ โทรทัศน์แบ่งออกเป็น  2   ประเภทคือ โทรทัศน์ขาวดำ  ( Black and White Tele - vision )  และโทรทัศน์สี  ( Color Television )  สำหรับโทรทัศน์สียังสามารถแบ่งได้อีกหลายประเภท เช่น โทรทัศน์สีทั่วไป โทรทัศน์สีที่ใช้ระบบรีโมทคอนโทรล  ( Remote Control )  โทรทัศน์สีที่ มีจอภาพแบบโค้งและแบบจอแบน โทรทัศน์สีมีขนาดแตกต่างกันไปตั้งแต่ขนาดเล็กๆ ที่ติด ตั้งบริเวณหน้ารถยนต์หรือขนาด  14   นิ้วและ  20   นิ้ว เป็นต้น ตลอดจนขนาดใหญ่มากๆ ซึ่งบาง คนนิยมเรียกกันว่า  Home Theater  จะมีราคาสูงมาก ขนาดของโทรทัศน์ เช่น  14   นิ้ว หรือ  20   นิ้ว นี้ดูได้จากการวัดทแยงจากมุมหนึ่ง ไปยังอีกมุมหนึ่งของหน้าจอโทรทัศน์
ส่วนประกอบและการทำงาน โทรทัศน์เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ที่มีวงจรสลับซับซ้อน ดังนั้นส่วนประกอบ ของโทรทัศน์จึงพอสรุปให้เห็นได้ชัดเจนดังนี้ คือ 1 .  ส่วนประกอบภายนอก คือตัวโครงที่หุ้มห่ออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ จอภาพซึ่ง จะมีการเคลือบสารพิเศษทางด้านใน ปุ่มหรือสวิตซ์ต่างๆ และจุดเสียบสายอากาศ เป็นต้น 2 .  ส่วนประกอบภายใน คืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ตัวรับ - เปลี่ยนสัญญาณของ ภาพและเสียงที่มาในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ส่วนประกอบของจอภาพและระบบเสียง รวมทั้งลำโพง เป็นต้น การทำงานของโทรทัศน์นั้นจะเริ่มต้นจากเมื่อคลื่นของภาพและเสียงที่ออกมาจาก แหล่งกำเนิด เช่นสถานีโทรทัศน์ มาสู่เสาอากาศที่เป็นตัวรับสัญญาณคลื่น สัญญาณคลื่นจะ ส่งมาตามสายเข้าสู่ตัวรับสัญญาณภายในโทรทัศน์ ตัวรับสัญญาณคลื่นจะแยกคลื่นภาพกับ คลื่นเสียงออกจากกัน สัญญาณคลื่นภาพจะถูกส่งไปยังหลอดภาพ เพื่อเปลี่ยนสัญญาณคลื่น เป็นสัญญาณไฟฟ้า การเปลี่ยนสัญญาณคลื่นเป็นสัญญาณไฟฟ้าที่ขั้วของหลอดภาพจะก่อให้เกิดลำ อิเล็กตรอนวิ่งจากขั้วหนึ่งไปยังอีกขั้วหนึ่ง คือ จอภาพที่ด้านในเคลือบสารชนิดหนึ่ง  เมื่อลำอิเล็กทรอนิกส์วิ่งไปกระทบจอภาพก็ทำให้เกิดเป็นภาพโดยการถ่ายเทพลังงาน ในลักษณะนิ่ง เรียกว่าการวาดภาพ โดยกวาดเป็นเส้นทางตามแนวนอนจำนวน  525   เส้นหรือแบบ  625   เส้น ก่อให้เกิดรูปภาพออกมาทางด้านหน้าของจอภาพตามที่เราเห็น อันเนื่องจากการเรืองของ สารเคลือบนั้น
การเลือกใช้อย่างถูกวิธีและประหยัดพลังงาน -  การเลือกใช้โทรทัศน์ควรคำนึงถึงความต้องการใช้งาน โดยพิจารณาจากขนาดและการใช้กำลังไฟฟ้า -  โทรทัศน์สีระบบเดียวกันแต่ขนาดต่างกัน จะใช้พลังงานต่างกันด้วย กล่าวคือ โทรทัศน์สีที่มีขนาดใหญ่และมีราคาแพงกว่า จะใช้กำลังไฟมากกว่าโทรทัศน์สี ขนาดเล็ก เช่น -  ระบบทั่วไป ขนาด  16   นิ้ว จะเสียค่าไฟฟ้ามากกว่า ขนาด  14   นิ้ว ร้อยละ  5   หรือ -  ขนาด  20   นิ้ว จะเสียค่าไฟฟ้ามากกว่า ขนาด  14   นิ้ว ร้อยละ  30 -  ระบบรีโมทคอนโทรล ขนาด  16   นิ้ว จะเสียค่าไฟฟ้ามากกว่า ขนาด  14   นิ้ว ร้อยละ 5 -  หรือขนาด  20   นิ้ว จะเสียค่าไฟฟ้ามากกว่า ขนาด  14   นิ้ว ร้อยละ  34 -  โทรทัศน์สีที่มีระบบรีโมทคอนโทรลจะใช้ไฟฟ้ามากกว่าโทรทัศน์สีระบบทั่วไป ที่มีขนาดเดียวกัน เช่น -  โทรทัศน์สีขนาด  16   นิ้ว ระบบรีโมทคอนโทรลเสียค่าไฟฟ้ามากกว่าระบบธรรมดา ร้อยละ  5 -  โทรทัศน์สีขนาด  20   นิ้ว ระบบรีโมทคอนโทรลเสียค่าไฟฟ้ามากกว่าระบบธรรมดา ร้อยละ  18 -  อย่าเสียบปลั๊กทิ้งไว้ เพราะโทรทัศน์จะมีไฟฟ้าหล่อเลี้ยงระบบภายในอยู่ตลอดเวลา นอกจากนั้นอาจก่อให้เกิดอันตรายในขณะที่ฟ้าแลบได้ -  ปิดเมื่อไม่มีคนดู หรือตั้งเวลาปิดโทรทัศน์โดยอัตโนมัติ เพื่อช่วยประหยัด ไฟฟ้า -  ไม่ควรเสียบปลั๊กเครื่องเล่นวิดีโอในขณะที่ยังไม่ต้องการใช้ เพราะเครื่องเล่นวิดีโอ  จะทำงานอยู่ตลอดเวลา จึงทำให้เสียค่าไฟฟ้าโดยไม่จำเป็น -  พิจารณาเลือกดูรายการเอาไว้ล่วงหน้า ดูเฉพาะรายการที่เลือกตามช่วงเวลานั้นๆ หากดูรายการเดียวกันควรเปิดโทรทัศน์เพียงเครื่องเดียว
การดูแลรักษา การดูแลรักษาและใช้โทรทัศน์ให้ถูกวิธี นอกจากจะช่วยให้โทรทัศน์เกิดความคง ทน ภาพที่ได้ชัดเจน และมีอายุการทำงานยาวนานขึ้นแล้ว ผลพลอยได้อีกส่วนหนึ่งก็คือ ประหยัดพลังงาน -  ควรเลือกใช้เสาอากาศภายนอกบ้านที่มีคุณภาพดี และติดตั้งถูกต้องตามหลัก วิชาการ เช่น หันเสาไปทางที่ตั้งของสถานีในลักษณะให้ตั้งฉาก เป็นต้น -  ควรวางโทรทัศน์ไว้ในจุดที่มีการถ่ายเทอากาศได้ดี และตั้งห่างจากผนังหรือ มูลี่อย่างน้อยประมาณ  10   เซนติเมตร เพื่อให้เครื่องสามารถระบายความร้อนได้สะดวก -  ไม่ควรปรับจอภาพให้สว่างมากเกินไป เพราะจะทำให้หลอดภาพมีอายุสั้น และสิ้นเปลืองพลังงานไฟฟ้าโดยไม่จำเป็น -  ใช้ผ้านุ่มเช็ดตัวตู้โทรทัศน์ ส่วนจอภาพควรใช้ผงซักฟอกอย่างอ่อน หรือน้ำ ยาล้างจานผสมกับน้ำ ชุบทาบางๆ แล้วเช็ดด้วยผ้านุ่มให้แห้ง โดยอย่าลืมถอดปลั๊กออก ก่อนทำความสะอาด -  อย่าถอดด้านหลังของเครื่องด้วยตนเอง เพราะอาจจะเกิดความเสียหายต่อ โทรทัศน์ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งโทรทัศน์สีจะผลิตกระแสไฟฟ้าแรงดันสูง  ( High Voltage )  ซึ่งเป็นอันตรายต่อการสัมผัส แม้ว่าจะปิดไฟแล้วก็ตาม
พัดลมแบ่งออกเป็น  3   ประเภท คือ พัดลมตั้งโต๊ะ พัดลมตั้งพื้น พัดลมติดผนัง ซึ่งทั้งหมดมีหลักของการทำงานคล้ายคลึงกัน ส่วนประกอบและการทำงาน  •  ส่วนประกอบหลักของพัดลม แบ่งออกเป็น  4   ส่วนใหญ่ๆ คือ  - ใบพัดและตะแกรง  - คลุมใบพัด - มอเตอร์ไฟฟ้า - สวิตซ์ควบคุมการทำงาน - และกลไกที่ทำให้พัดลมหยุดกับที่หรือ หมุนส่ายไปมา •  พัดลมจะทำงานได้เมื่อกระแสไฟฟ้าเข้าสู่ระบบ และเมื่อกดปุ่มเลือกให้ลมแรงหรือ เร็วตามที่ผู้ใช้ต้องการ กระแสไฟฟ้าจึงไหลเข้าสู่ตัวมอเตอร์ ทำให้แกนมอเตอร์หมุน ใบพัดที่ติดอยู่กับแกนก็จะหมุนตามไปด้วยจึงเกิดลมพัดออกมา พัดลม
การเลือกซื้อและเลือกใช้พัดลมให้มีการประหยัดพลังงาน   . วิธีการเลือกซื้อพัดลมให้มีการประหยัดพลังงาน  ศึกษาหลักการทำงานเพื่อเปรียบเทียบสมรรถนะของพัดลมในแต่ละรุ่น  -  เลือกซื้อพัดลมที่เป็นระบบธรรมดาเพราะจะประหยัดไฟกว่าระบบที่มีรีโมทคอนโทรล -  พัดลมตั้งโต๊ะจะมีราคาต่ำกว่าพัดลมตั้งพื้นและใช้พลังงานไฟฟ้าต่ำกว่า ทั้งนี้เพราะมีขนาดมอเตอร์และกำลังไฟต่ำกว่า  แต่พัดลมตั้งพื้นจะให้ลมมากกว่า -  เลือกดูเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีความคงทนแข็งแรง  ได้รับเครื่องหมายรับรองคุณภาพมาตรฐานอุตสาหกรรม สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม  ( สมอ .) -  เลือกซื้อพัดลมที่มีฉลากแสดงถึงประสิทธิภาพ และเลือกรุ่นที่มีประสิทธิภาพสูง  -  เลือกซื้อพัดลมในรุ่นที่ไม่ส่งผลเสียต่อสภาวะแวดล้อม  -  มีคู่มือการใช้งานเพื่อการประหยัดพลังงานและการใช้งานที่มีประสิทธิภาพ  -   เลือกซื้อพัดลมให้มีขนาดใบพัดและกำลังไฟฟ้าที่เหมาะสมกับขนาดพื้นที่ใช้สอยและจำนวนคนในครอบครัว  เช่น  ถ้าต้องการใช้เพียงคนเดียวหรือไม่เกิน  2   คนควรใช้พัดลมตั้งโต๊ะ  เพราะความแรงของลมเพียงพอ  และยังประหยัดไฟกว่าพัดลมชนิดอื่น  ๆ
การใช้อย่างประหยัดพลังงานและถูกวิธี  พัดลมตั้งโต๊ะจะมีราคาต่ำกว่าพัดลมตั้งพื้น และใช้พลังงานไฟฟ้าต่ำกว่า ทั้งนี้เพราะ มีขนาดมอเตอร์และกำลังไฟต่ำกว่า แต่พัดลมตั้งพื้นจะให้ลมมากกว่า ดังนั้นในการเลือกใช้ จึงมีข้อที่ควรพิจารณาดังนี้ -  พิจารณาตามความต้องการและสถานที่ที่ใช้ เช่น ถ้าใช้เพียงคนเดียว หรือ ไม่เกิน  2   คน ควรใช้พัดลมตั้งโต๊ะ -  อย่าเสียบปลั๊กทิ้งไว้ โดยเฉพาะพัดลมที่มีระบบรีโมทคอนโทรล เพราะจะมี ไฟฟ้าไหลเข้าตลอดเวลา เพื่อหล่อเลี้ยงอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ -  ควรเลือกใช้ความแรงหรือความเร็วของลมให้เหมาะสมกับความต้องการและสถาน ที่ เพราะหากความแรงของลมมากขึ้นจะใช้ไฟฟ้ามากขึ้น -  เมื่อไม่ต้องการใช้พัดลมควรรีบปิด เพื่อให้มอเตอร์ได้มีการพักและไม่เสื่อมสภาพ เร็วเกินไป -  ควรวางพัดลมในที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก เพราะพัดลมใช้หลักการดูดอากาศจาก บริเวณรอบๆ ทางด้านหลังของตัวใบพัด แล้วปล่อยออกสู่ด้านหน้า เช่น ถ้าอากาศบริเวณรอบ พัดลมอับชื้น ก็จะได้ในลักษณะลมร้อนและอับชื้นเช่นกัน นอกจากนี้มอเตอร์ยังระบายความ ร้อนได้ดีขึ้น ไม่เสื่อมสภาพเร็วเกินไป
การดูแลรักษา การดูแลรักษาพัดลมอย่างสม่ำเสมอจะช่วยให้พัดลมทำงานได้เต็มประสิทธิภาพ และ ยังช่วยยืดอายุการทำงานให้ยาวนานขึ้น โดยมีวิธีการดังนี้ -  หมั่นทำความสะอาดตามจุดต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ใบพัดและตะแกรงครอบ ใบพัด อย่าให้ฝุ่นละอองเกาะจับและต้องดูแลให้มีสภาพดีอยู่เสมอ อย่าให้แตกหักหรือชำรุด หรือโค้งงอผิดสัดส่วนจะทำให้ลมที่ออกมามีความแรงหรือความเร็วลดลง -  หมั่นทำความสะอาดช่องลมตรงฝาครอบมอเตอร์ของพัดลม ซึ่งเป็นช่องระบาย ความร้อนของมอเตอร์ อย่าให้มีคราบน้ำมันหรือฝุ่นละอองเกาะจับ เพราะจะทำให้ประสิทธิ ภาพของมอเตอร์ลดลง และสิ้นเปลืองพลังงานไฟฟ้ามากขึ้น
เครื่องทำน้ำอุ่นไฟฟ้า เครื่องทำน้ำอุ่นไฟฟ้าสามารถแบ่งตามลักษณะของการใช้งานได้  2   ประเภท คือ 1 .  เครื่องทำน้ำอุ่นแบบทำน้ำอุ่นได้จุดเดียว 2 .  เครื่องทำน้ำอุ่นแบบทำน้ำอุ่นได้หลายจุด ซึ่งสิ้นเปลืองพลังงานไฟฟ้ามากกว่าแบบ จุดเดียว ส่วนประกอบและการทำงาน เครื่องทำน้ำอุ่นไฟฟ้าเป็นอุปกรณ์ที่ทำให้น้ำร้อนขึ้นโดยอาศัยการพากความร้อยจาก ขดลวดความร้อน  ( Heater )  ขณะที่กระแสน้ำไหลผ่าน ส่วนประกอบหลักของเครื่องทำน้ำอุ่น คือตัวถังน้ำ ขดลวดความร้อน  ( Heater )  และอุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิ  ( Thermostat ) ตัวถังน้ำ จะบรรจุน้ำซึ่งจะถูกทำให้ร้อน ขดลวดความร้อน  ( Heater )  จะร้อนขึ้นเมื่อมีกระแสไฟฟ้าผ่าน คือ เมื่อเราเปิด สวิตซ์เครื่องทำน้ำอุ่นนั่นเอง ลวดความร้อนนี้โดยมากส่วนในสุดจะเป็นลวดนิโครม ส่วนที่อยู่ตรง กลางจะเป็นผงแมกนีเซียมออกไซด์ ซึ่งมีคุณสมบัติเป็นฉนวนไฟฟ้าและทนอุณหภูมิสูง ชั่น นอกสุดจะเป็นท่อโลหะที่อาจทำด้วยทองแดงหรือสเตนเลส อุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิ  ( Thermostat )  จะทำหน้าที่ตัดกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน ลวดความร้อนเมื่ออุณหภูมิของน้ำถึงระดับที่เราตั้งไว้
การใช้อย่างประหยัดพลังงานและถูกวิธี -  ควรพิจารณาเลือกเครื่องทำน้ำอุ่นให้เหมาะสมกับการใช้เป็นหลัก เช่น ต้องการ ใช้น้ำอุ่นเพื่ออาบน้ำเท่านั้นก็ควรจะติดตั้งชนิดทำน้ำอุ่นได้จุดเดียว -  ควรเลือกใช้ฝักบัวชนิดประหยัดน้ำ  ( Water Efficient Showerhead ) เพราะ สามารถประหยัดน้ำได้ถึงร้อยละ  25-75 -  ควรเลือกใช้เครื่องทำน้ำอุ่นที่มีถังน้ำภายในตัวเครื่องและมีฉนวนหุ้ม เพราะ สามารถลดการใช้พลังงานได้ร้อยละ  10-20 -  ควรหลีกเลี่ยงการใช้เครื่องทำน้ำอุ่นไฟฟ้าชนิดที่ไม่มีถังน้ำภายในเพราะจะทำให้สิ้น เปลืองการใช้พลังงาน -  ปิดวาล์วน้ำและสวิตซ์ทันทีเมื่อเลิกใช้งาน การดูแลรักษา ควรหมั่นตรวจสอบการทำงานของเครื่องให้มีสภาพดีอยู่เสมอ ตลอดจนตรวจดูระบบท่อ น้ำและรอยต่ออย่าให้มีการรั่วซึมและเมื่อเครื่องมีปัญหาควรตรวจสอบ ดังนี้ -  ถ้าน้ำที่ออกจากเครื่องน้ำเย็น อันเนื่องจากไม่มีกระแสไฟฟ้าป้อนเข้าสู่ขดลวดความร้อน  สาเหตุอาจเกิดจากฟิวส์ขาด อุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิไม่ให้ไฟผ่าน -  ถ้าไฟสัญญาณติดแต่ขดลวดความร้อนไม่ทำงาน น้ำไม่อุ่น สาเหตุอาจเกิดจากขดลวด ความร้อนขาด อุปกณ์ควบคุมอุณหภูมิเสีย -  ถ้าน้ำจากเครื่องร้อนหรือเย็นเกินไป สาเหตุอาจเกิดจากอุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิทำงาน ผิดปกติ
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า กระติกน้ำร้อนไฟฟ้าเป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้ประโยชน์ในการต้มน้ำให้ร้อนเพื่อใช้ดื่ม และจัดเป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าที่สิ้นเปลืองพลังงานไฟฟ้าสูงตัวหนึ่งเช่นเดียวกับเตารีดไฟฟ้า โดยอาศัยหลักการทำงานเดียวกันคือ ให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวดความร้อนที่อยู่ภายในอุปกรณ์ แล้ว นำความร้อนนั้นไปใช้ประโยชน์ เช่น กระติกน้ำร้อนไฟฟ้าใช้ต้มน้ำร้อน ส่วนเตารีดไฟฟ้าใช้ใน การรีดผ้าให้เรียบ ซึ่งกระติกน้ำร้อนไฟฟ้าโดยทั่วไปจะมีขนาดที่ใช้พลังไฟฟ้าระหว่าง  500-1,300   วัตต์ ดังนั้นหากเรารู้จักใช้อย่างถูกวิธีก็จะช่วยประหยัดพลังงานไฟฟ้าลงได้
ส่วนประกอบและการทำงาน ส่วนประกอบหลักของกระติกน้ำร้อนไฟฟ้า ประกอบด้วยขดลวดความร้อน  ( Heater )  อยู่ด้านล่างของตัวกระติก และอุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิ  ( Thermostat )  เป็นอุปกรณ์ควบคุม การทำงาน -  หลักการทำงานของกระติกน้ำร้อนไฟฟ้าคือ เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวดความ ร้อนจะเกิดความร้อน ความร้อนจะถ่ายเทไปยังน้ำภายในกระติก ซึ่งจะทำให้น้ำมีอุณหภูมิสูง ขึ้นจนถึงจุดเดือด อุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิจะตัดกระแสไฟฟ้าในวงจรหลักออกไป แต่ยังคงมี กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน ขดลวดความร้อนบางส่วน โดยไหลผ่านหลอดไฟสัญญาณอุ่น ในช่วงนี้จะ เป็นการอุ่นน้ำ  เมื่ออุณหภูมิของน้ำร้อนภายในกระติกลดลงจนถึงจุดๆ หนึ่ง อุปกรณ์ควบคุม  อุณหภูมิจะทำงานโดยปล่อยให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวดความร้อนเต็มที่  ทำให้น้ำเดือดอีกครั้ง -  การปล่อยน้ำออกจากกาทำได้โดยกดที่ฝากดอากาศซึ่งอยู่ทางด้านบนของกา อากาศ จะถูกอัดเข้าไปภายในกา โดยผ่านทางรูระบายอากาศของฝาปิดภายในของกา ดังนั้นภายในกาจึง  มีแรงกดดันที่มากพอที่จะให้น้ำที่อยู่ภายในวิ่งขึ้นไปตามท่อและออกทางพวยกาได้
การใช้อย่างประหยัดพลังงานและถูกวิธี -  ควรเลือกซื้อรุ่นที่มีฉนวนกันความร้อนที่มีประสิทธิภาพ -  ใส่น้ำให้พอเหมาะกับความต้องการหรือไม่สูงกว่าระดับที่กำหนดไว้ เพราะนอกจาก ไม่ประ หยัดพลังงานยังก่อให้เกิดความเสียหายต่อกระติก -  ระวังอย่าให้น้ำแห้งหรือปล่อยให้ระดับน้ำต่ำกว่าขีดกำหนด  เพราะเมื่อน้ำแห้ง จะทำให้เกิดไฟฟ้าลัดวงจรในกระติกน้ำร้อน เป็นอันตรายอย่างยิ่ง -  ถอดปลั๊กเมื่อเลิกใช้น้ำร้อนแล้ว เพื่อลดการสิ้นเปลืองพลังงาน ไม่ควรเสียบปลั๊ก  ตลอดเวลา ถ้าไม่ต้องการใช้น้ำแล้ว แต่ถ้าหากมีความต้องการใช้น้ำร้อนเป็นระยะๆ  ติดต่อกัน เช่น ในสถานที่ทำงานบางแห่งที่มีน้ำร้อนไว้สำหรับเตรียมเครื่องดื่มต้อนรับแขกก็ไม่ควรดึง ปลั๊กออกบ่อยๆ เพราะทุกครั้งเมื่อดึงปลั๊กออกอุณหภูมิของน้ำจะค่อยๆ ลดลง กระติกน้ำร้อน ไม่สามารถเก็บความร้อนได้นาน เมื่อจะใช้งานใหม่ก็ต้องเสียบปลั๊กและเริ่มทำการต้มน้ำใหม่ เป็นการสิ้นเปลืองพลังงาน -  ไม่ควรเสียบปลั๊กตลอดเวลา ถ้าไม่ต้องการใช้น้ำร้อนแล้ว -  อย่านำสิ่งใดๆ มาปิดช่องไอน้ำออก -  ตรวจสอบการทำงานของอุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิให้อยู่ในสภาพใช้งานได้เสมอ -  ไม่ควรตั้งไว้ในห้องที่มีการปรับอากาศ
การดูแลรักษา การดูแลรักษากระติกน้ำร้อนให้มีอายุการใช้งานนานขึ้น และลดการใช้พลังงานลง และป้องกันอุบัติเหตุหรืออันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นได้ มีวิธีการดังนี้ -  หมั่นตรวจดูสายไฟฟ้าและขั้วปลั๊ก ซึ่งมักเป็นจุดที่ขัดข้องเสมอ -  ควรต้มน้ำที่สะอาดเท่านั้น มิฉะนั้นผิวในกระติกอาจเปลี่ยนสี เกิดคราบสนิม และตะกรัน -  หมั่นทำความสะอาดตัวกระติกด้านใน อย่าให้มีคราบตะกรัน เพราะจะเป็นตัวต้าน ทานการถ่ายเทความร้อนจากขดลวดความร้อนไปสู่น้ำ เพิ่มเวลาการต้มน้ำและสูญเสียพลังงาน โดยเปล่าประโยชน์ -  เมื่อไม่ต้องการใช้กระติก ควรล้างกระติกด้านในให้สะอาดแล้วคว่ำกระติกลงเพื่อให้ น้ำออกจากตัวกระติก แล้วใช้ผ้าเช็ดด้านในให้แห้ง -  ก่อนทำความสะอาดด้านในกระติก ควรเทน้ำภายในออกให้หมด รอให้ตัวกระติก เย็นจึงค่อยทำความสะอาด -  ควรทำความสะอาดส่วนต่างๆ ของกระติก ตามคำแนะนำต่อไปนี้ ตัวและฝากระติก ใช้ผ้าชุบน้ำ บิดให้หมาดแล้วเช็ดอย่างระมัดระวัง ฝาปิดด้านใน ใช้น้ำหรือน้ำยาล้างจานให้สะอาด ตัวกระติกด้านใน ใช้ฟองน้ำชุบเช็ดให้ทั่ว ล้างให้สะอาดด้วยน้ำ เทน้ำที่ใช้ล้างออกให้ หมด อย่าราดน้ำลงบนส่วนอื่นของตัวกระติกนอกจากภายในกระติกเท่านั้น อย่าใช้ของมีคม หรือฝอยขัดหม้อขูดหรือขัดตัวกระติกด้านใน เพราะจะทำให้สารเคลือบหลุดได้
บรรณานุกรม ,[object Object],[object Object]
[object Object]

More Related Content

What's hot

งานนำเสนอ123
งานนำเสนอ123งานนำเสนอ123
งานนำเสนอ123Chanukid Chaisri
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าUp To You's Toey
 
งาน Sideshare
งาน Sideshareงาน Sideshare
งาน SideshareThananop
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอwantnan
 
งานนำเสนอ123
งานนำเสนอ123งานนำเสนอ123
งานนำเสนอ123wantnan
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอwantnan
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วjaturong2012
 
จัดทำโดย
จัดทำโดยจัดทำโดย
จัดทำโดยsugareyes
 
จัดทำโดย
จัดทำโดยจัดทำโดย
จัดทำโดยsugareyes
 
งานวิทย์
งานวิทย์งานวิทย์
งานวิทย์sugareyes
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1boom500937
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Karnchana Duangta
 

What's hot (13)

งานนำเสนอ123
งานนำเสนอ123งานนำเสนอ123
งานนำเสนอ123
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งาน Sideshare
งาน Sideshareงาน Sideshare
งาน Sideshare
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
งานนำเสนอ123
งานนำเสนอ123งานนำเสนอ123
งานนำเสนอ123
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
ไฟฟ้า 303
ไฟฟ้า 303ไฟฟ้า 303
ไฟฟ้า 303
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
 
จัดทำโดย
จัดทำโดยจัดทำโดย
จัดทำโดย
 
จัดทำโดย
จัดทำโดยจัดทำโดย
จัดทำโดย
 
งานวิทย์
งานวิทย์งานวิทย์
งานวิทย์
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 

Viewers also liked

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Arnan Khankham
 
เรียบร้อย
เรียบร้อยเรียบร้อย
เรียบร้อยArnan Khankham
 
เรียบร้อย
เรียบร้อยเรียบร้อย
เรียบร้อยArnan Khankham
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Arnan Khankham
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Arnan Khankham
 
Presentazione Assistente Studio Legale
Presentazione Assistente Studio LegalePresentazione Assistente Studio Legale
Presentazione Assistente Studio LegaleAstrella Consalvo
 
เรียบร้อย
เรียบร้อยเรียบร้อย
เรียบร้อยArnan Khankham
 
Random 110830074619-phpapp01
Random 110830074619-phpapp01Random 110830074619-phpapp01
Random 110830074619-phpapp01Arnan Khankham
 
οδηγιες ηλιοπροστασιας
οδηγιες ηλιοπροστασιαςοδηγιες ηλιοπροστασιας
οδηγιες ηλιοπροστασιαςpsaltakis
 
διατροφη στη βρεφικη και παιδικη ηλικια
διατροφη στη βρεφικη και παιδικη ηλικιαδιατροφη στη βρεφικη και παιδικη ηλικια
διατροφη στη βρεφικη και παιδικη ηλικιαpsaltakis
 
Ο ρόλος του παιδιάτρου στην πρόληψη των ατυχημάτων
Ο ρόλος του παιδιάτρου στην πρόληψη των ατυχημάτωνΟ ρόλος του παιδιάτρου στην πρόληψη των ατυχημάτων
Ο ρόλος του παιδιάτρου στην πρόληψη των ατυχημάτωνpsaltakis
 
παιδιατρικα επειγοντα
παιδιατρικα επειγονταπαιδιατρικα επειγοντα
παιδιατρικα επειγονταpsaltakis
 

Viewers also liked (14)

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
เรียบร้อย
เรียบร้อยเรียบร้อย
เรียบร้อย
 
เรียบร้อย
เรียบร้อยเรียบร้อย
เรียบร้อย
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
รายงาน
รายงาน รายงาน
รายงาน
 
งานๆ
งานๆงานๆ
งานๆ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Presentazione Assistente Studio Legale
Presentazione Assistente Studio LegalePresentazione Assistente Studio Legale
Presentazione Assistente Studio Legale
 
เรียบร้อย
เรียบร้อยเรียบร้อย
เรียบร้อย
 
Random 110830074619-phpapp01
Random 110830074619-phpapp01Random 110830074619-phpapp01
Random 110830074619-phpapp01
 
οδηγιες ηλιοπροστασιας
οδηγιες ηλιοπροστασιαςοδηγιες ηλιοπροστασιας
οδηγιες ηλιοπροστασιας
 
διατροφη στη βρεφικη και παιδικη ηλικια
διατροφη στη βρεφικη και παιδικη ηλικιαδιατροφη στη βρεφικη και παιδικη ηλικια
διατροφη στη βρεφικη και παιδικη ηλικια
 
Ο ρόλος του παιδιάτρου στην πρόληψη των ατυχημάτων
Ο ρόλος του παιδιάτρου στην πρόληψη των ατυχημάτωνΟ ρόλος του παιδιάτρου στην πρόληψη των ατυχημάτων
Ο ρόλος του παιδιάτρου στην πρόληψη των ατυχημάτων
 
παιδιατρικα επειγοντα
παιδιατρικα επειγονταπαιδιατρικα επειγοντα
παιδιατρικα επειγοντα
 

Similar to ..

ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้าJiraporn
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..Powergift_vip
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..Powergift_vip
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..Powergift_vip
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วjaturong20155
 
งานนำเสนอ123
งานนำเสนอ123งานนำเสนอ123
งานนำเสนอ123wantnan
 
งานนำเสนอ123
งานนำเสนอ123งานนำเสนอ123
งานนำเสนอ123wantnan
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าaing_siripatra
 
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้างานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้าSarun Boonwong
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าSiriporn Somkrue
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอBoyz Bill
 
งานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.Pdfงานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.PdfPanatsaya
 
1 รูปแบบของวงจรไฟฟ้าภายในบ้าน
1 รูปแบบของวงจรไฟฟ้าภายในบ้าน1 รูปแบบของวงจรไฟฟ้าภายในบ้าน
1 รูปแบบของวงจรไฟฟ้าภายในบ้านvisavavit Phonthioua
 

Similar to .. (20)

งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3
 
งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
 
งานนำเสนอ123
งานนำเสนอ123งานนำเสนอ123
งานนำเสนอ123
 
งานนำเสนอ123
งานนำเสนอ123งานนำเสนอ123
งานนำเสนอ123
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้างานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
งานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.Pdfงานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.Pdf
 
1 รูปแบบของวงจรไฟฟ้าภายในบ้าน
1 รูปแบบของวงจรไฟฟ้าภายในบ้าน1 รูปแบบของวงจรไฟฟ้าภายในบ้าน
1 รูปแบบของวงจรไฟฟ้าภายในบ้าน
 

..

  • 1. เครื่องใช้ไฟฟ้า จัดทำโดย ด . ช . จตุพงษ์ จิตมะโน เลขที่ 2 ม . 3/4 ด . ช . ชินวัฒน์ ใจบุญ เลขที่ 4 ม . 3/4 ด . ช . พีระพล พัดขำ เลขที่ 13 ม . 3/4 ด . ช . อานันต์ กันคำ เลขที่ 21 ม . 3/4 ด . ช . ฉัตรมงคล สังข์อนันต์ เลขที่ 22 ม . 3/4
  • 2. ส่วนประกอบของหลอดไฟฟ้า หลอดไฟฟ้าแบบธรรมดาหรือหลอดไฟฟ้าชนิดไส้ มีส่วนประกอบทั่วๆไปดังนี้ 1 . หลอดแก้ว 2 . ไส้หลอดทำด้วยโลหะทังสเตน 3 . เส้นหลอดต่อเข้ากับไส้หลอด 4 . ลอดยึดไส้หลอด 5 . ก้านลวดยึดไส้หลอด 6 . ขั้นหลอด
  • 3. ในการประดิษฐ์หลอดไฟฟ้าชนิดนี้ บริษัทผู้ผลิตจะเอาอากาศออกจากหลอดแก้วจนหมด แล้วบรรจุก๊าซอาร์กอนหรือไอโอดีน เข้าไปแทนที่ เพื่ออายุการใช้งานของหลอดนานขึ้น หลอดไฟฟ้าชนิดมีไส้มีหลายขนาดด้วยกัน เช่น 3 วัตต์ 25 วัตต์ 40 วัตต์ 100 วัตต์ เป็นต้น อายุการใช้งานของหลอดไฟฟ้าประมาณ 1000 ชั่วโมง หลอดไฟฟ้าชนิดไส้มี 2 แบบ คือ ขั้วแบบเกลียวแล้วขั้วแบบเขี้ยว หลักการทำงานของไส้หลอดไฟฟ้า เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลผ่านไส้หลอดที่ทำด้วยทังสเตนที่มีความต้านทานสูง ไส้หลอดจะไม่ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน แต่ด้วยแรงดันไฟฟ้าที่สูง ของกระแสไฟฟ้าจึงดันให้อิเลคตรอนผ่านไส้หลอด การที่ไส้หลอดมีขนาดเล็กมากประกอบกับมีความต้านทางสูง เมื่ออิเลคตรอนอิสระ เคลื่อนที่ผ่านจึง ทำให้เกิดความร้อนสูงมากจนไส้หลอดเปล่งแสงออกมา ปัจจุบันไม่นิยมใช้หลอดไฟฟ้าชนิดไส้ เนื่องจากหลอดไฟฟ้าชนิดนี้มีความร้อนสูงและสิ้น เปลืองกำลังไฟฟ้ามาก
  • 4. หลอดฟลูอเรสเซนต์ ส่วนประกอบของหลอดไฟฟ้า ........ หลอดไฟฟ้าชนิดนี้ มีลักษณะแตกต่างไปจากหลอดไฟฟ้าธรรมชาติชนิดไส้ กล่าวคือ ตัวหลอดทำด้วยแก้ว บางใสกลมยาวรูปทรงกระบอกหรือรูปวงกลม ภายในหลอดแก้วจะสูบอากาศออกเกือบหมด และบรรจุก๊าซอาร์กอนและปรอทไว้เล็กน้อย ที่ผิวด้านในของหลอดฉาบไว้ด้วยสารเคมีบางชนิดที่เปล่งแสงได้ เมื่อได้รับรังสีอัลตร้าไวโอเลต สารเคมีที่มีสมบัติดังกล่าวนี้เรียกว่า สารเรืองแสง ที่เหลือไส้หลอดแต่ละข้างจะมีขั้วโลหะอาบน้ำยาเพื่อให้กระจายอิเลคตรอนได้ง่าย เมื่อได้รับความร้อนจากไส้หลอดขั้วโลหะเป็นขั้วไฟฟ้าที่เรียกว่า อิเลคโทรด ( Electrode ) ซึ่งขั้วไฟฟ้าจะทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อต่อกระแสไฟฟ้าจากวงจรภายนอกเข้าสู่ตัวหลอด ....... การใช้หลอดฟลูออเรสเซนต์ไม่สามารถต่อเข้ากับวงจรไฟฟ้าในบ้านได้โดยตรงเหมือนกับหลอดไฟฟ้าธรรมดา เพราะจะทำให้หลอดไส้ขาดทันทีที่กระแสไฟฟ้าผ่าน ดังนั้นจึงต้องใช้ต่อร่วมกับอุปกรณ์อื่นอีก ได้แก่ สตาร์ตเตอร์ และบัลลัสต์ ( ที่มา http :// www . electron . rmutphysics . com / news / index . php?option = com )
  • 5. หลอดตะเกียบ หลักการทำงานของหลอดประหยัดพลังงาน ( หลอดตะเกียบ ) ........ หลอดไฟฟ้าประหยัดพลังงานโดยทั่วไปใช้กับความ ต่างศักย์ ขนาด 230 โวลต์ เมื่อกดสวิตช์เพื่อเปิดไฟ ความต่างศักย์ ที่สตาร์ตเตอร์ ( Starter ) จุดติดอยู่ระหว่าง 250 โวลต์ - 450 โวลต์ ซึ่งทำหน้าที่เป็นตัวจ่ายกระแสไฟฟ้า ( Glow discharge ) เมื่อกระแสไฟไหลผ่านวงจรผ่าน ขั้วบวกและขั้วลบที่มีแท่งโลหะ ( Bimetal ) ต่อเชื่อมอยู่ เมื่อกระแสไฟไหลผ่านขั้วทั้งสองแล้ว จะเกิดการไหลของกระแสไฟภายใต้ความต่างศักย์ที่สูงขึ้น ส่งผลให้ขดลวดที่ทำมาจากโลหะทังสเตนปล่อยอิเลคตรอนวิ่งไปชนกับอะตอมของก๊าซในหลอดไฟ ( Impact ionization ) ทำให้อะตอมของก๊าซเกิดปฏิกิริยาไอออนไนเซชัน ( เกิดเป็นอนุภาคของก๊าซที่มีขั้ว ) เมื่ออนุภาคที่มีขั้วดังกล่าววิ่งไปชน กับสารเรืองแสง ( Luminescent substance ) ก็จะเกิดเป็นสเปคตรัมหรือแสง ที่เรามองเห็นนั่นเอง
  • 6. เครื่องปิงขนมปังและไมโครเวฟ เป็นเครื่องใช้ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานความร้อน โดยใช้หลักการคือ เมื่อปล่อยกระแสไฟฟ้าผ่านขดลวดตัวนำที่มีความต้านทานสูงๆ ลวดตัวนำนั้นจะร้อนจนสามารถนำความร้อนออกไปใช้ประโยชน์ได้ เนื่องจากเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อนมาก จึงสิ้นเปลี่ยน พลังงานไฟฟ้า มากเมื่อเปรียบกับการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทอื่นๆ มื่อใช้ในเวลาที่เท่ากัน   ฉะนั้นขณะใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าให้พลังงานความร้อนจึงควร ใช้ด้วยความระมัดระวัง  ตัวอย่างเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน เช่น เตารีด หม้อหุงข้าว กระทะไฟฟ้า กาต้มน้ำ เครื่องต้มกาแฟ เตาไฟฟ้า ฯลฯ
  • 7.
  • 8.
  • 9. ส่วนประกอบของตู้เย็น แนวคิดพื้นฐานการทำงานของตู้เย็นมาจากหลักการทางฟิสิกส์ โดยใช้หลักที่ว่า ขณะที่ของเหลวเปลี่ยนสถานะเป็นแก๊ส มันจะดูดความร้อน ทดลองทา อัลกฮอลล์ ลงบนผิว จะรู้สึกเย็น เพราะว่าอัลกฮอลล์ระเหยได้เร็ว มันจึงดูดความร้อนออกจากผิวและทำให้เกิดความเย็นขึ้น ของเหลวที่เราใช้ในตู้เย็น เรียกว่า สารทำความเย็น ( refrigerant ) ซึ่งระเหยที่อุณหภูมิต่ำ ดังนั้นจึงสามารถลดอุณหภูมิภายในตู้เย็นลงต่ำกว่าจุดเยือกแข็งได้ ตู้เย็นมีส่วนสำคัญ 5 ส่วนคือ คอมเพรสเซอร์ ( Compressor ) ท่อแลกเปลี่ยนความร้อน ส่วนที่เป็นคอยส์ร้อน มีลักษณะขดไปมาอยู่นอกตู้ วาล์วขยาย ( Expansion valve ) ท่อแลกเปลี่ยนความร้อน ส่วนที่เป็นคอยส์เย็น มีลักษณะขดไปมาอยู่ภายในตู้เย็น สารทำความเย็น เป็นของเหลวบรรจุอยู่และไหลเวียนอยู่ภายในตู้ ในวงการอุตสาหกรรม ส่วนใหญ่จะใช้ แอมโมเนีย ( Ammonia ) เป็นสารทำความเย็น แอมโมเนียบริสุทธิ์ระเหยที่อุณหภูมิ -32 องศาเซลเซียส
  • 10. กลไกพื้นฐานการทำงานของตู้เย็น 1 . คอมเพรสเซอร์อัดสารทำความเย็นที่อยู่ในสถานะแก๊ส ทำให้อุณหภูมิและความดันเพิ่มขึ้น ( สีส้ม ) ผ่านไปยังคอยส์ร้อน อยู่ด้านหลังตู้เย็น ความร้อนถูกระบายออก ( ตู้เย็นสมัยใหม่ออกแบบให้สวยงามโดยหลบคอยส์ร้อนไว้ จึงมองไม่เห็น ) 2 . สารทำความเย็นถูกเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว ( สีม่วง ) ไหลผ่านไปยังวาล์วขยาย ( Expansion valve ) 3 . เมื่อผ่านวาล์วขยาย ความดันจะลดลงอย่างรวดเร็ว สารทำความเย็นที่อยู่ในสถานะของเหลว เปลี่ยนเป็นแก๊สในทันที ( สีน้ำเงิน ) 4 . สารทำความเย็นไหลผ่านเข้าไปในคอยส์เย็น และดูดความร้อนจากภายในตู้ออกมา ต่อจากนั้นผ่านเข้าไปในคอมเพรสเซอร์ และถูกอัด เป็นวัฎจักรเข้าสู่ขั้นตอนที่หนึ่ง
  • 11. ตู้เย็นที่อยู่ในครัวของคุณ ใช้วัฎจักรทำความเย็นที่มีการดูดความร้อนอย่างต่อเนื่อง ให้เราใช้แอมโมเนียเป็นสารทำความเย็น ซึ่งเดือดที่อุณหภูมิ -33 องศาเซลเซียส วัฎจักรเป็นดังนี้ 1 . คอมเพรสเซอร์อัดแอมโมเนียที่อยู่ในสถานะแก๊ส ทำให้อุณหภูมิกับความดันเพิ่มขึ้น ( สีส้ม ) 2 . คอยล์ร้อน อยู่ด้านหลังของตู้เย็น ช่วยระบายความร้อนของแอมโมเนีย ทำให้แอมโมเนียเปลี่ยนสถานะจากแก๊ส เป็นของเหลว ( สีม่วง ) 3 . แอมโมเนียความดันสูงขยายผ่านวาล์วขยาย ( วาล์วขยายเป็นช่องแคบ เมื่อแก๊สผ่านช่องนี้มันจะขยายตัว ความดันจะลดลง ) ทำให้แอมโมเนียเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็นแก๊ส ดูดความร้อนออกจากตู้ 4 . แก๊สแอมโมเนียไหลกลับเข้าสู่คอมเพรสเซอร์ และถูกอัดวนกลับสู่วัฏจักรข้อแรก ลองสังเกตขณะขับรถ และเปิดแอร์ คุณจะได้ยินเสียงน้ำยาไหลผ่านวาล์วขยาย เป็นที่น่าเสียดายที่ว่า แก๊สแอมโมเนีย เป็นพิษ ถ้าในระบบของตู้เย็นมีการรั่วไหล ย่อมเป็นอันตรายยิ่ง ดังนั้นภายในบ้านจึงไม่ใช้แอมโมเนียเป็นสารทำความเย็น สารทำความเย็น ที่นิยมใช้กันมาก เรียกว่า CFC ( ย่อมาจาก Chlorofluorocarbons ) ถูกผลิตขึ้นมาครั้งแรกโดยบริษัท Dupont ในปี ค . ศ . 1930 เป็นสารไม่มีพิษ ใช้ทดแทนแอมโมเนีย ในปี 1970 นักวิทยาศาสตร์ค้นพบว่า สาร CFC เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะชั้นโอโซน ในบรรยากาศ ดังนั้น ในปี ค . ศ . 1990 ทั่วโลก จึงตัดสินใจหาสารตัวใหม่แทน CFC หน้าถัดไปเรามาดูการทำความเย็นแบบอื่นๆ
  • 12. การทำความเย็นแบบอื่น การทำความเย็นไม่ต้องใช้สารทำความเย็นแต่เพียงอย่างเดียว มีอุปกรณ์บางชนิด เพียงแต่คุณเสียบปลั๊กเข้ากับที่สูบบุหรี่ มันก็สามารถให้ความเย็นได้ การทำความเย็นแบบนี้ เป็นปรากฏการณ์ทางวิทยาศาสตร์ เรียกว่า Peltier effect หรือ Thermo electric effect คุณสามารถสร้างปรากฏการณ์นี้อย่างง่ายๆ โดยอุปกรณ์ประกอบด้วย แบตเตอรี่ สายทองแดง 2 เส้น และเส้นลวดเหล็กผสมบิสมัท ให้ต่อสายทองแดงทั้งสองเข้ากับขั้วทั้งสองของแบตเตอรี่ และเชื่อมเส้นลวดเข้ากับสายทองแดงทั้งสอง เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลจากสายทองแดงไปที่เส้นลวด ผ่านจุดเชื่อมเกิดความร้อนขึ้น และเมื่อกระแสไหลจากเส้นลวด ไปที่สายทองแดง จุดเชื่อมจะเย็น อุณหภูมิสามารถลดลงได้ถึง 4.4 องศาเซลเซียส ถ้าเราจะสร้างตู้เย็นแบบนี้ ให้นำจุดเชื่อมที่ร้อนไว้นอกตู้ และจุดเชื่อมที่เย็นไว้ภายในตู้ และต้องการความเย็นมากๆ ก็ให้ต่อจุดเชื่อมหลายๆจุด ทำให้ความเย็นลดลงไปถึงระดับเย็นเจี๊ยบ
  • 13. โทรทัศน์ โทรทัศน์แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ โทรทัศน์ขาวดำ ( Black and White Tele - vision ) และโทรทัศน์สี ( Color Television ) สำหรับโทรทัศน์สียังสามารถแบ่งได้อีกหลายประเภท เช่น โทรทัศน์สีทั่วไป โทรทัศน์สีที่ใช้ระบบรีโมทคอนโทรล ( Remote Control ) โทรทัศน์สีที่ มีจอภาพแบบโค้งและแบบจอแบน โทรทัศน์สีมีขนาดแตกต่างกันไปตั้งแต่ขนาดเล็กๆ ที่ติด ตั้งบริเวณหน้ารถยนต์หรือขนาด 14 นิ้วและ 20 นิ้ว เป็นต้น ตลอดจนขนาดใหญ่มากๆ ซึ่งบาง คนนิยมเรียกกันว่า Home Theater จะมีราคาสูงมาก ขนาดของโทรทัศน์ เช่น 14 นิ้ว หรือ 20 นิ้ว นี้ดูได้จากการวัดทแยงจากมุมหนึ่ง ไปยังอีกมุมหนึ่งของหน้าจอโทรทัศน์
  • 14. ส่วนประกอบและการทำงาน โทรทัศน์เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ที่มีวงจรสลับซับซ้อน ดังนั้นส่วนประกอบ ของโทรทัศน์จึงพอสรุปให้เห็นได้ชัดเจนดังนี้ คือ 1 . ส่วนประกอบภายนอก คือตัวโครงที่หุ้มห่ออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ จอภาพซึ่ง จะมีการเคลือบสารพิเศษทางด้านใน ปุ่มหรือสวิตซ์ต่างๆ และจุดเสียบสายอากาศ เป็นต้น 2 . ส่วนประกอบภายใน คืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ตัวรับ - เปลี่ยนสัญญาณของ ภาพและเสียงที่มาในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ส่วนประกอบของจอภาพและระบบเสียง รวมทั้งลำโพง เป็นต้น การทำงานของโทรทัศน์นั้นจะเริ่มต้นจากเมื่อคลื่นของภาพและเสียงที่ออกมาจาก แหล่งกำเนิด เช่นสถานีโทรทัศน์ มาสู่เสาอากาศที่เป็นตัวรับสัญญาณคลื่น สัญญาณคลื่นจะ ส่งมาตามสายเข้าสู่ตัวรับสัญญาณภายในโทรทัศน์ ตัวรับสัญญาณคลื่นจะแยกคลื่นภาพกับ คลื่นเสียงออกจากกัน สัญญาณคลื่นภาพจะถูกส่งไปยังหลอดภาพ เพื่อเปลี่ยนสัญญาณคลื่น เป็นสัญญาณไฟฟ้า การเปลี่ยนสัญญาณคลื่นเป็นสัญญาณไฟฟ้าที่ขั้วของหลอดภาพจะก่อให้เกิดลำ อิเล็กตรอนวิ่งจากขั้วหนึ่งไปยังอีกขั้วหนึ่ง คือ จอภาพที่ด้านในเคลือบสารชนิดหนึ่ง เมื่อลำอิเล็กทรอนิกส์วิ่งไปกระทบจอภาพก็ทำให้เกิดเป็นภาพโดยการถ่ายเทพลังงาน ในลักษณะนิ่ง เรียกว่าการวาดภาพ โดยกวาดเป็นเส้นทางตามแนวนอนจำนวน 525 เส้นหรือแบบ 625 เส้น ก่อให้เกิดรูปภาพออกมาทางด้านหน้าของจอภาพตามที่เราเห็น อันเนื่องจากการเรืองของ สารเคลือบนั้น
  • 15. การเลือกใช้อย่างถูกวิธีและประหยัดพลังงาน - การเลือกใช้โทรทัศน์ควรคำนึงถึงความต้องการใช้งาน โดยพิจารณาจากขนาดและการใช้กำลังไฟฟ้า - โทรทัศน์สีระบบเดียวกันแต่ขนาดต่างกัน จะใช้พลังงานต่างกันด้วย กล่าวคือ โทรทัศน์สีที่มีขนาดใหญ่และมีราคาแพงกว่า จะใช้กำลังไฟมากกว่าโทรทัศน์สี ขนาดเล็ก เช่น - ระบบทั่วไป ขนาด 16 นิ้ว จะเสียค่าไฟฟ้ามากกว่า ขนาด 14 นิ้ว ร้อยละ 5 หรือ - ขนาด 20 นิ้ว จะเสียค่าไฟฟ้ามากกว่า ขนาด 14 นิ้ว ร้อยละ 30 - ระบบรีโมทคอนโทรล ขนาด 16 นิ้ว จะเสียค่าไฟฟ้ามากกว่า ขนาด 14 นิ้ว ร้อยละ 5 - หรือขนาด 20 นิ้ว จะเสียค่าไฟฟ้ามากกว่า ขนาด 14 นิ้ว ร้อยละ 34 - โทรทัศน์สีที่มีระบบรีโมทคอนโทรลจะใช้ไฟฟ้ามากกว่าโทรทัศน์สีระบบทั่วไป ที่มีขนาดเดียวกัน เช่น - โทรทัศน์สีขนาด 16 นิ้ว ระบบรีโมทคอนโทรลเสียค่าไฟฟ้ามากกว่าระบบธรรมดา ร้อยละ 5 - โทรทัศน์สีขนาด 20 นิ้ว ระบบรีโมทคอนโทรลเสียค่าไฟฟ้ามากกว่าระบบธรรมดา ร้อยละ 18 - อย่าเสียบปลั๊กทิ้งไว้ เพราะโทรทัศน์จะมีไฟฟ้าหล่อเลี้ยงระบบภายในอยู่ตลอดเวลา นอกจากนั้นอาจก่อให้เกิดอันตรายในขณะที่ฟ้าแลบได้ - ปิดเมื่อไม่มีคนดู หรือตั้งเวลาปิดโทรทัศน์โดยอัตโนมัติ เพื่อช่วยประหยัด ไฟฟ้า - ไม่ควรเสียบปลั๊กเครื่องเล่นวิดีโอในขณะที่ยังไม่ต้องการใช้ เพราะเครื่องเล่นวิดีโอ จะทำงานอยู่ตลอดเวลา จึงทำให้เสียค่าไฟฟ้าโดยไม่จำเป็น - พิจารณาเลือกดูรายการเอาไว้ล่วงหน้า ดูเฉพาะรายการที่เลือกตามช่วงเวลานั้นๆ หากดูรายการเดียวกันควรเปิดโทรทัศน์เพียงเครื่องเดียว
  • 16. การดูแลรักษา การดูแลรักษาและใช้โทรทัศน์ให้ถูกวิธี นอกจากจะช่วยให้โทรทัศน์เกิดความคง ทน ภาพที่ได้ชัดเจน และมีอายุการทำงานยาวนานขึ้นแล้ว ผลพลอยได้อีกส่วนหนึ่งก็คือ ประหยัดพลังงาน - ควรเลือกใช้เสาอากาศภายนอกบ้านที่มีคุณภาพดี และติดตั้งถูกต้องตามหลัก วิชาการ เช่น หันเสาไปทางที่ตั้งของสถานีในลักษณะให้ตั้งฉาก เป็นต้น - ควรวางโทรทัศน์ไว้ในจุดที่มีการถ่ายเทอากาศได้ดี และตั้งห่างจากผนังหรือ มูลี่อย่างน้อยประมาณ 10 เซนติเมตร เพื่อให้เครื่องสามารถระบายความร้อนได้สะดวก - ไม่ควรปรับจอภาพให้สว่างมากเกินไป เพราะจะทำให้หลอดภาพมีอายุสั้น และสิ้นเปลืองพลังงานไฟฟ้าโดยไม่จำเป็น - ใช้ผ้านุ่มเช็ดตัวตู้โทรทัศน์ ส่วนจอภาพควรใช้ผงซักฟอกอย่างอ่อน หรือน้ำ ยาล้างจานผสมกับน้ำ ชุบทาบางๆ แล้วเช็ดด้วยผ้านุ่มให้แห้ง โดยอย่าลืมถอดปลั๊กออก ก่อนทำความสะอาด - อย่าถอดด้านหลังของเครื่องด้วยตนเอง เพราะอาจจะเกิดความเสียหายต่อ โทรทัศน์ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งโทรทัศน์สีจะผลิตกระแสไฟฟ้าแรงดันสูง ( High Voltage ) ซึ่งเป็นอันตรายต่อการสัมผัส แม้ว่าจะปิดไฟแล้วก็ตาม
  • 17. พัดลมแบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ พัดลมตั้งโต๊ะ พัดลมตั้งพื้น พัดลมติดผนัง ซึ่งทั้งหมดมีหลักของการทำงานคล้ายคลึงกัน ส่วนประกอบและการทำงาน • ส่วนประกอบหลักของพัดลม แบ่งออกเป็น 4 ส่วนใหญ่ๆ คือ - ใบพัดและตะแกรง - คลุมใบพัด - มอเตอร์ไฟฟ้า - สวิตซ์ควบคุมการทำงาน - และกลไกที่ทำให้พัดลมหยุดกับที่หรือ หมุนส่ายไปมา • พัดลมจะทำงานได้เมื่อกระแสไฟฟ้าเข้าสู่ระบบ และเมื่อกดปุ่มเลือกให้ลมแรงหรือ เร็วตามที่ผู้ใช้ต้องการ กระแสไฟฟ้าจึงไหลเข้าสู่ตัวมอเตอร์ ทำให้แกนมอเตอร์หมุน ใบพัดที่ติดอยู่กับแกนก็จะหมุนตามไปด้วยจึงเกิดลมพัดออกมา พัดลม
  • 18. การเลือกซื้อและเลือกใช้พัดลมให้มีการประหยัดพลังงาน . วิธีการเลือกซื้อพัดลมให้มีการประหยัดพลังงาน ศึกษาหลักการทำงานเพื่อเปรียบเทียบสมรรถนะของพัดลมในแต่ละรุ่น - เลือกซื้อพัดลมที่เป็นระบบธรรมดาเพราะจะประหยัดไฟกว่าระบบที่มีรีโมทคอนโทรล - พัดลมตั้งโต๊ะจะมีราคาต่ำกว่าพัดลมตั้งพื้นและใช้พลังงานไฟฟ้าต่ำกว่า ทั้งนี้เพราะมีขนาดมอเตอร์และกำลังไฟต่ำกว่า แต่พัดลมตั้งพื้นจะให้ลมมากกว่า - เลือกดูเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีความคงทนแข็งแรง ได้รับเครื่องหมายรับรองคุณภาพมาตรฐานอุตสาหกรรม สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ( สมอ .) - เลือกซื้อพัดลมที่มีฉลากแสดงถึงประสิทธิภาพ และเลือกรุ่นที่มีประสิทธิภาพสูง - เลือกซื้อพัดลมในรุ่นที่ไม่ส่งผลเสียต่อสภาวะแวดล้อม - มีคู่มือการใช้งานเพื่อการประหยัดพลังงานและการใช้งานที่มีประสิทธิภาพ - เลือกซื้อพัดลมให้มีขนาดใบพัดและกำลังไฟฟ้าที่เหมาะสมกับขนาดพื้นที่ใช้สอยและจำนวนคนในครอบครัว เช่น ถ้าต้องการใช้เพียงคนเดียวหรือไม่เกิน 2 คนควรใช้พัดลมตั้งโต๊ะ เพราะความแรงของลมเพียงพอ และยังประหยัดไฟกว่าพัดลมชนิดอื่น ๆ
  • 19. การใช้อย่างประหยัดพลังงานและถูกวิธี พัดลมตั้งโต๊ะจะมีราคาต่ำกว่าพัดลมตั้งพื้น และใช้พลังงานไฟฟ้าต่ำกว่า ทั้งนี้เพราะ มีขนาดมอเตอร์และกำลังไฟต่ำกว่า แต่พัดลมตั้งพื้นจะให้ลมมากกว่า ดังนั้นในการเลือกใช้ จึงมีข้อที่ควรพิจารณาดังนี้ - พิจารณาตามความต้องการและสถานที่ที่ใช้ เช่น ถ้าใช้เพียงคนเดียว หรือ ไม่เกิน 2 คน ควรใช้พัดลมตั้งโต๊ะ - อย่าเสียบปลั๊กทิ้งไว้ โดยเฉพาะพัดลมที่มีระบบรีโมทคอนโทรล เพราะจะมี ไฟฟ้าไหลเข้าตลอดเวลา เพื่อหล่อเลี้ยงอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ - ควรเลือกใช้ความแรงหรือความเร็วของลมให้เหมาะสมกับความต้องการและสถาน ที่ เพราะหากความแรงของลมมากขึ้นจะใช้ไฟฟ้ามากขึ้น - เมื่อไม่ต้องการใช้พัดลมควรรีบปิด เพื่อให้มอเตอร์ได้มีการพักและไม่เสื่อมสภาพ เร็วเกินไป - ควรวางพัดลมในที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก เพราะพัดลมใช้หลักการดูดอากาศจาก บริเวณรอบๆ ทางด้านหลังของตัวใบพัด แล้วปล่อยออกสู่ด้านหน้า เช่น ถ้าอากาศบริเวณรอบ พัดลมอับชื้น ก็จะได้ในลักษณะลมร้อนและอับชื้นเช่นกัน นอกจากนี้มอเตอร์ยังระบายความ ร้อนได้ดีขึ้น ไม่เสื่อมสภาพเร็วเกินไป
  • 20. การดูแลรักษา การดูแลรักษาพัดลมอย่างสม่ำเสมอจะช่วยให้พัดลมทำงานได้เต็มประสิทธิภาพ และ ยังช่วยยืดอายุการทำงานให้ยาวนานขึ้น โดยมีวิธีการดังนี้ - หมั่นทำความสะอาดตามจุดต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ใบพัดและตะแกรงครอบ ใบพัด อย่าให้ฝุ่นละอองเกาะจับและต้องดูแลให้มีสภาพดีอยู่เสมอ อย่าให้แตกหักหรือชำรุด หรือโค้งงอผิดสัดส่วนจะทำให้ลมที่ออกมามีความแรงหรือความเร็วลดลง - หมั่นทำความสะอาดช่องลมตรงฝาครอบมอเตอร์ของพัดลม ซึ่งเป็นช่องระบาย ความร้อนของมอเตอร์ อย่าให้มีคราบน้ำมันหรือฝุ่นละอองเกาะจับ เพราะจะทำให้ประสิทธิ ภาพของมอเตอร์ลดลง และสิ้นเปลืองพลังงานไฟฟ้ามากขึ้น
  • 21. เครื่องทำน้ำอุ่นไฟฟ้า เครื่องทำน้ำอุ่นไฟฟ้าสามารถแบ่งตามลักษณะของการใช้งานได้ 2 ประเภท คือ 1 . เครื่องทำน้ำอุ่นแบบทำน้ำอุ่นได้จุดเดียว 2 . เครื่องทำน้ำอุ่นแบบทำน้ำอุ่นได้หลายจุด ซึ่งสิ้นเปลืองพลังงานไฟฟ้ามากกว่าแบบ จุดเดียว ส่วนประกอบและการทำงาน เครื่องทำน้ำอุ่นไฟฟ้าเป็นอุปกรณ์ที่ทำให้น้ำร้อนขึ้นโดยอาศัยการพากความร้อยจาก ขดลวดความร้อน ( Heater ) ขณะที่กระแสน้ำไหลผ่าน ส่วนประกอบหลักของเครื่องทำน้ำอุ่น คือตัวถังน้ำ ขดลวดความร้อน ( Heater ) และอุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิ ( Thermostat ) ตัวถังน้ำ จะบรรจุน้ำซึ่งจะถูกทำให้ร้อน ขดลวดความร้อน ( Heater ) จะร้อนขึ้นเมื่อมีกระแสไฟฟ้าผ่าน คือ เมื่อเราเปิด สวิตซ์เครื่องทำน้ำอุ่นนั่นเอง ลวดความร้อนนี้โดยมากส่วนในสุดจะเป็นลวดนิโครม ส่วนที่อยู่ตรง กลางจะเป็นผงแมกนีเซียมออกไซด์ ซึ่งมีคุณสมบัติเป็นฉนวนไฟฟ้าและทนอุณหภูมิสูง ชั่น นอกสุดจะเป็นท่อโลหะที่อาจทำด้วยทองแดงหรือสเตนเลส อุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิ ( Thermostat ) จะทำหน้าที่ตัดกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน ลวดความร้อนเมื่ออุณหภูมิของน้ำถึงระดับที่เราตั้งไว้
  • 22. การใช้อย่างประหยัดพลังงานและถูกวิธี - ควรพิจารณาเลือกเครื่องทำน้ำอุ่นให้เหมาะสมกับการใช้เป็นหลัก เช่น ต้องการ ใช้น้ำอุ่นเพื่ออาบน้ำเท่านั้นก็ควรจะติดตั้งชนิดทำน้ำอุ่นได้จุดเดียว - ควรเลือกใช้ฝักบัวชนิดประหยัดน้ำ ( Water Efficient Showerhead ) เพราะ สามารถประหยัดน้ำได้ถึงร้อยละ 25-75 - ควรเลือกใช้เครื่องทำน้ำอุ่นที่มีถังน้ำภายในตัวเครื่องและมีฉนวนหุ้ม เพราะ สามารถลดการใช้พลังงานได้ร้อยละ 10-20 - ควรหลีกเลี่ยงการใช้เครื่องทำน้ำอุ่นไฟฟ้าชนิดที่ไม่มีถังน้ำภายในเพราะจะทำให้สิ้น เปลืองการใช้พลังงาน - ปิดวาล์วน้ำและสวิตซ์ทันทีเมื่อเลิกใช้งาน การดูแลรักษา ควรหมั่นตรวจสอบการทำงานของเครื่องให้มีสภาพดีอยู่เสมอ ตลอดจนตรวจดูระบบท่อ น้ำและรอยต่ออย่าให้มีการรั่วซึมและเมื่อเครื่องมีปัญหาควรตรวจสอบ ดังนี้ - ถ้าน้ำที่ออกจากเครื่องน้ำเย็น อันเนื่องจากไม่มีกระแสไฟฟ้าป้อนเข้าสู่ขดลวดความร้อน สาเหตุอาจเกิดจากฟิวส์ขาด อุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิไม่ให้ไฟผ่าน - ถ้าไฟสัญญาณติดแต่ขดลวดความร้อนไม่ทำงาน น้ำไม่อุ่น สาเหตุอาจเกิดจากขดลวด ความร้อนขาด อุปกณ์ควบคุมอุณหภูมิเสีย - ถ้าน้ำจากเครื่องร้อนหรือเย็นเกินไป สาเหตุอาจเกิดจากอุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิทำงาน ผิดปกติ
  • 23. กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า กระติกน้ำร้อนไฟฟ้าเป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้ประโยชน์ในการต้มน้ำให้ร้อนเพื่อใช้ดื่ม และจัดเป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าที่สิ้นเปลืองพลังงานไฟฟ้าสูงตัวหนึ่งเช่นเดียวกับเตารีดไฟฟ้า โดยอาศัยหลักการทำงานเดียวกันคือ ให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวดความร้อนที่อยู่ภายในอุปกรณ์ แล้ว นำความร้อนนั้นไปใช้ประโยชน์ เช่น กระติกน้ำร้อนไฟฟ้าใช้ต้มน้ำร้อน ส่วนเตารีดไฟฟ้าใช้ใน การรีดผ้าให้เรียบ ซึ่งกระติกน้ำร้อนไฟฟ้าโดยทั่วไปจะมีขนาดที่ใช้พลังไฟฟ้าระหว่าง 500-1,300 วัตต์ ดังนั้นหากเรารู้จักใช้อย่างถูกวิธีก็จะช่วยประหยัดพลังงานไฟฟ้าลงได้
  • 24. ส่วนประกอบและการทำงาน ส่วนประกอบหลักของกระติกน้ำร้อนไฟฟ้า ประกอบด้วยขดลวดความร้อน ( Heater ) อยู่ด้านล่างของตัวกระติก และอุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิ ( Thermostat ) เป็นอุปกรณ์ควบคุม การทำงาน - หลักการทำงานของกระติกน้ำร้อนไฟฟ้าคือ เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวดความ ร้อนจะเกิดความร้อน ความร้อนจะถ่ายเทไปยังน้ำภายในกระติก ซึ่งจะทำให้น้ำมีอุณหภูมิสูง ขึ้นจนถึงจุดเดือด อุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิจะตัดกระแสไฟฟ้าในวงจรหลักออกไป แต่ยังคงมี กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน ขดลวดความร้อนบางส่วน โดยไหลผ่านหลอดไฟสัญญาณอุ่น ในช่วงนี้จะ เป็นการอุ่นน้ำ เมื่ออุณหภูมิของน้ำร้อนภายในกระติกลดลงจนถึงจุดๆ หนึ่ง อุปกรณ์ควบคุม อุณหภูมิจะทำงานโดยปล่อยให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวดความร้อนเต็มที่ ทำให้น้ำเดือดอีกครั้ง - การปล่อยน้ำออกจากกาทำได้โดยกดที่ฝากดอากาศซึ่งอยู่ทางด้านบนของกา อากาศ จะถูกอัดเข้าไปภายในกา โดยผ่านทางรูระบายอากาศของฝาปิดภายในของกา ดังนั้นภายในกาจึง มีแรงกดดันที่มากพอที่จะให้น้ำที่อยู่ภายในวิ่งขึ้นไปตามท่อและออกทางพวยกาได้
  • 25. การใช้อย่างประหยัดพลังงานและถูกวิธี - ควรเลือกซื้อรุ่นที่มีฉนวนกันความร้อนที่มีประสิทธิภาพ - ใส่น้ำให้พอเหมาะกับความต้องการหรือไม่สูงกว่าระดับที่กำหนดไว้ เพราะนอกจาก ไม่ประ หยัดพลังงานยังก่อให้เกิดความเสียหายต่อกระติก - ระวังอย่าให้น้ำแห้งหรือปล่อยให้ระดับน้ำต่ำกว่าขีดกำหนด เพราะเมื่อน้ำแห้ง จะทำให้เกิดไฟฟ้าลัดวงจรในกระติกน้ำร้อน เป็นอันตรายอย่างยิ่ง - ถอดปลั๊กเมื่อเลิกใช้น้ำร้อนแล้ว เพื่อลดการสิ้นเปลืองพลังงาน ไม่ควรเสียบปลั๊ก ตลอดเวลา ถ้าไม่ต้องการใช้น้ำแล้ว แต่ถ้าหากมีความต้องการใช้น้ำร้อนเป็นระยะๆ ติดต่อกัน เช่น ในสถานที่ทำงานบางแห่งที่มีน้ำร้อนไว้สำหรับเตรียมเครื่องดื่มต้อนรับแขกก็ไม่ควรดึง ปลั๊กออกบ่อยๆ เพราะทุกครั้งเมื่อดึงปลั๊กออกอุณหภูมิของน้ำจะค่อยๆ ลดลง กระติกน้ำร้อน ไม่สามารถเก็บความร้อนได้นาน เมื่อจะใช้งานใหม่ก็ต้องเสียบปลั๊กและเริ่มทำการต้มน้ำใหม่ เป็นการสิ้นเปลืองพลังงาน - ไม่ควรเสียบปลั๊กตลอดเวลา ถ้าไม่ต้องการใช้น้ำร้อนแล้ว - อย่านำสิ่งใดๆ มาปิดช่องไอน้ำออก - ตรวจสอบการทำงานของอุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิให้อยู่ในสภาพใช้งานได้เสมอ - ไม่ควรตั้งไว้ในห้องที่มีการปรับอากาศ
  • 26. การดูแลรักษา การดูแลรักษากระติกน้ำร้อนให้มีอายุการใช้งานนานขึ้น และลดการใช้พลังงานลง และป้องกันอุบัติเหตุหรืออันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นได้ มีวิธีการดังนี้ - หมั่นตรวจดูสายไฟฟ้าและขั้วปลั๊ก ซึ่งมักเป็นจุดที่ขัดข้องเสมอ - ควรต้มน้ำที่สะอาดเท่านั้น มิฉะนั้นผิวในกระติกอาจเปลี่ยนสี เกิดคราบสนิม และตะกรัน - หมั่นทำความสะอาดตัวกระติกด้านใน อย่าให้มีคราบตะกรัน เพราะจะเป็นตัวต้าน ทานการถ่ายเทความร้อนจากขดลวดความร้อนไปสู่น้ำ เพิ่มเวลาการต้มน้ำและสูญเสียพลังงาน โดยเปล่าประโยชน์ - เมื่อไม่ต้องการใช้กระติก ควรล้างกระติกด้านในให้สะอาดแล้วคว่ำกระติกลงเพื่อให้ น้ำออกจากตัวกระติก แล้วใช้ผ้าเช็ดด้านในให้แห้ง - ก่อนทำความสะอาดด้านในกระติก ควรเทน้ำภายในออกให้หมด รอให้ตัวกระติก เย็นจึงค่อยทำความสะอาด - ควรทำความสะอาดส่วนต่างๆ ของกระติก ตามคำแนะนำต่อไปนี้ ตัวและฝากระติก ใช้ผ้าชุบน้ำ บิดให้หมาดแล้วเช็ดอย่างระมัดระวัง ฝาปิดด้านใน ใช้น้ำหรือน้ำยาล้างจานให้สะอาด ตัวกระติกด้านใน ใช้ฟองน้ำชุบเช็ดให้ทั่ว ล้างให้สะอาดด้วยน้ำ เทน้ำที่ใช้ล้างออกให้ หมด อย่าราดน้ำลงบนส่วนอื่นของตัวกระติกนอกจากภายในกระติกเท่านั้น อย่าใช้ของมีคม หรือฝอยขัดหม้อขูดหรือขัดตัวกระติกด้านใน เพราะจะทำให้สารเคลือบหลุดได้
  • 27.
  • 28.