SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
ประวัติและวิวัฒนาการของวิทยุกระจายเสียงในต่างประเทศ อาจารย์สกุลศรี ศรีสารคาม
วิทยุกระจายเสียงในต่างประเทศ โทรเลข  ( Telegraph) การส่งข้อความผ่านสายด้วยรหัส ที่เป็นเส้น และ จุด “รหัสมอส” โดย แซมมอล มอส  ทำอย่างไรให้ส่งได้เร็วขึ้น และ  ไม่ต้องแปลงรหัสเป็นภาษาปกติ “ ส่งสัญญาณวิทยุในอากาศ”
วิทยุกระจายเสียงในต่างประเทศ James Clerk Maxwell  เจมส์ แม็กซ์เวลล์  นักคณิตศาสตร์และฟิสิกส์ชาวสก็อต พ . ศ . 2416 ( ค . ศ . 1873)  พบว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเคลื่อนที่ได้เร็วเท่าคลื่นแสง และสามารถส่งสัญญาณในอากาศได้ ไม่ต้องใช้สาย
วิทยุกระจายเสียงในต่างประเทศ Heinrich Rudolf Hertz  ไฮน์ริค เฮิร์ตซ์ นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน พ . ศ . 2430 ( ค . ศ . 1887)  ส่งและรับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นคนแรกของโลก ด้วยเครื่อง  ออสซิเลเตอร์ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า นั่นคือ เฮิร์ตเซียน  ( Hertzian Wave   เรียกง่ายๆว่า คลื่น  Hertz  หรือย่อว่า  Hz)
วิทยุกระจายเสียงในต่างประเทศ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
วิทยุกระจายเสียงในต่างประเทศ เรจินัลด์ เฟสเสนเดน พ . ศ . 2449 ( ศ . ศ . 1906)  แปลงสัญญาณเป็นความเร็วสูง สามารถ ส่งเสียงพูดและเสียงเพลง ออกอากาศได้เป็นครั้งแรกของโลก โดยออกอากาศไปยังผู้ฟังในเรือที่อ่าวนิวยอร์กในวันคริสต์มาส นับว่า “การกระจายเสียงครั้งแรกของโลก” ลี เดอ เฟอเรส คิดหลอดสุญญากาศ เรียก หลอดโอดิออน ใช้ขยายคลื่นสัญญาณเสียง ซึ่งก็คือ หลอดวิทยุนั่นเอง
วิทยุกระจายเสียงในต่างประเทศ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
วิทยุกระจายเสียงในต่างประเทศ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],เครื่อง ซูเปอร์เฮนโทรไดร์ การขยายสัญญาณ จากช่องความถี่กว้างให้แคบขึ้น ทำให้รับได้ชัดขึ้น และ ลดปัญหาไฟฟ้าสถิต เป็นเครื่องรับแบบสมัยใหม่ ที่มีปุ่มหมุนหาคลื่น
กิจการวิทยุฯ ในสหรัฐอเมริกา David Sarnoff เดวิด ซานอฟ  ( พ . ศ . 2473-2483)  บุกเบิกกิจการวิทยุในอเมริกาโดยทำงานให้บริษัท  RCA  พัฒนากิจการเครื่องรับส่งวิทยุ  ให้ความสำคัญกับวิทยุในฐานะให้ความบันเทิง เพราะจะทำเงินได้มาก
กิจการวิทยุฯ ในสหรัฐอเมริกา อเมริกากว้าง ยากที่จะตั้งสถานีวิทยุแห่งชาติ  จึงเป็นสถานีประจำรัฐ และ เป็นวิทยุเชิงพาณิชย์ คือโฆษณาได้เพื่อกำไรสูงสุด
กิจการวิทยุฯ ในสหรัฐอเมริกา KDKA สถานีวิทยุฯ แห่งแรกของสหรัฐ ออกอากาศครั้งแรกเมื่อ  20  พฤศจิกายน พ . ศ . 2463 ( ค . ศ . 1920)  โดย  Westing House     ธุรกิจวิทยุเติบโตมาก มีสถานีเพิ่มอีกหลากหลาย ยอดขายเครื่องรับวิทยุเพิ่มขึ้น
กิจการวิทยุฯ ในสหรัฐอเมริกา Network Radio พัฒนารูปแบบเครือข่าย ได้แก่  NBC  (National Broadcasting Radio)  เครือข่ายแรก ของประเทศ เกิดจาก  RCA + Westing House ต่อจากนั้น เกิด  CBS  (Columbia Broadcasting System)  ค . ศ .  1948  รัฐให้   RCA  ขายข่ายงานวิทยุอันที่สองไป ซึ่งต่อมาตั้งเป็น   ABC  (American Broadcasting Company)
กิจการวิทยุฯ ในสหรัฐอเมริกา War of the Worlds  ละครวิทยุ ตัวอย่างของการพัฒนารูปแบบรายการวิทยุในสหรัฐ เป็นละครที่ดังมาก ทำให้คนเชื่อนึกว่าเป็นเหตุการณ์จริง พากันออกมาขุดหลุมหลบภัยจากมนุษย์ต่างดาว วิทยุเป็นสื่อที่มีอิทธิพลต่อผู้ฟัง
กิจการวิทยุฯ ในสหรัฐอเมริกา Federal Communications Commission (FCC) พ . ศ . 2470 ( ค . ศ . 1927)  :  สภาคองเกรสของสหรัฐ จัดตั้งสมาพันธ์กรรมาธิการวิทยุ  ( Federal Radio Commission  หรือ  FRC)  เพื่อดูแลกิจการวิทยุของประเทศ พ . ศ . 2477 ( ศ . ศ . 1934)  : FRC  เป็นชื่อเป็น สมาพันธ์กรรมาธิการการสื่อสาร  ( Federal Communications Commission  หรือ  FCC) ดูแลจัดสรรคลื่นความถี่และดูแลกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียงของประเทศ
กิจการวิทยุฯ ในอังกฤษ British  Broadcasting Corporation (BBC) รูปแบบวิทยุในอังกฤษเรียกว่า กิจการวิทยุกระจายเสียงสาธารณะ  ( Public Service Broadcasting)  ก่อตั้งโดย จอห์น รีธ เป็นผู้ดำรงตำแหน่งผู้จัดการใหญ่คนแรก หน้าที่ :  แจ้งข่าวสาร  /  ให้การศึกษา  /  ให้ความบันเทิง ไม่มีโฆษณา ได้เงินจากค่าภาษีเครื่องรับ มีบอร์ดบริหาร เป็นอิสระจากรัฐ และ เอกชน
กิจการวิทยุฯ ในอังกฤษ British  Broadcasting Corporation (BBC) ดำเนินการกระจายเสียงในรูปแบบ เครือข่ายให้ชาติ  เพราะอังกฤษมีขนาดไม่ใหญ่มาก สามารถทำได้ เริ่มจาก  Radio One, Radio two  และ ท้องถิ่น เหตุการณ์สำคัญที่ทำให้วิทยุได้รับความนิยมมากในอังกฤษ คือ การรายงานข่าวการประชวรของกษัตริย์จอร์จที่  5
กิจการวิทยุฯ ในอังกฤษ
เอกสารอ้างอิง  ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]

More Related Content

What's hot

สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1Suksawat Sanong
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2Taraya Srivilas
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfSzo'k JaJar
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง Sherry Srwchrp
 
ดนตรีไทยสมัยสุโขทัย
ดนตรีไทยสมัยสุโขทัยดนตรีไทยสมัยสุโขทัย
ดนตรีไทยสมัยสุโขทัยPitchyJelly Matee
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยBenjapron Seesukong
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกSompak3111
 
ประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทยประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทยChalee Pop
 
หลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนหลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนNattha Namm
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นTook Took Rachataporn
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นTaraya Srivilas
 
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformationการปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious ReformationWarinthorn Limpanakorn
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมthnaporn999
 
ยุคโรแมนติคหรือจินตนิยม (Romanticism)
ยุคโรแมนติคหรือจินตนิยม (Romanticism)ยุคโรแมนติคหรือจินตนิยม (Romanticism)
ยุคโรแมนติคหรือจินตนิยม (Romanticism)Kanpitcha Sandra
 
ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทย
ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทยประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทย
ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทยSukanda Panpetch
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 

What's hot (20)

สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
ดนตรีไทยสมัยสุโขทัย
ดนตรีไทยสมัยสุโขทัยดนตรีไทยสมัยสุโขทัย
ดนตรีไทยสมัยสุโขทัย
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
 
หู
หูหู
หู
 
ประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทยประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทย
 
หลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนหลักการทรูแมน
หลักการทรูแมน
 
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทยความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformationการปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
 
ยุคโรแมนติคหรือจินตนิยม (Romanticism)
ยุคโรแมนติคหรือจินตนิยม (Romanticism)ยุคโรแมนติคหรือจินตนิยม (Romanticism)
ยุคโรแมนติคหรือจินตนิยม (Romanticism)
 
ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทย
ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทยประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทย
ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทย
 
ปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนาปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนา
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
สาเหตุของสงครามครูเสด
สาเหตุของสงครามครูเสดสาเหตุของสงครามครูเสด
สาเหตุของสงครามครูเสด
 

More from Sakulsri Srisaracam

คู่มือ Design thinking & transmedia storytelling
คู่มือ Design thinking & transmedia storytellingคู่มือ Design thinking & transmedia storytelling
คู่มือ Design thinking & transmedia storytellingSakulsri Srisaracam
 
การขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movement
การขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movementการขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movement
การขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social MovementSakulsri Srisaracam
 
ความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชน
ความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชนความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชน
ความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชนSakulsri Srisaracam
 
The role of Social Media and the changing of news reporting process
The role of Social Media and the changing of news reporting processThe role of Social Media and the changing of news reporting process
The role of Social Media and the changing of news reporting processSakulsri Srisaracam
 
Social Media กับการทำข่าวสอบสวน
Social Media กับการทำข่าวสอบสวนSocial Media กับการทำข่าวสอบสวน
Social Media กับการทำข่าวสอบสวนSakulsri Srisaracam
 
Social TV & Transmedia for Documentary
Social TV & Transmedia for DocumentarySocial TV & Transmedia for Documentary
Social TV & Transmedia for DocumentarySakulsri Srisaracam
 

More from Sakulsri Srisaracam (20)

คู่มือ Design thinking & transmedia storytelling
คู่มือ Design thinking & transmedia storytellingคู่มือ Design thinking & transmedia storytelling
คู่มือ Design thinking & transmedia storytelling
 
การขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movement
การขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movementการขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movement
การขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movement
 
ความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชน
ความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชนความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชน
ความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชน
 
Online community & journalism
Online community & journalismOnline community & journalism
Online community & journalism
 
The role of Social Media and the changing of news reporting process
The role of Social Media and the changing of news reporting processThe role of Social Media and the changing of news reporting process
The role of Social Media and the changing of news reporting process
 
Reseachconvergence
ReseachconvergenceReseachconvergence
Reseachconvergence
 
Social Media กับการทำข่าวสอบสวน
Social Media กับการทำข่าวสอบสวนSocial Media กับการทำข่าวสอบสวน
Social Media กับการทำข่าวสอบสวน
 
Social TV & Transmedia for Documentary
Social TV & Transmedia for DocumentarySocial TV & Transmedia for Documentary
Social TV & Transmedia for Documentary
 
Newsreportprocess
NewsreportprocessNewsreportprocess
Newsreportprocess
 
Social Media & Journalism
Social Media & JournalismSocial Media & Journalism
Social Media & Journalism
 
Digital Media & University
Digital Media & UniversityDigital Media & University
Digital Media & University
 
Irregularverb
IrregularverbIrregularverb
Irregularverb
 
Agreement of verb
Agreement of verbAgreement of verb
Agreement of verb
 
Adjectiveadverb
AdjectiveadverbAdjectiveadverb
Adjectiveadverb
 
Conjunctions
ConjunctionsConjunctions
Conjunctions
 
Conjunctions
ConjunctionsConjunctions
Conjunctions
 
Adjective & Adverb
Adjective & AdverbAdjective & Adverb
Adjective & Adverb
 
News21century
News21century News21century
News21century
 
Radio drama
Radio dramaRadio drama
Radio drama
 
TV Production 2
TV Production 2TV Production 2
TV Production 2
 

radio history

  • 2. วิทยุกระจายเสียงในต่างประเทศ โทรเลข ( Telegraph) การส่งข้อความผ่านสายด้วยรหัส ที่เป็นเส้น และ จุด “รหัสมอส” โดย แซมมอล มอส ทำอย่างไรให้ส่งได้เร็วขึ้น และ ไม่ต้องแปลงรหัสเป็นภาษาปกติ “ ส่งสัญญาณวิทยุในอากาศ”
  • 3. วิทยุกระจายเสียงในต่างประเทศ James Clerk Maxwell เจมส์ แม็กซ์เวลล์ นักคณิตศาสตร์และฟิสิกส์ชาวสก็อต พ . ศ . 2416 ( ค . ศ . 1873) พบว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเคลื่อนที่ได้เร็วเท่าคลื่นแสง และสามารถส่งสัญญาณในอากาศได้ ไม่ต้องใช้สาย
  • 4. วิทยุกระจายเสียงในต่างประเทศ Heinrich Rudolf Hertz ไฮน์ริค เฮิร์ตซ์ นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน พ . ศ . 2430 ( ค . ศ . 1887) ส่งและรับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นคนแรกของโลก ด้วยเครื่อง ออสซิเลเตอร์ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า นั่นคือ เฮิร์ตเซียน ( Hertzian Wave เรียกง่ายๆว่า คลื่น Hertz หรือย่อว่า Hz)
  • 5.
  • 6. วิทยุกระจายเสียงในต่างประเทศ เรจินัลด์ เฟสเสนเดน พ . ศ . 2449 ( ศ . ศ . 1906) แปลงสัญญาณเป็นความเร็วสูง สามารถ ส่งเสียงพูดและเสียงเพลง ออกอากาศได้เป็นครั้งแรกของโลก โดยออกอากาศไปยังผู้ฟังในเรือที่อ่าวนิวยอร์กในวันคริสต์มาส นับว่า “การกระจายเสียงครั้งแรกของโลก” ลี เดอ เฟอเรส คิดหลอดสุญญากาศ เรียก หลอดโอดิออน ใช้ขยายคลื่นสัญญาณเสียง ซึ่งก็คือ หลอดวิทยุนั่นเอง
  • 7.
  • 8.
  • 9. กิจการวิทยุฯ ในสหรัฐอเมริกา David Sarnoff เดวิด ซานอฟ ( พ . ศ . 2473-2483) บุกเบิกกิจการวิทยุในอเมริกาโดยทำงานให้บริษัท RCA พัฒนากิจการเครื่องรับส่งวิทยุ ให้ความสำคัญกับวิทยุในฐานะให้ความบันเทิง เพราะจะทำเงินได้มาก
  • 10. กิจการวิทยุฯ ในสหรัฐอเมริกา อเมริกากว้าง ยากที่จะตั้งสถานีวิทยุแห่งชาติ จึงเป็นสถานีประจำรัฐ และ เป็นวิทยุเชิงพาณิชย์ คือโฆษณาได้เพื่อกำไรสูงสุด
  • 11. กิจการวิทยุฯ ในสหรัฐอเมริกา KDKA สถานีวิทยุฯ แห่งแรกของสหรัฐ ออกอากาศครั้งแรกเมื่อ 20 พฤศจิกายน พ . ศ . 2463 ( ค . ศ . 1920) โดย Westing House  ธุรกิจวิทยุเติบโตมาก มีสถานีเพิ่มอีกหลากหลาย ยอดขายเครื่องรับวิทยุเพิ่มขึ้น
  • 12. กิจการวิทยุฯ ในสหรัฐอเมริกา Network Radio พัฒนารูปแบบเครือข่าย ได้แก่ NBC (National Broadcasting Radio) เครือข่ายแรก ของประเทศ เกิดจาก RCA + Westing House ต่อจากนั้น เกิด CBS (Columbia Broadcasting System) ค . ศ . 1948 รัฐให้ RCA ขายข่ายงานวิทยุอันที่สองไป ซึ่งต่อมาตั้งเป็น ABC (American Broadcasting Company)
  • 13. กิจการวิทยุฯ ในสหรัฐอเมริกา War of the Worlds ละครวิทยุ ตัวอย่างของการพัฒนารูปแบบรายการวิทยุในสหรัฐ เป็นละครที่ดังมาก ทำให้คนเชื่อนึกว่าเป็นเหตุการณ์จริง พากันออกมาขุดหลุมหลบภัยจากมนุษย์ต่างดาว วิทยุเป็นสื่อที่มีอิทธิพลต่อผู้ฟัง
  • 14. กิจการวิทยุฯ ในสหรัฐอเมริกา Federal Communications Commission (FCC) พ . ศ . 2470 ( ค . ศ . 1927) : สภาคองเกรสของสหรัฐ จัดตั้งสมาพันธ์กรรมาธิการวิทยุ ( Federal Radio Commission หรือ FRC) เพื่อดูแลกิจการวิทยุของประเทศ พ . ศ . 2477 ( ศ . ศ . 1934) : FRC เป็นชื่อเป็น สมาพันธ์กรรมาธิการการสื่อสาร ( Federal Communications Commission หรือ FCC) ดูแลจัดสรรคลื่นความถี่และดูแลกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียงของประเทศ
  • 15. กิจการวิทยุฯ ในอังกฤษ British Broadcasting Corporation (BBC) รูปแบบวิทยุในอังกฤษเรียกว่า กิจการวิทยุกระจายเสียงสาธารณะ ( Public Service Broadcasting) ก่อตั้งโดย จอห์น รีธ เป็นผู้ดำรงตำแหน่งผู้จัดการใหญ่คนแรก หน้าที่ : แจ้งข่าวสาร / ให้การศึกษา / ให้ความบันเทิง ไม่มีโฆษณา ได้เงินจากค่าภาษีเครื่องรับ มีบอร์ดบริหาร เป็นอิสระจากรัฐ และ เอกชน
  • 16. กิจการวิทยุฯ ในอังกฤษ British Broadcasting Corporation (BBC) ดำเนินการกระจายเสียงในรูปแบบ เครือข่ายให้ชาติ เพราะอังกฤษมีขนาดไม่ใหญ่มาก สามารถทำได้ เริ่มจาก Radio One, Radio two และ ท้องถิ่น เหตุการณ์สำคัญที่ทำให้วิทยุได้รับความนิยมมากในอังกฤษ คือ การรายงานข่าวการประชวรของกษัตริย์จอร์จที่ 5
  • 18.