SlideShare a Scribd company logo
1
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ และ ภาษาคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์
โดยทั่วไปแล้วจะแบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ ด้วยกันคือ
1) ซอฟต์แวร์ระบบ ( System Software ) เป็นซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมการทางานที่ใกล้ชิดกับ
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์มากที่สุด โดยจะทาหน้าที่ติดต่อ ควบคุม และสั่งการให้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์สามารถ
ทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกันให้ได้มากที่สุด รวมถึงการบารุงรักษาระบบตัวเครื่อง
คอมพิวเตอร์ให้มีการใช้งานได้ยาวนานขึ้นอีกด้วย ซอฟต์แวร์ระบบแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทด้วยกัน คือ
1.1 )ระบบปฏิบัติการ ( operating systems )
1.2 )โปรแกรมอรรถประโยชน์ ( utility programs )
2) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ( Application Software ) เป็นซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้เฉพาะด้านเท่านั้น
ไม่เกี่ยวข้องกับการควบคุมระบบของคอมพิวเตอร์ แต่จะทางานได้โดยเรียกใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ผ่าน
ซอฟต์แวร์ระบบอีกทอดหนึ่งดังที่กล่าวแล้วในบทที่ผ่านมา ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้สามารถแบ่งออกได้หลาย
ชนิดขึ้นอยู่กับลักษณะเกณฑ์ที่ใช้แบ่ง ซึ่งพอจะสรุปได้ดังนี้
แบ่งตามลักษณะการผลิต ได้2 ประเภท คือ
- ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ ( Proprietary Software )
- ซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้โดยทั่วไป ( Off – the– Shelf Software หรือ Packaged Software )
แบ่งตามกลุ่มการใช้งาน ได้3 กลุ่มใหญ่คือ
- กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ ( business )
- กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย ( graphic and multimedia )
- กลุ่มสาหรับการใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร ( web and communications )
ยุวภรณ์ พฤฒิชัย ม.6/1 เลขที่ 29
2
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
การจัดหาซอฟต์แวร์มาใช้งาน
แบบสาเร็จรูป (Packaged or ready-made software) เป็นวิธีที่ผู้ใช้งานซื้อ
ได้จากตัวแทนจาหน่ายซอฟแวร์ที่ได้รับการแต่งตั้งจากบริษัทผู้ผลิต
โดยตรง ซึ่งมักจะมีการเตรียมบรรจุภัณฑ์และเอกสารคู่มือการใช้งานไว้อยู่
แล้ว ผู้ใช้สามรถนาไปติดตั้งเพื่อใช้งานได้โดยทันที กรณีที่ไม่สามารถ
เลือกซื้อผ่านทางร้านตัวแทนจาหน่ายได้อาจเข้าไปในเว็บไซต์ของ
บริษัทผู้ผลิตซอฟต์แวร์นั้นๆ แล้วกรอกข้อมูลรายการชาระเงินผ่านระบบ
แบบฟอร์มบนเว็บ เมื่อรายละเอียดเกี่ยวกับการจ่ายชาระเงินของผู้ซื้อได้รับ
การอนุมัติแล้ว ก็สามารถดาวน์โหลดเอาซอฟต์แวร์มาใช้งานได้ทันที
แบบทดลองใช้ (Shareware) เป็นวิธีที่บริษัทผู้ผลิต
ซอฟต์แวร์ได้ผลิตโปรแกรมที่ปรับลดคุณสมบัติบางอย่างลงไป
เพื่อให้ลูกค้าทดลองใช้งานก่อน โดยมีการกาหนดระยะเวลา
ทดลองใช้งาน เช่น ใช้ได้ภายใน 30 วัน ใช้ภายใน 90 วัน
เป็นต้น หากผู้ใช้ทดลองใช้แล้วตัดสินใจว่าดี ตลอดจน
เหมาะสมกับงานที่ทาอยู่ผู้ใช้สามารถสั่งซื้อโปรแกรมสาเร็จรูป
แบบต็มๆจากบริษัทผู้ผลิตต่อไป
แบบว่าจ้างทา (Customized or tailor-made software)
เป็นวิธีการที่เหมาะสาหรับองค์กรที่มีลักษณะงานเฉพาะ
ของตนเองและไม่สามารถนาโปรแกรมสาเร็จรูปมา
ประยุกต์ใช้ได้ดังนั้น จึงต้องมีการผลิตซอฟแวร์ขึ้นมาใช้
เอง โดยให้บุคคลภายนอกที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน
ทาการผลิตซอฟแวร์ใหเตรงตามคุณสมบัติที่ต้องการ
วิธีการนี้อาจทาให้มีค่าใช้จ่ายสูงกว่าแบบสาเร็จรูป
พอสมควร แต่การทางานของซอฟต์แวร์จะสอดคล้องตรง
กับความต้องการได้ดีที่สุด
แบบทดลองใช้งานฟรี (Freeware) เป็น
โปรแกรมที่แจกให้ใช้ฟรี เพื่อตอบสนองกับการ
ทางานที่หลากหลาย ซึ่งผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องจ่ายเงิน
ให้กับบริษัทผู้ผลิต ส่วนใหญ่เป้าหมายของผู้ผลิตคือ
ต้องการพัฒนาโปรแกรมเพื่อเผยแพร่ผลงานของ
ตนเองให้เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น และทดสอบระบบที่
พัฒนาขึ้น ซอฟต์แวร์ประเภทนี้ลิขสิทธิ์ก็ยังเป็นของ
บริษัทผู้ผลิตอยู่ผู้อื่นไม่สามารถนาไปพัฒนาต่อหรือ
แก้ไขเปลี่ยนแปลงได้
แบบโอเพนซอร์ซ (Open source)
เป็นวิธีการขององค์กรที่มีกลุ่มบุคคลผู้ที่มี
ความรู้และความเชี่ยวชาญด้านการพัฒนา
ซอฟต์แวร์ทาการพัฒนาขึ้น เพื่อให้ผู้ใช้
นาไปใช้งานได้ฟรี รวมทั้งสามารถแก้ไข
ปรับปรุงโปรแกรมต่างๆ ให้เหมาะสมกับ
งานของตนได้
3
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ระบบปฏิบัติการ (OS - Operating System)
เป็นซอฟต์แวร์ที่เอาไว้ใช้สาหรับควบคุมและ
ประสานงานระหว่างอุปกรณ์ภายในคอมพิวเตอร์
ทั้งหมด ตั้งแต่ซีพียูหน่วยความจา ไปจนถึงส่วน
นาเข้าและส่งออกผลลัพธ์ ( input/output
device ) บางครั้งก็นิยมเรียกรวม ๆ ว่า
แพลตฟอร์ม (platform ) คอมพิวเตอร์จะ
ทางานได้จาเป็นต้องมีระบบปฏิบัติการติดตั้งอยู่
ในเครื่องเสียก่อน ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับบริษัทผู้ผลิต
เครื่องนั้น ๆ ว่าจะเลือกใช้แพลตฟอร์ม หรือ
ระบบปฏิบัติการอะไรในการทางาน เราจะพบเห็น
ระบบปฏิบัติการอยู่ในคอมพิวเตอร์แทบจะทุก
ประเภทตั้งแต่เครื่องขนาดใหญ่อย่างเครื่อง
เมนเฟรมจนถึงระดับเล็กสุด เช่น เครื่อง
คอมพิวเตอร์พกพาประเภทพีดีเอ
คุณสมบัติการทางาน
1) การทางานแบบ Multi – Tasking คือ
ความสามารถในการทางานได้หลาย ๆ งาน หรือหลาย ๆ
โปรแกรมในเวลาเดียวกัน เช่น พิมพ์รายงานควบคู่ไปกับการ
ท่องเว็บ ซึ่งในสมัยก่อนการทางานของระบบปฏิบัติการจะอยู่
ในรูปแบบที่เรียกว่า single-tasking ซึ่งจะทางานทีละ
โปรแกรมคาสั่ง ผู้ใช้ไม่สามารถที่จะสลับงานไประหว่าง
โปรแกรมหรือทางานควบคู่กันได้
2) การทางานแบบ Multi – User ในระบบการ
เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าไว้ด้วยกันแบบเครือข่าย
ระบบปฏิบัติการที่ทาหน้าที่ควบคุมจะมีคุณสมบัติอย่างหนึ่งที่
เรียกว่า multi-user หรือความสามารถในการทางานกับ
ผู้ใช้ได้หลาย ๆ คน ขณะที่มีการประมวลผลของงานพร้อม ๆ
กัน ทาให้กระจายการใช้ได้ทั่วถึงมากยิ่งขึ้น
ประเภทของระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยว ( stand – alone OS )
เป็นระบบปฏิบัติการที่มุ่งเน้นและให้บริการสาหรับผู้ใช้เพียงคนเดียว (เจ้าของเครื่องนั้น ๆ) นิยมใช้สาหรับเครื่อง
คอมพิวเตอร์ที่ประมวลผลและทางานแบบทั่วไป
1)DOS (Disk Operating System) เป็นระบบปฏิบัติการซึ่งได้มีการพัฒนาขึ้น เพื่อใช้สาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
เป็นหลัก
2)indows มีผู้คิดค้นขึ้นก่อนหน้านั้นไม่นานนักมาใช้ในระบบปฏิบัติการตัวใหม่ที่มีชื่อว่า Windows เพื่อแก้ปัญหา ส่งผลให้
ผู้ใช้และระบบปฏิบัติการสามารถทางานงานร่วมกันได้คล่องตัวมากยิ่งขึ้น
3)Unix เป็นระบบปฏิบัติการที่มักใช้กับผู้ที่มีความรู้ทางด้านคอมพิวเตอร์ค่อนข้างมาก รองรับกับการทางานของผู้ใช้ได้
หลาย ๆ คนพร้อมกัน ( multi-user ) การปรับเปลี่ยนและแก้ไขระบบต่าง ๆ มีความยืดหยุ่นในการทางานได้ดีกว่า ปัจจุบันมี
การพัฒนาระบบที่สนับสนุนให้ใช้งานได้ทั้งแบบเดี่ยวและแบบเครือข่าย
4)Linux เป็นระบบปฏิบัติการที่ได้รับความนิยมมากเช่นเดียวกัน เนื่องจากเปิด ให้ใช้รวมถึงพัฒนาต่อยอดเพื่อแก้ไข
ชุดคาสั่งต่าง ๆ ไ
ด้ฟรี ในปัจจุบันหลาย ๆ ประเทศได้พยายามส่งเสริมให้มีการใช้ระบบปฏิบัติการตัวนี้อย่างต่อเนื่องเพื่อลดปัญหาการขาด
ดุลการค้า เนื่องจากการนาเข้าซอฟต์แวร์จากต่างประเทศ (ระบบปฏิบัติการเป็นสินค้าประเภทหนึ่งที่สามารถผลิตขึ้นมาเพื่อ
จาหน่ายได้ทั่วโลกเช่นเดียวกับสินค้าประเภทอื่น ๆ ซึ่งหากความต้องการในประเทศมีมาก อาจจาเป็นต้องสั่งเข้าในปริมาณ
ที่มากตามไปด้วย) รวมทั้งเพื่อลดปัญหาในประเด็นของความมั่นคงที่จะไม่ต้องพึ่งพาเทคโนโลยีของต่างประเทศ อันได้แก่
สหรัฐอเมริกาด้วย
4
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
2) ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่าย ( Network OS )
1)Windows Server เป็นระบบปฏิบัติการที่ออกแบบมาเพื่อใช้งานกับระบบเครือข่ายโดยเฉพาะ รุ่นแรกออกมาในชื่อ
Windows NT และพัฒนาต่อมาเป็น Windows 2000 และรุ่นล่าสุดคือ Windows Server 2003 ผลิตออกมาเพื่อรองรับกับการ
ใช้งานในระดับองค์กรขนาดเล็กและขนาดกลางพัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟต์
2)OS/2 Warp Server เป็นระบบปฏิบัติการเครือข่ายอีกรูปแบบหนึ่ง ออกแบบมาสาหรับการใช้งานคอมพิวเตอร์แบบ
เครือข่ายสาหรับองค์กรได้เป็นอย่างดี พัฒนาโดยบริษัทไอบีเอ็มเพื่อใช้เป็นระบบที่ควบคุมเครื่องแม่ข่ายหรือ Server 3)
Solaris เป็นระบบปฏิบัติการเครือข่ายที่อยู่ในตระกูลเดียวกับระบบปฏิบัติการ Unix (Unix compatible) พัฒนาขึ้นโดย
บริษัทซัน ไมโครซิสเต็มส์ สามารถรองรับการทางานแบบเครือข่ายได้เช่นเดียวกับระบบอื่น
3)ระบบปฏิบัติการแบบฝัง ( Embedded OS ) เรามักจะพบเห็นการใช้งานของระบบปฏิบัติการแบบฝังนี้กับอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์ขนาดพกพา เช่น Palm, pocket PC, Smart phone รวมถึงอุปกรณ์ขนาดเล็กอื่น ๆ ซึ่งพอจะยกตัวอย่างได้ดังนี้
1) Pocket PC OS (Windows CE เดิม) บริษัทไมโครซอฟต์ผู้ผลิตระบบปฏิบัติการยักษ์ใหญ่ที่มีความชานาญจากการสร้าง
ระบบที่ใช้สาหรับเครื่องพีซีมาก่อน ได้หันมาเน้นการผลิตเพื่อใช้งานร่วมกับการควบคุมในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ขนาด
เล็กมากยิ่งขึ้น โดยสร้างระบบปฏิบัติการตัวใหม่ที่มีชื่อเรียกว่า Pocket PC OS
2) Palm OS เป็นระบบปฏิบัติการที่ถือได้ว่าเกิดขึ้นมาพร้อม ๆ กันกับการนาเอาคอมพิวเตอร์แบบพกพามาใช้ในยุคแรก ๆ
เรียกกันว่าเครื่อง Palm ( ผลิตขึ้นโดยบริษัทปาล์ม) ซึ่งได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในเวลาต่อมา เป็นระบบที่
พัฒนาขึ้นมาก่อน Windows CE หรือ Pocket PC OS ของไมโครซอฟต์
3)Symbian OS เป็นระบบปฏิบัติการที่ออกแบบมาเพื่อรองรับกับเทคโนโลยีการสื่อสารแบบไร้สาย (wireless )
โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับโทรศัพท์มือถือ Smart phone นอกจากนั้นยังสนับสนุนการทางานแบบหลาย ๆ งานในเวลา
เดียวกันได้ด้วย ซึ่งทาให้โทรศัพท์มือถือมีความสามารถที่นอกเหนือจากแค่รับสายพูดคุยในแบบทั่วไปเพียงอย่างเดียวโปรแกรมอรรถประโยชน์หรือโปรแกรมยูทิลิตี้ (Utility Program)
โปรแกรมอรรถประโยชน์หรือโปรแกรมยูทิลิตี้ ( Utility Program ) เป็นโปรแกรมที่สาคัญกับการทางานของระบบ
คอมพิวเตอร์เช่นเดียวกัน ส่วนใหญ่จะมีขนาดเล็กกว่าระบบปฏิบัติการ คุณสมบัติในการใช้งานนั้นค่อนข้างหลากหลายหรือใช้
งานได้แบบอรรถประโยชน์ มักนิยมเรียกสั้น ๆ ว่า ยูทิลิตี้ ( Utility ) แบ่งออกเป็น 2 ชนิด
ยูทิลิตี้สาหรับระบบปฏิบัติการ )OS Utility Programs)
เป็นยูทิลิตี้ที่มักจะมีการติดตั้งมาพร้อมกับระบบปฏิบัติการอยู่แล้ว ซึ่งช่วยอานวยความสะดวกสาหรับการทางานร่วมกับ
คอมพิวเตอร์ได้เป็นอย่างดี ซึ่งขอยกตัวอย่างของยูทิลิตี้ที่ใช้ใน Windows ที่ค่อนข้างจะรู้จักกันดี
1)ประเภทการจัดการไฟล์ ( File Manager )เป็นยูทิลิตี้ที่มีหน้าที่หลักในการจัดการเกี่ยวกับไฟล์ต่าง ๆ เช่น การคัดลอก การ
เปลี่ยนชื่อ การลบ และการย้ายไฟล์ เป็นต้น ระบบปฏิบัติการ Windows รุ่นใหม่ ๆ ยังได้เพิ่มคุณสมบัติที่เรียกว่า image viewer
เพื่อนามาปรับใช้กับไฟล์ที่เป็นรูปภาพได้อีกด้วย เมื่อใดที่ต้องการเรียกดูไฟล์ที่เป็นรูปภาพ (จะแสดงเป็นภาพขนาดเล็ก ๆ ที่
เรียกว่า thumbnail ) ผู้ใช้งานสามารถที่จะดับเบิลคลิกและเปิดดูได้ทันที
5
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
2)ประเภทการลบทิ้งโปรแกรม )Uninstaller ) การติดตั้งโปรแกรมที่ไม่ได้ใช้งานแล้ว เมื่อใดก็ตามที่ต้องการลบหรือ
กาจัดโปรแกรมต่าง ๆ เหล่านี้ออกไปจากระบบ สามารถเรียกใช้โปรแกรมประเภทการลบทิ้งนี้ได้เลยทันที ซึ่งทางานได้
อย่างง่ายดาย
3)ประเภทการสแกนดิสก์ )Disk Scanner ) เมื่ออุปกรณ์สารองข้อมูลของเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น ฮาร์ดดิสก์หรือฟล็อปปี้
ดิสก์เกิดปัญหาในการใช้งานขึ้น ยูทิลิตี้ประเภทนี้จะทาการสแกนหาข้อผิดพลาดต่าง ๆ เหล่านั้น พร้อมทั้งหาทาง
แก้ปัญหานั้นให้ด้วย
4)ประเภทการจัดเรียงพื้นที่เก็บข้อมูล )Disk Defragmenter ) เป็นยูทิลิตี้ที่มีประโยชน์ในการใช้งานอย่างมาก เพราะดิสก์
ของคอมพิวเตอร์นั้นเมื่อมีการเรียกใช้งานอยู่บ่อย ๆ จะทาให้เกิดการกระจัดกระจายของไฟล์ข้อมูลอย่างไม่เป็นระเบียบ
และไม่ได้อยู่เป็นกลุ่มก้อนเดียวกันเมื่อต้องการเรียกใช้อีกในภายหลังจะทาให้เวลาในการดึงข้อมูลนั้น ๆ ช้าลง โปรแกรม
ยูทิลิตี้ประเภทนี้จะคอยทาหน้าที่จัดเรียงไฟล์เหล่านี้เสียใหม่ให้เป็นระเบียบมาก
5 )ประเภทรักษาหน้าจอ )Screen Saver ) จอภาพของคอมพิวเตอร์ เมื่อเราเปิดทางานและปล่อยทิ้งให้แสดงภาพเดิมโดย
ไม่มีการเคลื่อนไหวใด ๆ เกิดขึ้นเป็นเวลานาน จะทาให้เกิดรอยไหม้บนสารเรืองแสงที่ฉาบผิวจอและไม่สามารถลบหาย
ออกไปได้เมื่อปล่อยทิ้งไว้นานเข้าอาจส่งผลให้อายุการใช้งานของหน้าจอคอมพิวเตอร์สั้นลงตามไปด้วย โปรแกรม
ประเภทรักษาหน้าจอหรือ Screen Saver จะมาช่วยป้ องกันปัญหาดังกล่าวได้เป็นอย่างดี
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ )Application Software)
คือ ซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้นเพื่อประยุกต์กับงานที่ผู้ใช้ต้องการ เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคา ซอฟต์แวร์จัดเก็บภาษี
ซอฟต์แวร์สินค้าคงคลัง ซอฟต์แวร์ตารางทางาน ซอฟต์แวร์กราฟิก ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล เป็นต้น
การทางานใด ๆ โดยใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์จาเป็นต้องทางานภายใต้สภาพแวดล้อมของซอฟต์แวร์ระบบด้วย ตัวอย่างเช่น
ซอฟต์แวร์ประมวลคาต้องทางานภายใต้ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเอ็มเอสดอส หรือวินโดวส์ เป็นต้นได้รับความนิยมใช้
งานอย่างแพร่หลายในทุกวงการ ความนิยมส่วนหนึ่งมาจากขีดความสามารถของซอฟต์แวร์ประยุกต์นั้น ๆเพราะ
ซอฟต์แวร์ที่ผลิตออกจาหน่ายต่างพยายามแข่งขันกันหลาย ๆ ด้าน เช่น เรียนรู้และใช้งานได้ง่าย สนับสนุนให้ใช้กับ
เครื่องพิมพ์ได้ดี
6
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
แบ่งตามลักษณะการผลิต
ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ประเภทดังนี้
1)ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ ( Proprietary Software ) พัฒนาขึ้นมาเหตุผล
หลักคือ หน่วยงานหรือองค์กรไม่สามารถจัดหาซอฟต์แวร์ที่นามาใช้ได้อย่างเหมาะสมและมี
ประสิทธิภาพดีเพียงพอกับความต้องการ จึงทาให้มีการสร้างซอฟต์แวร์ขึ้นมาใหม่เพื่อใช้กันใน
หน่วยงานโดยเฉพาะ วิธีการพัฒนาอาจทาได้ 2 วิธีคือ
-In-house developed สร้างและพัฒนาโดยหน่วยงานของบริษัทเองโดยทีมงานที่มีทักษะและ
ความเชี่ยวชาญด้านการออกแบบและเขียนโปรแกรมโดยเฉพาะ
-Contract หรือ outsource เป็นการจ้างบุคคลภายนอกให้ทาขึ้นมา โดยอาจเป็นบริษัทที่มี
ความเชี่ยวชาญในการเขียนโปรแกรมหรือที่เรียกว่า software house ซึ่งสามารถขอดูผลงานที่
ผ่านมาของผู้ผลิตได้
2) ซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้โดยทั่วไป( Off-the-shelf Software หรือ Packaged
Software ) งานบางอย่างที่พบเห็นทั่วไป เช่น การจัดพิมพ์รายงานการจัดทาฐานข้อมูล การ
นาเสนองาน เราอาจจะเลือกหาซอฟต์แวร์เพื่อมาช่วยเหลือการทางานดังกล่าวได้โดยง่าย ซึ่งมีการ
วางขายตามท้องตลาดทั่วไป ทั้งนี้อาจแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ โปรแกรมเฉพาะและโปรแกรม
มาตรฐาน
- โปรแกรมเฉพาะ ( customized Package ) เป็นโปรแกรมที่อาจต้องขอให้ผู้ผลิตทาการ
เพิ่มเติมคุณสมบัติบางอย่างลงไป เพราะโปรแกรมที่วางขายอยู่นั้นยังมีข้อจากัดบางประการที่ไม่
สามารถตอบสนองการทางานขององค์กรได้ หากมีการปรับเปลี่ยนแก้ไขเพียงเล็กน้อยก็จะทาให้ใช้งาน
ได้ดีและเหมาะสมกับองค์กรมากขึ้น
-โปรแกรมมาตรฐาน ( standard package ) เป็นโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อสามารถใช้
กับงานทั่ว ๆ ไป ส่วนใหญ่แล้วจะมีคุณสมบัติที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องไปปรับปรุง
หรือแก้ไขส่วนของโปรแกรมใด ๆ เพิ่มเติม เพียงแต่ศึกษาคู่มือหรือวิธีการใช้งานจากรายละเอียดที่
แนบมาพร้อมกับการซื้อโปรแกรมนั้นก็สามารถใช้งานได้เลยทันที โปรแกรมที่ได้รับความนิยมอย่าง
มากในกลุ่มนี้ เช่น กลุ่มของโปรแกรมสาเร็จรูปทางด้าน Microsoft Office เป็นต้น
7
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
แบ่งตามกลุ่มการใช้งาน
แบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ ๆ ดังนี้
1(กลุ่มการใช้งานด้านธุรกิจ ( business )
ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้จะเน้นในการใช้งานทางด้านธุรกิจ
โดยเฉพาะ โดยมุ่งหวังให้การทางานมีประสิทธิภาพ
ที่ดีขึ้นกว่าการใช้แรงงานคน เช่น ใช้สาหรับการ
จัดพิมพ์เอกสาร นาเสนองาน รวมถึงการบันทึกนัด
หมายต่าง ๆ ซึ่งปัจจุบันมีบริษัทซอฟต์แวร์ในกลุ่มนี้
เป็นจานวนมาก
2(กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิกและ
มัลติมีเดีย
(graphic and multimedia )
เป็นกลุ่มซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่พัฒนาขึ้นเพื่อ
ช่วยสาหรับการจัดการงานทางด้านกราฟิก
และมัลติมีเดียให้เป็นไปได้โดยง่าย มี
ความสามารถเสมือนเป็นผู้ช่วยในการ
ออกแบบด้านต่าง ๆ นั่นเอง เช่น ตกแต่งภาพ
วาดรูป ปรับเสียง ตัดต่อภาพเคลื่อนไหว
รวมถึงการสร้างและออกแบบพัฒนาเว็บไซต์
3(กลุ่มสาหรับใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร ( Web and Communication ) การเติบโตของ
เครือข่ายอินเทอร์เน็ตทาให้มีผู้พัฒนาโปรแกรมเพื่อใช้งานเฉพาะอย่างเพิ่มมากขึ้น เช่น โปรแกรมสาหรับการ
ตรวจเช็คอีเมล์ การท่องเว็บไซต์ การจัดการและดูแลเว็บรวมถึงการส่งข้อความติดต่อสื่อสาร การประชุมทางไกล
ผ่านเครือข่าย เป็นต้น
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Programming
XLanguages)
ภาษาคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกเป็นสองกลุ่มคือ ภาษาระดับสูง( high level) และ
ภาษาระดับต่า( low level) ภาษาระดับสูงถูกออกแบบมาเพื่อให้ใช้งานง่ายและสะดวกสบาย
มากกว่าภาษาระดับต่า โปรแกรมที่เขียนถูกต้องตามกฎเกณฑ์และไวยากรณ์ของภาษาจะถูกแปล
(compile) ไปเป็นภาษาระดับต่าเพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถนาไปใช้งานหรือปฏิบัติตามคาสั่งได้
ต่อไป ซอฟต์แวร์สมัยใหม่ส่วนมากเขียนด้วยภาษาระดับสูง แปลไปเป็นออบเจกต์โค้ด( object
code) แล้วเปลี่ยนให้เป็นชุดคาสั่งในภาษาเครื่อง
ภาษาคอมพิวเตอร์อาจแบ่งกลุ่มได้เป็นอีกสองประเภทคือ ภาษาที่มนุษย์อ่านออก( human-
readable) และภาษาที่มนุษย์อ่านไม่ออก( non human-readable) ภาษาที่มนุษย์อ่านออก
ถูกออกแบบมาเพื่อให้มนุษย์สามารถเข้าใจและสื่อสารได้โดยตรงกับคอมพิวเตอร์( แทบทุกชนิดเป็น
ภาษาอังกฤษ )ส่วนภาษาที่มนุษย์อ่านไม่ออกจะมีโค้ดบางส่วนที่ไม่อาจอ่านเข้าใจได้ แต่ออกแบบมา
เพื่อให้โค้ดกระชับซึ่งคอมพิวเตอร์จะสามารถประมวลผลได้ง่ายกว่า
8
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ภาษาคอมพิวเตอร์ อาจแบ่งได้เป็น 3 ระดับ คือ ภาษาเครื่อง (machine language) ภาษาระดับต่า (low-ianguage) และ
ภาษาระดับสูง (high-level language)
1. ภาษาเครื่อง
ภาษาเครื่อง เป็นภาษาที่ขึ้นกับฮาร์ดแวร์ของคอมพิวเตอร์แต่ละระบบ โดยเขียนอยู่ในรูปของรหัสของระบบ
เลขฐานสอง ประกอบด้วยเลข 0 และเลข 1 ที่นามาเขียนเรียงติดต่อกัน ประโยคคาสั่งของภาษาเครื่องจะ
ประกอบด้วยส่วนที่ระบุให้คอมพิวเตอร์ทางานอะไร เช่น สั่งให้ทาการบวกเลข สั่งให้ทาการเคลื่อนย้ายข้อมูล เป็น
ต้น และอีกส่วนเพื่อบอกแหล่งข้อมูลที่จะนามาทางานตามที่ระบุในตอนแรก
การเขียนโปรแกรม หรือชุดคาสั่งด้วยภาษาเครื่อง นับเป็นเรื่องที่ยุ่งยากไม่สะดวกและเสียเวลา เพราะผู้ใช้
จะต้องทราบรหัสแทนการทางานต่าง ๆ และต้องรู้ขั้นตอนการทางานภายในของเครื่องคอมพิวเตอร์โดยละเอียด ถ้า
ใช้คาสั่งไม่ถูกต้องเกิดการผิดพลาด มนุษย์จึงพยายามคิดภาษาให้ติดต่อกับคอมพิวเตอร์ได้ง่ายขึ้น ด้วยการสร้าง
ภาษาระดับต่าในเวลาต่อมา
2. ภาษาระดับต่าหรือภาษาแอสเซมบลี
ภาษาระดับต่า หรือภาษาแอสเซมบลี ลักษณะของภาษานี้จะเป็นการใช้ตัวอักษรมาเรียงกันเป็นคา แทน
เลขฐานสอง โดยคาที่กาหนดขึ้นจะมีความหมายที่สามารถเข้าใจและจาได้ง่าย เช่น จะใช้คาสั่ง ADD แทนการบวก
คาสั่ง SUB แทนการลบ เป็นต้น การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาแอสแซมบลี ถึงแม้ว่าจะง่ายและเสียเวลาน้อยกว่าการ
เขียนโปรแกรมด้วยภาษาเครื่อง แต่มีข้อเสียคือผู้ใช้จะต้องเรียนรู้โครงสร้างของระบบเครื่องนั้นอย่างละเอียด เพราะ
ภาษาแอสแซมบลีเป็นภาษาที่ขึ้นกับฮาร์ดแวร์ จะใช้กับเครื่องระบบนั้น ถ้าใช้เครื่องต่างระบบที่มีตัวประมวลผล
ต่างกัน จะต้องเรียนรู้โครงสร้างภายในและชุดคาสั่งสาหรับเครื่องนั้นใหม่ทั้งหมด
3. ภาษาระดับสูง
ภาษาระดับสูง การพัฒนาภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคต่อมา จึงพยายามให้เป็นภาษาที่สามารถนาไปใช้กับเครื่อง
ต่างระบบกัน ไม่ต้องเสียเวลาเรียนรู้ใหม่ทั้งหมด โปรแกรมที่เขียนสั่งงานกับเครื่องระบบหนึ่ง ก็สามารถนาไปใช้
หรือดัดแปลงเพียงเล็กน้อยเพื่อสั่งงานกับเครื่องอีกระบบหนึ่งได้ลักษณะของภาษาจะพยายามให้ใกล้เคียงกับ
ภาษาธรรมชาติมากขึ้น ทาให้เราสามารถศึกษาและเรียนรู้ได้ในเวลาอันรวดเร็ว ภาษาในยุคหลังนี้ เรียกว่า ภาษา
ระดับสูง ซึ่งได้มีการคิดค้นพัฒนาออกมาหลายภาษาด้วยกัน ที่เด่น ๆ และนิยมกันมาก เมื่อเราเขียนโปรแกรมด้วย
ภาษาระดับสูงแล้ว จะนาไปสั่งงานคอมพิวเตอร์โดยตรงยังไม่ได้จะต้องผ่านขั้นตอนการแปลภาษาอีก เหมือนกรณี
ของภาษาแอสเซมบลี ตัวแปลภาษา เพื่อแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง อาจแบ่งได้เป็นสองแบบ คือ อินเทอร์
พรีเตอร์ (interpreter) และคอมไพเลอร์ (compiler)
ตัวอย่าง โปรแกรมภาษาเบสิกแสดงการคานวณ พื้นที่ของสามเหลี่ยมที่กาหนดฐานและส่วนสูงมาให้และแสดงผล
ลัพธ์อาจเขียนได้ง่าย ๆ ดังนี้
---------BASE = 4
---------HEIGHT = 6
---------AREA = 0.5 * BASE * HEIGHT
---------PRINT AREA
---------END
9
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ภาษาคอมพิวเตอร์ยุคที่ 1(first generation Xlanguage)
ภาษาในยุคที่ 1(First Generation Language : 1GL) คือ ภาษาเครื่อง )Machine Language) เป็นภาษาแรกเริ่มที่คอมพิวเตอร์
รู้จักและเข้าใจ และสามารถสั่งการด้วยสัญญาณไฟฟ้า ซึ่งประกอบด้วยเลขฐาน 2คือ0และ1
ภาษาคอมพิวเตอร์ยุคที่ 2 (second generation language)
ภาษาในยุคที่ 2 (Second Generation Language : 2GL) คือภาษา ที่พัฒนา ขึ้นมาโดยใช้
สัญลักษณ์ก็คือ ตัวภาษาอังกฤษเพื่อให้โปรแกรมเมอร์เข้าใจง่ายยิ่งขึ้น ซึ่งอาจจะเป็นตัวอักษร 1 หรือเป็นกลุ่ม
อักษร ภาษาที่เกิดขึ้นในยุคนี้คือภาษา Assembly ที่ใช้อักษร A แทนการ Add เป็นต้นโดยคาสั่งที่ถูก
เขียนขึ้นมาจะถูกแปลภาษาให้เป็นภาษาเครื่อง ที่ชื่อว่า Assembler ที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้
ภาษาคอมพิวเตอร์ยุคที่ 3 (third generation language)
ภาษาในยุคที่ 3 (Third Generation Language : 3GL) คือ ภาษาระดับสูง เนื่องจากมีการวิวัฒนาการจากภาษาอังกฤษที่
นอกจากจะเขียนเป็นคาสั่งได้แล้ว ยังเขียนเป็นประโยค และใกล้เคียงกับ ภาษามนุษย์มากขึ้น และภาษาในยุคนี้ก็จะเป็นแบบ
Procedural Languageเนื่องจากต้องมีการระบุรายละเอียดของคาสั่งและการทางานต่าง ๆ ต้องเป็นไปตามลาดับขั้นตอนเป็น
บรรทัด ๆ ไป และต้องมีตัวแปลภาษาเพื่อแปลคาสั่ง จาก Source Code ให้เป็น Object Code ที่เครื่องสามารถเข้าใจได้
ตัวอย่างภาษาในยุคนี้ เช่น BASIC, PASCAL, FORTRAN, COBOL, C เป็นต้น
ภาษาคอมพิวเตอร์ยุคที่ 4 (fourth generation language)
ภาษาในยุคที่ 4 (Fourth Generation Language : 4GL)คือ ภาษาในยุคนี้ เป็นภาษาระดับสูงเช่นเดียวกันและมีความโดดเด่น
คือ การใช้คาสั่งจะมีความคล้ายคลึงกับประโยคภาษาอังกฤษมากขึ้นและ สามารถนามาใช้เขียนคาสั่งเพื่อเชื่อมต่อกับ
ฐานข้อมูล ความสามารถด้านกราฟฟิก การติดต่อกับผู้ใช้(GUI) และความสามารถในการสร้างโค้ด ตัวอย่างภาษาในยุคนี้
ได้แก่ SQL (Structured Query Language), C#, Java, ซอฟต์แวร์ในตระกูล Visual ต่างๆ เช่น Visual Basic เป็นต้น
10
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ภาษาคอมพิวเตอร์ยุคที่ 5 (fifth generation language)
ภาษาในยุคที่ 5 (Fifth Generation Language : 5GL) เรียกได้ว่าเป็น ภาษา ธรรมชาติ )Natural Language) เนื่องจากมีความ
ใกล้เคียงกับภาษามนุษย์มากที่สุด ภาษาในยุคนี้สามารถรองรับเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ )Artificial Intelligence : AI)
เช่น การทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถที่จะเข้าใจคาสั่งจากเสียงพูดและโต้ตอบได้
ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (translator)
ในการพัฒนาซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์นั้น โปรแกรมเมอร์จะเขียนโปรแกรมในภาษาคอมพิวเตอร์แบบต่าง ๆ ตามแต่
ความชานาญของแต่ละคน โปรแกรมที่ได้จะเรียกว่า โปรแกรมต้นฉบับ หรือ ซอร์สโคด )source code) ซึ่งมนุษย์จะ
อ่านโปรแกรมต้นฉบับนี้ได้แต่คอมพิวเตอร์จะไม่เข้าใจคาสั่งเหล่านั้น เนื่องจากคอมพิวเตอร์เข้าใจแต่ภาษาเครื่อง
)Machine Language) ซึ่งประกอบขึ้นจากรหัสฐานสองเท่านั้น จึงต้องมีการใช้โปรแกรม ตัวแปรภาษาคอมพิวเตอร์
)Translator) ในการแปลภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาต่าง ๆ ไปเป็นภาษาเครื่องโปรแกรมที่แปลจากโปรแกรมต้นฉบับ
แล้วเรียกว่า ออบเจคโคด )object code) ซึ่งจะประกอบด้วยรหัสคาสั่งที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนาไปปฏิบัติ
ได้ต่อไปตัวแปลภาษาที่มีการใช้อยู่ในปัจจุบัน จะต่างกันที่ขั้นตอนที่ใช้ในการแปลภาษาให้อยู่ในรูปแบบที่
คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้
แอสแซมเบลอร์ (Assemblers)
เป็นตัวแปลภาษาแอสเซมบลี
(assembly) ซึ่งเป็น
ภาษาระดับต่าให้เป็นภาษาเครื่อง
อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreters)
อินเตอร์พรีเตอร์( Interpreter) เป็นตัวแปลภาษาระดับสูง
ซึ่งเป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษามนุษย์ ไปเป็นภาษาเครื่อง โดย
ใช้หลักการแปลพร้อมกับงานตามคาสั่งทีละบรรทัดตลอดทั้ง
โปรแกรมทาให้การแก้ไขโปรแกรมทาได้ง่ายและรวดเร็ว
แต่ออบเจคโคดที่ได้จากการแปลโดยการใช้อินเตอร์พรีเตอร์นั้น
ไม่สามารถเก็บไว้ใช้ใหม่ได้จะจะต้องแปลโปรแกรมใหม่ทุก
ครั้งที่ต้องการใช้งาน
11
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
คอมไพเลอร์ (Compilers)
จะเป็นตัวแปลภาษาระดับสูงเช่นเดียวกับอินเตอร์พรีเตอร์แต่จะใช้วิธีแปลโปรแกรมทั้งโปรแกรมให้เป็นออบเจค
โคด ก่อนที่จะสามารถนาไปทางานเช่นเดียวกับแอสแซมเบลอ ออบเจคโคดที่ได้จากการแปลนั้นสามารถจัดเก็บ
ไว้เป็นแฟ้มข้อมูล เพื่อให้นาไปใช้ในการทางานเมื่อใดก็ได้ตามต้องการ ซึ่งเป็นข้อดีของคอมไพเลอร์ที่จะนาผล
ที่ได้จากการแปลนั้นไปใช้งานกี่ครั้งก็ได้ไม่จากัด ไม่ต้องเสียเวลาในการแปลใหม่ทุกครั้ง ทาให้เป็นรูปแบบการ
แปลที่ได้รับความนิยมอย่างมาก

More Related Content

What's hot

องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์
Tieno Karan
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการRawiwan Kashornchan
 
Operating System Chapter 4
Operating System Chapter 4Operating System Chapter 4
Operating System Chapter 4
Nuth Otanasap
 
Operating System Chapter 3
Operating System Chapter 3Operating System Chapter 3
Operating System Chapter 3
Nuth Otanasap
 
Operating System Chapter 5
Operating System Chapter 5Operating System Chapter 5
Operating System Chapter 5
Nuth Otanasap
 
software
softwaresoftware
software
jzturbo
 
4 ca-process structure
4 ca-process structure4 ca-process structure
4 ca-process structurekrissapat
 
ซอร์ฟแวร์และการเลือกใช้งาน
ซอร์ฟแวร์และการเลือกใช้งานซอร์ฟแวร์และการเลือกใช้งาน
ซอร์ฟแวร์และการเลือกใช้งาน
ไกรลาศ จิบจันทร์
 
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการkanlayarat
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
ครู อินดี้
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการnattarikaii
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการnattarikaii
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
อยู่ไหน เหงา
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
อยู่ไหน เหงา
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
อยู่ไหน เหงา
 
Operating System Chapter 2
Operating System Chapter 2Operating System Chapter 2
Operating System Chapter 2
Nuth Otanasap
 
ระบบปฎิบัติการ ปวช
ระบบปฎิบัติการ ปวชระบบปฎิบัติการ ปวช
ระบบปฎิบัติการ ปวช
ปภัสรา ปัญญาวง
 
ระบบปฏิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ตูน
ระบบปฏิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ตูนระบบปฏิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ตูน
ระบบปฏิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ตูนokbeer
 
Operating System Chapter 1
Operating System Chapter 1Operating System Chapter 1
Operating System Chapter 1
Nuth Otanasap
 

What's hot (19)

องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
Operating System Chapter 4
Operating System Chapter 4Operating System Chapter 4
Operating System Chapter 4
 
Operating System Chapter 3
Operating System Chapter 3Operating System Chapter 3
Operating System Chapter 3
 
Operating System Chapter 5
Operating System Chapter 5Operating System Chapter 5
Operating System Chapter 5
 
software
softwaresoftware
software
 
4 ca-process structure
4 ca-process structure4 ca-process structure
4 ca-process structure
 
ซอร์ฟแวร์และการเลือกใช้งาน
ซอร์ฟแวร์และการเลือกใช้งานซอร์ฟแวร์และการเลือกใช้งาน
ซอร์ฟแวร์และการเลือกใช้งาน
 
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
 
Operating System Chapter 2
Operating System Chapter 2Operating System Chapter 2
Operating System Chapter 2
 
ระบบปฎิบัติการ ปวช
ระบบปฎิบัติการ ปวชระบบปฎิบัติการ ปวช
ระบบปฎิบัติการ ปวช
 
ระบบปฏิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ตูน
ระบบปฏิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ตูนระบบปฏิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ตูน
ระบบปฏิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ตูน
 
Operating System Chapter 1
Operating System Chapter 1Operating System Chapter 1
Operating System Chapter 1
 

Viewers also liked

sladishare
sladisharesladishare
que es slideshare
que es slideshareque es slideshare
que es slideshare
gonzalogutierrez0502
 
Rachel Hill CV Jan 2015
Rachel Hill CV Jan 2015Rachel Hill CV Jan 2015
Rachel Hill CV Jan 2015
Rachel Hill
 
sladishare
sladisharesladishare
Ad book 1
Ad book 1Ad book 1
Ad book 1
ad-dicts
 
ข้อสอบOnet
ข้อสอบOnetข้อสอบOnet
ข้อสอบOnet
preawywp
 
Ad book 2
Ad book 2Ad book 2
Ad book 2
ad-dicts
 
sladishare
sladisharesladishare
surface areas and volume
surface areas and volumesurface areas and volume
surface areas and volume
naruto444
 
PWC Presentation 2014
PWC Presentation 2014PWC Presentation 2014
PWC Presentation 2014
Eddie Perks
 
sladishare
sladisharesladishare
Contoh laporan aktiviti
Contoh laporan aktivitiContoh laporan aktiviti
Contoh laporan aktiviti
ijahmuvi
 
Soil polution. by nandan
Soil polution. by nandanSoil polution. by nandan
Soil polution. by nandan
Nandan180401
 
Syed Ateeq Ahmed(Accountant 4Yrs)
Syed Ateeq Ahmed(Accountant 4Yrs)Syed Ateeq Ahmed(Accountant 4Yrs)
Syed Ateeq Ahmed(Accountant 4Yrs)
Syed Ateeq
 

Viewers also liked (14)

sladishare
sladisharesladishare
sladishare
 
que es slideshare
que es slideshareque es slideshare
que es slideshare
 
Rachel Hill CV Jan 2015
Rachel Hill CV Jan 2015Rachel Hill CV Jan 2015
Rachel Hill CV Jan 2015
 
sladishare
sladisharesladishare
sladishare
 
Ad book 1
Ad book 1Ad book 1
Ad book 1
 
ข้อสอบOnet
ข้อสอบOnetข้อสอบOnet
ข้อสอบOnet
 
Ad book 2
Ad book 2Ad book 2
Ad book 2
 
sladishare
sladisharesladishare
sladishare
 
surface areas and volume
surface areas and volumesurface areas and volume
surface areas and volume
 
PWC Presentation 2014
PWC Presentation 2014PWC Presentation 2014
PWC Presentation 2014
 
sladishare
sladisharesladishare
sladishare
 
Contoh laporan aktiviti
Contoh laporan aktivitiContoh laporan aktiviti
Contoh laporan aktiviti
 
Soil polution. by nandan
Soil polution. by nandanSoil polution. by nandan
Soil polution. by nandan
 
Syed Ateeq Ahmed(Accountant 4Yrs)
Syed Ateeq Ahmed(Accountant 4Yrs)Syed Ateeq Ahmed(Accountant 4Yrs)
Syed Ateeq Ahmed(Accountant 4Yrs)
 

Similar to Powerpoint templat3 1_

บทที่3-49
บทที่3-49บทที่3-49
บทที่3-49
jiratchayalert
 
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3
Nuttapoom Tossanut
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
sapol tamgsongcharoen
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
sapol tamgsongcharoen
 
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นwiratchadaporn
 
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
kvcthidarat
 
Work3 41
Work3 41Work3 41
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการwannuka24
 
ซอพต์แวร์(Software)
ซอพต์แวร์(Software)ซอพต์แวร์(Software)
ซอพต์แวร์(Software)
Sirinat Sawengthong
 
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ssuseraa96d2
 
Work3-ศวิตา40
Work3-ศวิตา40Work3-ศวิตา40
Work3-ศวิตา40
savimint
 
ระบบปฏิบัติการ Linux server
ระบบปฏิบัติการ Linux serverระบบปฏิบัติการ Linux server
ระบบปฏิบัติการ Linux serverตอ ต้น
 
work3-57
work3-57work3-57
work3-57
Cat Cattaleeya
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
Ffurn Leawtakoon
 
iam
iamiam
หน่วยที่7
หน่วยที่7หน่วยที่7
หน่วยที่7
niramon_gam
 
หน่วยที่7
หน่วยที่7หน่วยที่7
หน่วยที่7ratiporn555
 
ระบบปฏิบัติการ Linux
ระบบปฏิบัติการ Linuxระบบปฏิบัติการ Linux
ระบบปฏิบัติการ Linux
ssuseraa96d2
 
System computer
System computerSystem computer
System computer
Tay Chaloeykrai
 

Similar to Powerpoint templat3 1_ (20)

บทที่3-49
บทที่3-49บทที่3-49
บทที่3-49
 
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
 
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
 
Os
OsOs
Os
 
Work3 41
Work3 41Work3 41
Work3 41
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ซอพต์แวร์(Software)
ซอพต์แวร์(Software)ซอพต์แวร์(Software)
ซอพต์แวร์(Software)
 
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
 
Work3-ศวิตา40
Work3-ศวิตา40Work3-ศวิตา40
Work3-ศวิตา40
 
ระบบปฏิบัติการ Linux server
ระบบปฏิบัติการ Linux serverระบบปฏิบัติการ Linux server
ระบบปฏิบัติการ Linux server
 
work3-57
work3-57work3-57
work3-57
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
iam
iamiam
iam
 
หน่วยที่7
หน่วยที่7หน่วยที่7
หน่วยที่7
 
หน่วยที่7
หน่วยที่7หน่วยที่7
หน่วยที่7
 
ระบบปฏิบัติการ Linux
ระบบปฏิบัติการ Linuxระบบปฏิบัติการ Linux
ระบบปฏิบัติการ Linux
 
System computer
System computerSystem computer
System computer
 

Powerpoint templat3 1_

  • 1. 1 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ และ ภาษาคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ โดยทั่วไปแล้วจะแบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ ด้วยกันคือ 1) ซอฟต์แวร์ระบบ ( System Software ) เป็นซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมการทางานที่ใกล้ชิดกับ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์มากที่สุด โดยจะทาหน้าที่ติดต่อ ควบคุม และสั่งการให้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์สามารถ ทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกันให้ได้มากที่สุด รวมถึงการบารุงรักษาระบบตัวเครื่อง คอมพิวเตอร์ให้มีการใช้งานได้ยาวนานขึ้นอีกด้วย ซอฟต์แวร์ระบบแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทด้วยกัน คือ 1.1 )ระบบปฏิบัติการ ( operating systems ) 1.2 )โปรแกรมอรรถประโยชน์ ( utility programs ) 2) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ( Application Software ) เป็นซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้เฉพาะด้านเท่านั้น ไม่เกี่ยวข้องกับการควบคุมระบบของคอมพิวเตอร์ แต่จะทางานได้โดยเรียกใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ผ่าน ซอฟต์แวร์ระบบอีกทอดหนึ่งดังที่กล่าวแล้วในบทที่ผ่านมา ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้สามารถแบ่งออกได้หลาย ชนิดขึ้นอยู่กับลักษณะเกณฑ์ที่ใช้แบ่ง ซึ่งพอจะสรุปได้ดังนี้ แบ่งตามลักษณะการผลิต ได้2 ประเภท คือ - ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ ( Proprietary Software ) - ซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้โดยทั่วไป ( Off – the– Shelf Software หรือ Packaged Software ) แบ่งตามกลุ่มการใช้งาน ได้3 กลุ่มใหญ่คือ - กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ ( business ) - กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย ( graphic and multimedia ) - กลุ่มสาหรับการใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร ( web and communications ) ยุวภรณ์ พฤฒิชัย ม.6/1 เลขที่ 29
  • 2. 2 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved การจัดหาซอฟต์แวร์มาใช้งาน แบบสาเร็จรูป (Packaged or ready-made software) เป็นวิธีที่ผู้ใช้งานซื้อ ได้จากตัวแทนจาหน่ายซอฟแวร์ที่ได้รับการแต่งตั้งจากบริษัทผู้ผลิต โดยตรง ซึ่งมักจะมีการเตรียมบรรจุภัณฑ์และเอกสารคู่มือการใช้งานไว้อยู่ แล้ว ผู้ใช้สามรถนาไปติดตั้งเพื่อใช้งานได้โดยทันที กรณีที่ไม่สามารถ เลือกซื้อผ่านทางร้านตัวแทนจาหน่ายได้อาจเข้าไปในเว็บไซต์ของ บริษัทผู้ผลิตซอฟต์แวร์นั้นๆ แล้วกรอกข้อมูลรายการชาระเงินผ่านระบบ แบบฟอร์มบนเว็บ เมื่อรายละเอียดเกี่ยวกับการจ่ายชาระเงินของผู้ซื้อได้รับ การอนุมัติแล้ว ก็สามารถดาวน์โหลดเอาซอฟต์แวร์มาใช้งานได้ทันที แบบทดลองใช้ (Shareware) เป็นวิธีที่บริษัทผู้ผลิต ซอฟต์แวร์ได้ผลิตโปรแกรมที่ปรับลดคุณสมบัติบางอย่างลงไป เพื่อให้ลูกค้าทดลองใช้งานก่อน โดยมีการกาหนดระยะเวลา ทดลองใช้งาน เช่น ใช้ได้ภายใน 30 วัน ใช้ภายใน 90 วัน เป็นต้น หากผู้ใช้ทดลองใช้แล้วตัดสินใจว่าดี ตลอดจน เหมาะสมกับงานที่ทาอยู่ผู้ใช้สามารถสั่งซื้อโปรแกรมสาเร็จรูป แบบต็มๆจากบริษัทผู้ผลิตต่อไป แบบว่าจ้างทา (Customized or tailor-made software) เป็นวิธีการที่เหมาะสาหรับองค์กรที่มีลักษณะงานเฉพาะ ของตนเองและไม่สามารถนาโปรแกรมสาเร็จรูปมา ประยุกต์ใช้ได้ดังนั้น จึงต้องมีการผลิตซอฟแวร์ขึ้นมาใช้ เอง โดยให้บุคคลภายนอกที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ทาการผลิตซอฟแวร์ใหเตรงตามคุณสมบัติที่ต้องการ วิธีการนี้อาจทาให้มีค่าใช้จ่ายสูงกว่าแบบสาเร็จรูป พอสมควร แต่การทางานของซอฟต์แวร์จะสอดคล้องตรง กับความต้องการได้ดีที่สุด แบบทดลองใช้งานฟรี (Freeware) เป็น โปรแกรมที่แจกให้ใช้ฟรี เพื่อตอบสนองกับการ ทางานที่หลากหลาย ซึ่งผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องจ่ายเงิน ให้กับบริษัทผู้ผลิต ส่วนใหญ่เป้าหมายของผู้ผลิตคือ ต้องการพัฒนาโปรแกรมเพื่อเผยแพร่ผลงานของ ตนเองให้เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น และทดสอบระบบที่ พัฒนาขึ้น ซอฟต์แวร์ประเภทนี้ลิขสิทธิ์ก็ยังเป็นของ บริษัทผู้ผลิตอยู่ผู้อื่นไม่สามารถนาไปพัฒนาต่อหรือ แก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ แบบโอเพนซอร์ซ (Open source) เป็นวิธีการขององค์กรที่มีกลุ่มบุคคลผู้ที่มี ความรู้และความเชี่ยวชาญด้านการพัฒนา ซอฟต์แวร์ทาการพัฒนาขึ้น เพื่อให้ผู้ใช้ นาไปใช้งานได้ฟรี รวมทั้งสามารถแก้ไข ปรับปรุงโปรแกรมต่างๆ ให้เหมาะสมกับ งานของตนได้
  • 3. 3 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ระบบปฏิบัติการ (OS - Operating System) เป็นซอฟต์แวร์ที่เอาไว้ใช้สาหรับควบคุมและ ประสานงานระหว่างอุปกรณ์ภายในคอมพิวเตอร์ ทั้งหมด ตั้งแต่ซีพียูหน่วยความจา ไปจนถึงส่วน นาเข้าและส่งออกผลลัพธ์ ( input/output device ) บางครั้งก็นิยมเรียกรวม ๆ ว่า แพลตฟอร์ม (platform ) คอมพิวเตอร์จะ ทางานได้จาเป็นต้องมีระบบปฏิบัติการติดตั้งอยู่ ในเครื่องเสียก่อน ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับบริษัทผู้ผลิต เครื่องนั้น ๆ ว่าจะเลือกใช้แพลตฟอร์ม หรือ ระบบปฏิบัติการอะไรในการทางาน เราจะพบเห็น ระบบปฏิบัติการอยู่ในคอมพิวเตอร์แทบจะทุก ประเภทตั้งแต่เครื่องขนาดใหญ่อย่างเครื่อง เมนเฟรมจนถึงระดับเล็กสุด เช่น เครื่อง คอมพิวเตอร์พกพาประเภทพีดีเอ คุณสมบัติการทางาน 1) การทางานแบบ Multi – Tasking คือ ความสามารถในการทางานได้หลาย ๆ งาน หรือหลาย ๆ โปรแกรมในเวลาเดียวกัน เช่น พิมพ์รายงานควบคู่ไปกับการ ท่องเว็บ ซึ่งในสมัยก่อนการทางานของระบบปฏิบัติการจะอยู่ ในรูปแบบที่เรียกว่า single-tasking ซึ่งจะทางานทีละ โปรแกรมคาสั่ง ผู้ใช้ไม่สามารถที่จะสลับงานไประหว่าง โปรแกรมหรือทางานควบคู่กันได้ 2) การทางานแบบ Multi – User ในระบบการ เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าไว้ด้วยกันแบบเครือข่าย ระบบปฏิบัติการที่ทาหน้าที่ควบคุมจะมีคุณสมบัติอย่างหนึ่งที่ เรียกว่า multi-user หรือความสามารถในการทางานกับ ผู้ใช้ได้หลาย ๆ คน ขณะที่มีการประมวลผลของงานพร้อม ๆ กัน ทาให้กระจายการใช้ได้ทั่วถึงมากยิ่งขึ้น ประเภทของระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยว ( stand – alone OS ) เป็นระบบปฏิบัติการที่มุ่งเน้นและให้บริการสาหรับผู้ใช้เพียงคนเดียว (เจ้าของเครื่องนั้น ๆ) นิยมใช้สาหรับเครื่อง คอมพิวเตอร์ที่ประมวลผลและทางานแบบทั่วไป 1)DOS (Disk Operating System) เป็นระบบปฏิบัติการซึ่งได้มีการพัฒนาขึ้น เพื่อใช้สาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล เป็นหลัก 2)indows มีผู้คิดค้นขึ้นก่อนหน้านั้นไม่นานนักมาใช้ในระบบปฏิบัติการตัวใหม่ที่มีชื่อว่า Windows เพื่อแก้ปัญหา ส่งผลให้ ผู้ใช้และระบบปฏิบัติการสามารถทางานงานร่วมกันได้คล่องตัวมากยิ่งขึ้น 3)Unix เป็นระบบปฏิบัติการที่มักใช้กับผู้ที่มีความรู้ทางด้านคอมพิวเตอร์ค่อนข้างมาก รองรับกับการทางานของผู้ใช้ได้ หลาย ๆ คนพร้อมกัน ( multi-user ) การปรับเปลี่ยนและแก้ไขระบบต่าง ๆ มีความยืดหยุ่นในการทางานได้ดีกว่า ปัจจุบันมี การพัฒนาระบบที่สนับสนุนให้ใช้งานได้ทั้งแบบเดี่ยวและแบบเครือข่าย 4)Linux เป็นระบบปฏิบัติการที่ได้รับความนิยมมากเช่นเดียวกัน เนื่องจากเปิด ให้ใช้รวมถึงพัฒนาต่อยอดเพื่อแก้ไข ชุดคาสั่งต่าง ๆ ไ ด้ฟรี ในปัจจุบันหลาย ๆ ประเทศได้พยายามส่งเสริมให้มีการใช้ระบบปฏิบัติการตัวนี้อย่างต่อเนื่องเพื่อลดปัญหาการขาด ดุลการค้า เนื่องจากการนาเข้าซอฟต์แวร์จากต่างประเทศ (ระบบปฏิบัติการเป็นสินค้าประเภทหนึ่งที่สามารถผลิตขึ้นมาเพื่อ จาหน่ายได้ทั่วโลกเช่นเดียวกับสินค้าประเภทอื่น ๆ ซึ่งหากความต้องการในประเทศมีมาก อาจจาเป็นต้องสั่งเข้าในปริมาณ ที่มากตามไปด้วย) รวมทั้งเพื่อลดปัญหาในประเด็นของความมั่นคงที่จะไม่ต้องพึ่งพาเทคโนโลยีของต่างประเทศ อันได้แก่ สหรัฐอเมริกาด้วย
  • 4. 4 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved 2) ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่าย ( Network OS ) 1)Windows Server เป็นระบบปฏิบัติการที่ออกแบบมาเพื่อใช้งานกับระบบเครือข่ายโดยเฉพาะ รุ่นแรกออกมาในชื่อ Windows NT และพัฒนาต่อมาเป็น Windows 2000 และรุ่นล่าสุดคือ Windows Server 2003 ผลิตออกมาเพื่อรองรับกับการ ใช้งานในระดับองค์กรขนาดเล็กและขนาดกลางพัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟต์ 2)OS/2 Warp Server เป็นระบบปฏิบัติการเครือข่ายอีกรูปแบบหนึ่ง ออกแบบมาสาหรับการใช้งานคอมพิวเตอร์แบบ เครือข่ายสาหรับองค์กรได้เป็นอย่างดี พัฒนาโดยบริษัทไอบีเอ็มเพื่อใช้เป็นระบบที่ควบคุมเครื่องแม่ข่ายหรือ Server 3) Solaris เป็นระบบปฏิบัติการเครือข่ายที่อยู่ในตระกูลเดียวกับระบบปฏิบัติการ Unix (Unix compatible) พัฒนาขึ้นโดย บริษัทซัน ไมโครซิสเต็มส์ สามารถรองรับการทางานแบบเครือข่ายได้เช่นเดียวกับระบบอื่น 3)ระบบปฏิบัติการแบบฝัง ( Embedded OS ) เรามักจะพบเห็นการใช้งานของระบบปฏิบัติการแบบฝังนี้กับอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ขนาดพกพา เช่น Palm, pocket PC, Smart phone รวมถึงอุปกรณ์ขนาดเล็กอื่น ๆ ซึ่งพอจะยกตัวอย่างได้ดังนี้ 1) Pocket PC OS (Windows CE เดิม) บริษัทไมโครซอฟต์ผู้ผลิตระบบปฏิบัติการยักษ์ใหญ่ที่มีความชานาญจากการสร้าง ระบบที่ใช้สาหรับเครื่องพีซีมาก่อน ได้หันมาเน้นการผลิตเพื่อใช้งานร่วมกับการควบคุมในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ขนาด เล็กมากยิ่งขึ้น โดยสร้างระบบปฏิบัติการตัวใหม่ที่มีชื่อเรียกว่า Pocket PC OS 2) Palm OS เป็นระบบปฏิบัติการที่ถือได้ว่าเกิดขึ้นมาพร้อม ๆ กันกับการนาเอาคอมพิวเตอร์แบบพกพามาใช้ในยุคแรก ๆ เรียกกันว่าเครื่อง Palm ( ผลิตขึ้นโดยบริษัทปาล์ม) ซึ่งได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในเวลาต่อมา เป็นระบบที่ พัฒนาขึ้นมาก่อน Windows CE หรือ Pocket PC OS ของไมโครซอฟต์ 3)Symbian OS เป็นระบบปฏิบัติการที่ออกแบบมาเพื่อรองรับกับเทคโนโลยีการสื่อสารแบบไร้สาย (wireless ) โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับโทรศัพท์มือถือ Smart phone นอกจากนั้นยังสนับสนุนการทางานแบบหลาย ๆ งานในเวลา เดียวกันได้ด้วย ซึ่งทาให้โทรศัพท์มือถือมีความสามารถที่นอกเหนือจากแค่รับสายพูดคุยในแบบทั่วไปเพียงอย่างเดียวโปรแกรมอรรถประโยชน์หรือโปรแกรมยูทิลิตี้ (Utility Program) โปรแกรมอรรถประโยชน์หรือโปรแกรมยูทิลิตี้ ( Utility Program ) เป็นโปรแกรมที่สาคัญกับการทางานของระบบ คอมพิวเตอร์เช่นเดียวกัน ส่วนใหญ่จะมีขนาดเล็กกว่าระบบปฏิบัติการ คุณสมบัติในการใช้งานนั้นค่อนข้างหลากหลายหรือใช้ งานได้แบบอรรถประโยชน์ มักนิยมเรียกสั้น ๆ ว่า ยูทิลิตี้ ( Utility ) แบ่งออกเป็น 2 ชนิด ยูทิลิตี้สาหรับระบบปฏิบัติการ )OS Utility Programs) เป็นยูทิลิตี้ที่มักจะมีการติดตั้งมาพร้อมกับระบบปฏิบัติการอยู่แล้ว ซึ่งช่วยอานวยความสะดวกสาหรับการทางานร่วมกับ คอมพิวเตอร์ได้เป็นอย่างดี ซึ่งขอยกตัวอย่างของยูทิลิตี้ที่ใช้ใน Windows ที่ค่อนข้างจะรู้จักกันดี 1)ประเภทการจัดการไฟล์ ( File Manager )เป็นยูทิลิตี้ที่มีหน้าที่หลักในการจัดการเกี่ยวกับไฟล์ต่าง ๆ เช่น การคัดลอก การ เปลี่ยนชื่อ การลบ และการย้ายไฟล์ เป็นต้น ระบบปฏิบัติการ Windows รุ่นใหม่ ๆ ยังได้เพิ่มคุณสมบัติที่เรียกว่า image viewer เพื่อนามาปรับใช้กับไฟล์ที่เป็นรูปภาพได้อีกด้วย เมื่อใดที่ต้องการเรียกดูไฟล์ที่เป็นรูปภาพ (จะแสดงเป็นภาพขนาดเล็ก ๆ ที่ เรียกว่า thumbnail ) ผู้ใช้งานสามารถที่จะดับเบิลคลิกและเปิดดูได้ทันที
  • 5. 5 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved 2)ประเภทการลบทิ้งโปรแกรม )Uninstaller ) การติดตั้งโปรแกรมที่ไม่ได้ใช้งานแล้ว เมื่อใดก็ตามที่ต้องการลบหรือ กาจัดโปรแกรมต่าง ๆ เหล่านี้ออกไปจากระบบ สามารถเรียกใช้โปรแกรมประเภทการลบทิ้งนี้ได้เลยทันที ซึ่งทางานได้ อย่างง่ายดาย 3)ประเภทการสแกนดิสก์ )Disk Scanner ) เมื่ออุปกรณ์สารองข้อมูลของเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น ฮาร์ดดิสก์หรือฟล็อปปี้ ดิสก์เกิดปัญหาในการใช้งานขึ้น ยูทิลิตี้ประเภทนี้จะทาการสแกนหาข้อผิดพลาดต่าง ๆ เหล่านั้น พร้อมทั้งหาทาง แก้ปัญหานั้นให้ด้วย 4)ประเภทการจัดเรียงพื้นที่เก็บข้อมูล )Disk Defragmenter ) เป็นยูทิลิตี้ที่มีประโยชน์ในการใช้งานอย่างมาก เพราะดิสก์ ของคอมพิวเตอร์นั้นเมื่อมีการเรียกใช้งานอยู่บ่อย ๆ จะทาให้เกิดการกระจัดกระจายของไฟล์ข้อมูลอย่างไม่เป็นระเบียบ และไม่ได้อยู่เป็นกลุ่มก้อนเดียวกันเมื่อต้องการเรียกใช้อีกในภายหลังจะทาให้เวลาในการดึงข้อมูลนั้น ๆ ช้าลง โปรแกรม ยูทิลิตี้ประเภทนี้จะคอยทาหน้าที่จัดเรียงไฟล์เหล่านี้เสียใหม่ให้เป็นระเบียบมาก 5 )ประเภทรักษาหน้าจอ )Screen Saver ) จอภาพของคอมพิวเตอร์ เมื่อเราเปิดทางานและปล่อยทิ้งให้แสดงภาพเดิมโดย ไม่มีการเคลื่อนไหวใด ๆ เกิดขึ้นเป็นเวลานาน จะทาให้เกิดรอยไหม้บนสารเรืองแสงที่ฉาบผิวจอและไม่สามารถลบหาย ออกไปได้เมื่อปล่อยทิ้งไว้นานเข้าอาจส่งผลให้อายุการใช้งานของหน้าจอคอมพิวเตอร์สั้นลงตามไปด้วย โปรแกรม ประเภทรักษาหน้าจอหรือ Screen Saver จะมาช่วยป้ องกันปัญหาดังกล่าวได้เป็นอย่างดี ซอฟต์แวร์ประยุกต์ )Application Software) คือ ซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้นเพื่อประยุกต์กับงานที่ผู้ใช้ต้องการ เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคา ซอฟต์แวร์จัดเก็บภาษี ซอฟต์แวร์สินค้าคงคลัง ซอฟต์แวร์ตารางทางาน ซอฟต์แวร์กราฟิก ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล เป็นต้น การทางานใด ๆ โดยใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์จาเป็นต้องทางานภายใต้สภาพแวดล้อมของซอฟต์แวร์ระบบด้วย ตัวอย่างเช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคาต้องทางานภายใต้ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเอ็มเอสดอส หรือวินโดวส์ เป็นต้นได้รับความนิยมใช้ งานอย่างแพร่หลายในทุกวงการ ความนิยมส่วนหนึ่งมาจากขีดความสามารถของซอฟต์แวร์ประยุกต์นั้น ๆเพราะ ซอฟต์แวร์ที่ผลิตออกจาหน่ายต่างพยายามแข่งขันกันหลาย ๆ ด้าน เช่น เรียนรู้และใช้งานได้ง่าย สนับสนุนให้ใช้กับ เครื่องพิมพ์ได้ดี
  • 6. 6 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved แบ่งตามลักษณะการผลิต ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ประเภทดังนี้ 1)ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ ( Proprietary Software ) พัฒนาขึ้นมาเหตุผล หลักคือ หน่วยงานหรือองค์กรไม่สามารถจัดหาซอฟต์แวร์ที่นามาใช้ได้อย่างเหมาะสมและมี ประสิทธิภาพดีเพียงพอกับความต้องการ จึงทาให้มีการสร้างซอฟต์แวร์ขึ้นมาใหม่เพื่อใช้กันใน หน่วยงานโดยเฉพาะ วิธีการพัฒนาอาจทาได้ 2 วิธีคือ -In-house developed สร้างและพัฒนาโดยหน่วยงานของบริษัทเองโดยทีมงานที่มีทักษะและ ความเชี่ยวชาญด้านการออกแบบและเขียนโปรแกรมโดยเฉพาะ -Contract หรือ outsource เป็นการจ้างบุคคลภายนอกให้ทาขึ้นมา โดยอาจเป็นบริษัทที่มี ความเชี่ยวชาญในการเขียนโปรแกรมหรือที่เรียกว่า software house ซึ่งสามารถขอดูผลงานที่ ผ่านมาของผู้ผลิตได้ 2) ซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้โดยทั่วไป( Off-the-shelf Software หรือ Packaged Software ) งานบางอย่างที่พบเห็นทั่วไป เช่น การจัดพิมพ์รายงานการจัดทาฐานข้อมูล การ นาเสนองาน เราอาจจะเลือกหาซอฟต์แวร์เพื่อมาช่วยเหลือการทางานดังกล่าวได้โดยง่าย ซึ่งมีการ วางขายตามท้องตลาดทั่วไป ทั้งนี้อาจแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ โปรแกรมเฉพาะและโปรแกรม มาตรฐาน - โปรแกรมเฉพาะ ( customized Package ) เป็นโปรแกรมที่อาจต้องขอให้ผู้ผลิตทาการ เพิ่มเติมคุณสมบัติบางอย่างลงไป เพราะโปรแกรมที่วางขายอยู่นั้นยังมีข้อจากัดบางประการที่ไม่ สามารถตอบสนองการทางานขององค์กรได้ หากมีการปรับเปลี่ยนแก้ไขเพียงเล็กน้อยก็จะทาให้ใช้งาน ได้ดีและเหมาะสมกับองค์กรมากขึ้น -โปรแกรมมาตรฐาน ( standard package ) เป็นโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อสามารถใช้ กับงานทั่ว ๆ ไป ส่วนใหญ่แล้วจะมีคุณสมบัติที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องไปปรับปรุง หรือแก้ไขส่วนของโปรแกรมใด ๆ เพิ่มเติม เพียงแต่ศึกษาคู่มือหรือวิธีการใช้งานจากรายละเอียดที่ แนบมาพร้อมกับการซื้อโปรแกรมนั้นก็สามารถใช้งานได้เลยทันที โปรแกรมที่ได้รับความนิยมอย่าง มากในกลุ่มนี้ เช่น กลุ่มของโปรแกรมสาเร็จรูปทางด้าน Microsoft Office เป็นต้น
  • 7. 7 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved แบ่งตามกลุ่มการใช้งาน แบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ ๆ ดังนี้ 1(กลุ่มการใช้งานด้านธุรกิจ ( business ) ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้จะเน้นในการใช้งานทางด้านธุรกิจ โดยเฉพาะ โดยมุ่งหวังให้การทางานมีประสิทธิภาพ ที่ดีขึ้นกว่าการใช้แรงงานคน เช่น ใช้สาหรับการ จัดพิมพ์เอกสาร นาเสนองาน รวมถึงการบันทึกนัด หมายต่าง ๆ ซึ่งปัจจุบันมีบริษัทซอฟต์แวร์ในกลุ่มนี้ เป็นจานวนมาก 2(กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิกและ มัลติมีเดีย (graphic and multimedia ) เป็นกลุ่มซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่พัฒนาขึ้นเพื่อ ช่วยสาหรับการจัดการงานทางด้านกราฟิก และมัลติมีเดียให้เป็นไปได้โดยง่าย มี ความสามารถเสมือนเป็นผู้ช่วยในการ ออกแบบด้านต่าง ๆ นั่นเอง เช่น ตกแต่งภาพ วาดรูป ปรับเสียง ตัดต่อภาพเคลื่อนไหว รวมถึงการสร้างและออกแบบพัฒนาเว็บไซต์ 3(กลุ่มสาหรับใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร ( Web and Communication ) การเติบโตของ เครือข่ายอินเทอร์เน็ตทาให้มีผู้พัฒนาโปรแกรมเพื่อใช้งานเฉพาะอย่างเพิ่มมากขึ้น เช่น โปรแกรมสาหรับการ ตรวจเช็คอีเมล์ การท่องเว็บไซต์ การจัดการและดูแลเว็บรวมถึงการส่งข้อความติดต่อสื่อสาร การประชุมทางไกล ผ่านเครือข่าย เป็นต้น ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Programming XLanguages) ภาษาคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกเป็นสองกลุ่มคือ ภาษาระดับสูง( high level) และ ภาษาระดับต่า( low level) ภาษาระดับสูงถูกออกแบบมาเพื่อให้ใช้งานง่ายและสะดวกสบาย มากกว่าภาษาระดับต่า โปรแกรมที่เขียนถูกต้องตามกฎเกณฑ์และไวยากรณ์ของภาษาจะถูกแปล (compile) ไปเป็นภาษาระดับต่าเพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถนาไปใช้งานหรือปฏิบัติตามคาสั่งได้ ต่อไป ซอฟต์แวร์สมัยใหม่ส่วนมากเขียนด้วยภาษาระดับสูง แปลไปเป็นออบเจกต์โค้ด( object code) แล้วเปลี่ยนให้เป็นชุดคาสั่งในภาษาเครื่อง ภาษาคอมพิวเตอร์อาจแบ่งกลุ่มได้เป็นอีกสองประเภทคือ ภาษาที่มนุษย์อ่านออก( human- readable) และภาษาที่มนุษย์อ่านไม่ออก( non human-readable) ภาษาที่มนุษย์อ่านออก ถูกออกแบบมาเพื่อให้มนุษย์สามารถเข้าใจและสื่อสารได้โดยตรงกับคอมพิวเตอร์( แทบทุกชนิดเป็น ภาษาอังกฤษ )ส่วนภาษาที่มนุษย์อ่านไม่ออกจะมีโค้ดบางส่วนที่ไม่อาจอ่านเข้าใจได้ แต่ออกแบบมา เพื่อให้โค้ดกระชับซึ่งคอมพิวเตอร์จะสามารถประมวลผลได้ง่ายกว่า
  • 8. 8 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ภาษาคอมพิวเตอร์ อาจแบ่งได้เป็น 3 ระดับ คือ ภาษาเครื่อง (machine language) ภาษาระดับต่า (low-ianguage) และ ภาษาระดับสูง (high-level language) 1. ภาษาเครื่อง ภาษาเครื่อง เป็นภาษาที่ขึ้นกับฮาร์ดแวร์ของคอมพิวเตอร์แต่ละระบบ โดยเขียนอยู่ในรูปของรหัสของระบบ เลขฐานสอง ประกอบด้วยเลข 0 และเลข 1 ที่นามาเขียนเรียงติดต่อกัน ประโยคคาสั่งของภาษาเครื่องจะ ประกอบด้วยส่วนที่ระบุให้คอมพิวเตอร์ทางานอะไร เช่น สั่งให้ทาการบวกเลข สั่งให้ทาการเคลื่อนย้ายข้อมูล เป็น ต้น และอีกส่วนเพื่อบอกแหล่งข้อมูลที่จะนามาทางานตามที่ระบุในตอนแรก การเขียนโปรแกรม หรือชุดคาสั่งด้วยภาษาเครื่อง นับเป็นเรื่องที่ยุ่งยากไม่สะดวกและเสียเวลา เพราะผู้ใช้ จะต้องทราบรหัสแทนการทางานต่าง ๆ และต้องรู้ขั้นตอนการทางานภายในของเครื่องคอมพิวเตอร์โดยละเอียด ถ้า ใช้คาสั่งไม่ถูกต้องเกิดการผิดพลาด มนุษย์จึงพยายามคิดภาษาให้ติดต่อกับคอมพิวเตอร์ได้ง่ายขึ้น ด้วยการสร้าง ภาษาระดับต่าในเวลาต่อมา 2. ภาษาระดับต่าหรือภาษาแอสเซมบลี ภาษาระดับต่า หรือภาษาแอสเซมบลี ลักษณะของภาษานี้จะเป็นการใช้ตัวอักษรมาเรียงกันเป็นคา แทน เลขฐานสอง โดยคาที่กาหนดขึ้นจะมีความหมายที่สามารถเข้าใจและจาได้ง่าย เช่น จะใช้คาสั่ง ADD แทนการบวก คาสั่ง SUB แทนการลบ เป็นต้น การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาแอสแซมบลี ถึงแม้ว่าจะง่ายและเสียเวลาน้อยกว่าการ เขียนโปรแกรมด้วยภาษาเครื่อง แต่มีข้อเสียคือผู้ใช้จะต้องเรียนรู้โครงสร้างของระบบเครื่องนั้นอย่างละเอียด เพราะ ภาษาแอสแซมบลีเป็นภาษาที่ขึ้นกับฮาร์ดแวร์ จะใช้กับเครื่องระบบนั้น ถ้าใช้เครื่องต่างระบบที่มีตัวประมวลผล ต่างกัน จะต้องเรียนรู้โครงสร้างภายในและชุดคาสั่งสาหรับเครื่องนั้นใหม่ทั้งหมด 3. ภาษาระดับสูง ภาษาระดับสูง การพัฒนาภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคต่อมา จึงพยายามให้เป็นภาษาที่สามารถนาไปใช้กับเครื่อง ต่างระบบกัน ไม่ต้องเสียเวลาเรียนรู้ใหม่ทั้งหมด โปรแกรมที่เขียนสั่งงานกับเครื่องระบบหนึ่ง ก็สามารถนาไปใช้ หรือดัดแปลงเพียงเล็กน้อยเพื่อสั่งงานกับเครื่องอีกระบบหนึ่งได้ลักษณะของภาษาจะพยายามให้ใกล้เคียงกับ ภาษาธรรมชาติมากขึ้น ทาให้เราสามารถศึกษาและเรียนรู้ได้ในเวลาอันรวดเร็ว ภาษาในยุคหลังนี้ เรียกว่า ภาษา ระดับสูง ซึ่งได้มีการคิดค้นพัฒนาออกมาหลายภาษาด้วยกัน ที่เด่น ๆ และนิยมกันมาก เมื่อเราเขียนโปรแกรมด้วย ภาษาระดับสูงแล้ว จะนาไปสั่งงานคอมพิวเตอร์โดยตรงยังไม่ได้จะต้องผ่านขั้นตอนการแปลภาษาอีก เหมือนกรณี ของภาษาแอสเซมบลี ตัวแปลภาษา เพื่อแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง อาจแบ่งได้เป็นสองแบบ คือ อินเทอร์ พรีเตอร์ (interpreter) และคอมไพเลอร์ (compiler) ตัวอย่าง โปรแกรมภาษาเบสิกแสดงการคานวณ พื้นที่ของสามเหลี่ยมที่กาหนดฐานและส่วนสูงมาให้และแสดงผล ลัพธ์อาจเขียนได้ง่าย ๆ ดังนี้ ---------BASE = 4 ---------HEIGHT = 6 ---------AREA = 0.5 * BASE * HEIGHT ---------PRINT AREA ---------END
  • 9. 9 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ภาษาคอมพิวเตอร์ยุคที่ 1(first generation Xlanguage) ภาษาในยุคที่ 1(First Generation Language : 1GL) คือ ภาษาเครื่อง )Machine Language) เป็นภาษาแรกเริ่มที่คอมพิวเตอร์ รู้จักและเข้าใจ และสามารถสั่งการด้วยสัญญาณไฟฟ้า ซึ่งประกอบด้วยเลขฐาน 2คือ0และ1 ภาษาคอมพิวเตอร์ยุคที่ 2 (second generation language) ภาษาในยุคที่ 2 (Second Generation Language : 2GL) คือภาษา ที่พัฒนา ขึ้นมาโดยใช้ สัญลักษณ์ก็คือ ตัวภาษาอังกฤษเพื่อให้โปรแกรมเมอร์เข้าใจง่ายยิ่งขึ้น ซึ่งอาจจะเป็นตัวอักษร 1 หรือเป็นกลุ่ม อักษร ภาษาที่เกิดขึ้นในยุคนี้คือภาษา Assembly ที่ใช้อักษร A แทนการ Add เป็นต้นโดยคาสั่งที่ถูก เขียนขึ้นมาจะถูกแปลภาษาให้เป็นภาษาเครื่อง ที่ชื่อว่า Assembler ที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ ภาษาคอมพิวเตอร์ยุคที่ 3 (third generation language) ภาษาในยุคที่ 3 (Third Generation Language : 3GL) คือ ภาษาระดับสูง เนื่องจากมีการวิวัฒนาการจากภาษาอังกฤษที่ นอกจากจะเขียนเป็นคาสั่งได้แล้ว ยังเขียนเป็นประโยค และใกล้เคียงกับ ภาษามนุษย์มากขึ้น และภาษาในยุคนี้ก็จะเป็นแบบ Procedural Languageเนื่องจากต้องมีการระบุรายละเอียดของคาสั่งและการทางานต่าง ๆ ต้องเป็นไปตามลาดับขั้นตอนเป็น บรรทัด ๆ ไป และต้องมีตัวแปลภาษาเพื่อแปลคาสั่ง จาก Source Code ให้เป็น Object Code ที่เครื่องสามารถเข้าใจได้ ตัวอย่างภาษาในยุคนี้ เช่น BASIC, PASCAL, FORTRAN, COBOL, C เป็นต้น ภาษาคอมพิวเตอร์ยุคที่ 4 (fourth generation language) ภาษาในยุคที่ 4 (Fourth Generation Language : 4GL)คือ ภาษาในยุคนี้ เป็นภาษาระดับสูงเช่นเดียวกันและมีความโดดเด่น คือ การใช้คาสั่งจะมีความคล้ายคลึงกับประโยคภาษาอังกฤษมากขึ้นและ สามารถนามาใช้เขียนคาสั่งเพื่อเชื่อมต่อกับ ฐานข้อมูล ความสามารถด้านกราฟฟิก การติดต่อกับผู้ใช้(GUI) และความสามารถในการสร้างโค้ด ตัวอย่างภาษาในยุคนี้ ได้แก่ SQL (Structured Query Language), C#, Java, ซอฟต์แวร์ในตระกูล Visual ต่างๆ เช่น Visual Basic เป็นต้น
  • 10. 10 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ภาษาคอมพิวเตอร์ยุคที่ 5 (fifth generation language) ภาษาในยุคที่ 5 (Fifth Generation Language : 5GL) เรียกได้ว่าเป็น ภาษา ธรรมชาติ )Natural Language) เนื่องจากมีความ ใกล้เคียงกับภาษามนุษย์มากที่สุด ภาษาในยุคนี้สามารถรองรับเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ )Artificial Intelligence : AI) เช่น การทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถที่จะเข้าใจคาสั่งจากเสียงพูดและโต้ตอบได้ ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (translator) ในการพัฒนาซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์นั้น โปรแกรมเมอร์จะเขียนโปรแกรมในภาษาคอมพิวเตอร์แบบต่าง ๆ ตามแต่ ความชานาญของแต่ละคน โปรแกรมที่ได้จะเรียกว่า โปรแกรมต้นฉบับ หรือ ซอร์สโคด )source code) ซึ่งมนุษย์จะ อ่านโปรแกรมต้นฉบับนี้ได้แต่คอมพิวเตอร์จะไม่เข้าใจคาสั่งเหล่านั้น เนื่องจากคอมพิวเตอร์เข้าใจแต่ภาษาเครื่อง )Machine Language) ซึ่งประกอบขึ้นจากรหัสฐานสองเท่านั้น จึงต้องมีการใช้โปรแกรม ตัวแปรภาษาคอมพิวเตอร์ )Translator) ในการแปลภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาต่าง ๆ ไปเป็นภาษาเครื่องโปรแกรมที่แปลจากโปรแกรมต้นฉบับ แล้วเรียกว่า ออบเจคโคด )object code) ซึ่งจะประกอบด้วยรหัสคาสั่งที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนาไปปฏิบัติ ได้ต่อไปตัวแปลภาษาที่มีการใช้อยู่ในปัจจุบัน จะต่างกันที่ขั้นตอนที่ใช้ในการแปลภาษาให้อยู่ในรูปแบบที่ คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ แอสแซมเบลอร์ (Assemblers) เป็นตัวแปลภาษาแอสเซมบลี (assembly) ซึ่งเป็น ภาษาระดับต่าให้เป็นภาษาเครื่อง อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreters) อินเตอร์พรีเตอร์( Interpreter) เป็นตัวแปลภาษาระดับสูง ซึ่งเป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษามนุษย์ ไปเป็นภาษาเครื่อง โดย ใช้หลักการแปลพร้อมกับงานตามคาสั่งทีละบรรทัดตลอดทั้ง โปรแกรมทาให้การแก้ไขโปรแกรมทาได้ง่ายและรวดเร็ว แต่ออบเจคโคดที่ได้จากการแปลโดยการใช้อินเตอร์พรีเตอร์นั้น ไม่สามารถเก็บไว้ใช้ใหม่ได้จะจะต้องแปลโปรแกรมใหม่ทุก ครั้งที่ต้องการใช้งาน
  • 11. 11 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved คอมไพเลอร์ (Compilers) จะเป็นตัวแปลภาษาระดับสูงเช่นเดียวกับอินเตอร์พรีเตอร์แต่จะใช้วิธีแปลโปรแกรมทั้งโปรแกรมให้เป็นออบเจค โคด ก่อนที่จะสามารถนาไปทางานเช่นเดียวกับแอสแซมเบลอ ออบเจคโคดที่ได้จากการแปลนั้นสามารถจัดเก็บ ไว้เป็นแฟ้มข้อมูล เพื่อให้นาไปใช้ในการทางานเมื่อใดก็ได้ตามต้องการ ซึ่งเป็นข้อดีของคอมไพเลอร์ที่จะนาผล ที่ได้จากการแปลนั้นไปใช้งานกี่ครั้งก็ได้ไม่จากัด ไม่ต้องเสียเวลาในการแปลใหม่ทุกครั้ง ทาให้เป็นรูปแบบการ แปลที่ได้รับความนิยมอย่างมาก