SlideShare a Scribd company logo
1

ระบบปฏิบ ัต ิก าร LINUX SERVER
ประวัต ิข อง LINUX
ผู้เริ่มพัฒนาลินุกซ์ เคอร์เนลเป็นคนแรก คือ ลินุส โตร์วัลดส์
(Linus Torvalds) ชาวฟินแลนด์ เมื่อสมัยที่เขายังเป็นนักศึกษา
คอมพิวเตอร์ ที่มหาวิทยาลัยเฮลซิงกิ โดยแรกเริ่ม ริชาร์ด สตอล
แมน (Richard Stallman) ได้ก่อตั้งโครงการกนูขึ้นในปี พ.ศ.
2526 จุดมุ่งหมายโครงการกนู คือ ต้องการพัฒนาระบบปฏิบัติ
การคล้ายยูนิกซ์ที่เป็นซอฟต์แวร์เสรีทั้งระบบ ราวช่วงพ.ศ. 2533
โครงการกนูมีส่วนโปรแกรมที่จำาเป็นสำาหรับระบบปฏิบัติการเกือบ
ครบทั้งหมด ได้แก่ คลังโปรแกรม (Libraries) คอมไพเลอร์
(Compiler) โปรแกรมแก้ไขข้อความ(Text Editor) และเปลือก
ระบบยูนิกซ์(Shell) ซึ่งขาดแต่เพียงเคอร์เนล(Kernel) เท่านั้น
ในพ.ศ. 2533 โครงการกนูได้พัฒนาเคอร์เนลชื่อ Hurd เพื่อใช้
ในระบบกนูซึ่งในขณะนั้นมีปัญหาเกี่ยวกับความเร็วในการ
ประมวลผล
ในพ.ศ. 2534 โตร์วัลดส์เริ่มโครงการพัฒนาเคอร์เนล ขณะ
ศึกษาในมหาวิทยาลัยแล้ว โดยอาศัย Minix ซึ่งเป็นระบบที่คล้าย
กับ Unix ซึ่งมากับหนังสือเรื่องการออกแบบระบบปฏิบัติการ มา
เป็นเป็นต้นแบบในการเขียนขึ้นมาใหม่โดย Torvalds เขาพัฒนา
โดยใช้ IA-32 assembler และภาษาซี คอมไพล์เป็นไฟล์ไบนารี่
และบูทจากแผ่นฟลอปปี้ดิสก์ เขาได้พัฒนามาเรื่อยๆจนกระทั่ง
สามารถบูทตัวเองได้ (กล่าวคือสามารถคอมไพล์ภายในลินุกซ์ได้
เลย) และในปัจจุบันมีนักพัฒนาจากพันกว่าคนทั่วโลกได้เข้ามามี
ส่วนรวมในการพัฒนาโครงการ Eric S. Raymond ได้ศีกษา
กระบวนการพัฒนาดังกล่าวและเขียนบทความเรื่อง The
Cathedral and the Bazaar
ในรุ่น 0.01 นี้ถือว่ามีเครื่องมือที่เพียงพอสำาหรับระบบ
POSIX ที่ใช้เรียก ลินุกซ์ ที่รันกับ กนู Bash Shell และมีการ
พัฒนาอย่างต่อเนื่องและอย่างรวดเร็ว
โตร์วัลดส์ยังคงมุ่งมั่นพัฒนาระบบต่อไป ซึ่งต่อมาก็สามารถรันบน
X Window System และมีการเลือกนกเพนกวินที่ชื่อ Tux ให้
เป็นตัวนำาโชคหรือ Mascot ของระบบลินุกซ์
2

LINUX คือ อะไร
LINUX ระบบปฏิบัติการแบบ 32 บิต ที่เป็นยูนิกซ์โคลน
สำาหรับเครื่องพีซี และแจกจ่ายให้ใช้ฟรี สนับสนุนการใช้งานแบบ
หลากงาน หลายผู้ใช้ (MultiUser-MultiTasking) มีระบบ X
วินโดวส์ ซึ่งเป็นระบบการติดต่อผู้ใช้แบบกราฟฟิก ที่ไม่ขึ้นกับ
โอเอสหรือฮาร์ดแวร์ใดๆ (มักใช้กันมากในระบบยูนิกซ์) และ
มาตรฐานการสื่อสาร TCP/IP ที่ใช้เป็นมาตรฐานการสื่อสารใน
อินเทอร์เนตมาให้ในตัว ลีนุกซ์มีความเข้ากันได้ (compatible)
กับ มาตรฐาน POSIX ซึ่งเป็นมาตรฐานอินเทอร์เฟสที่ระบบยูนิกซ์
ส่วนใหญ่จะต้องมีและมีรูปแบบบางส่วนที่คล้ายกับระบบปฏิบัติการ
ยูนิกซ์จากค่าย Berkeley และ System V โดยความหมายทาง
เทคนิคแล้วลีนุกซ์ เป็นเพียงเคอร์เนล (kernel) ของระบบปฏิบัติ
การ ซึ่งจะทำาหน้าที่ในด้านของการจัดสรรและบริหารโพรเซสงาน
การจัดการไฟล์และอุปกรณ์ I/O ต่างๆ แต่ผู้ใช้ทั่วๆไปจะรู้จัก
ลีนุกซ์ผ่านทางแอพพลิเคชั่นและระบบอินเทอร์เฟสที่เขาเหล่านั้น
เห็น (เช่น Shell หรือ X วินโดวส์) ถ้าคุณรันลีนุกซ์บนเครื่อง 386
หรือ 486 ของคุณ มันจะเปลี่ยนพีซีของคุณให้กลายเป็นยูนิกซ์
เวอร์กสเตชันที่มีความสามารถสูง เคยมีผู้เทียบประสิทธิภาพ
ระหว่างลีนุกซ์บนเครื่องเพนเทียม และเครื่องเวอร์กสเตชันของซัน
ในระดับกลาง และได้ผลออกมาว่าให้ประสิทธิภาพที่ใกล้เคียงกัน
และนอกจากแพลตฟอร์มอินเทลแล้ว ปัจจุบันลีนุกซ์ยังได้ทำาการ
พัฒนาระบบเพื่อให้สามารถใช้งานได้บนแพลตฟอร์มอื่นๆด้วย
เช่น DEC Alpha , Motorolla Power-PC , MIPS เมื่อคุณสร้าง
แอพพลิเคชันขึ้นมาบนแพลตฟอร์มใดแพลตฟอร์มหนึ่งแล้ว คุณก็
สามารถย้ายแอพพลิเคชันของคุณไปวิ่งบนแพลตฟอร์มอื่นได้ไม่
ยาก ลีนุกซ์มีทีมพัฒนาโปรแกรมที่ต่อเนื่อง ไม่จำากัดจำานวนของ
อาสาสมัครผู้ร่วมงาน และส่วนใหญ่จะติดต่อกันผ่านทางอิน
เทอร์เนต เพราะที่อยู่อาศัยจริงๆของแต่ละคนอาจจะอยู่ไกลคนละ
ซีกโลกก็ได้ และมีแผนงานการพัฒนาในระยะยาว ทำาให้เรามั่นใจ
ได้ว่า ลีนุกซ์เป็นระบบปฏิบัติการที่มีอนาคต และจะยังคงพัฒนาต่อ
ไปได้ตราบนานเท่านาน
การใช้ง านในระบบปฏิบ ัต ิก าร Linux
การใช้งานดั้งเดิมของลินุกซ์ คือ ใช้เป็นระบบปฏิบัติการ
สำาหรับเครื่องเซิร์ฟเวอร์ แต่จากราคาที่ตำ่า ความยืดหยุ่น พื้นฐาน
จากยูนิกซ์ ทำาให้ลินุกซ์เหมาะกับงานหลาย ๆ ประเภท
3

ลินุกซ์ ถือเป็นส่วนสำาคัญของซอฟต์แวร์เซิร์ฟเวอร์ที่เรียกว่า
LAMP ย่อมาจาก Linux, Apache, MySQL,
Perl/PHP/Python ซึ่งเป็นที่นิยมใช้เป็นเว็บเซิร์ฟเวอร์ และพบ
มากสุดระบบหนึ่ง ตัวอย่างซอฟต์แวร์ซึ่งพัฒนาสำาหรับระบบนี้คือ
มีเดียวิกิ ซอฟต์แวร์สำาหรับวิกิพีเดีย
เนื่องจากราคาที่ตำ่าและการปรับแต่งได้หลากหลาย ลินุกซ์
ถูกนำามาใช้ในระบบฝังตัว เช่นเครื่องรับสัญญาณโทรทัศน์
โทรศัพท์มือถือ และอุปกรณ์พกพาต่าง ๆ ลินุกซ์เป็นคู่แข่งที่สำาคัญ
ของ ซิมเบียนโอเอส ซึ่งใช้ในโทรศัพท์มือถือจำานวนมาก และใช้
แทนวินโดวส์ซีอี และปาล์มโอเอส บนเครื่องคอมพิวเตอร์พกพา
เครื่องบันทึกวิดีโอก็ใช้ลินุกซ์ที่ดัดแปลงเป็นพิเศษ ไฟร์วอลล์และ
เราเตอร์หลายรุ่น เช่นของ Linksys ใช้ลินุกซ์และขีดความ
สามารถเรื่องทางเครือข่ายของมัน
ระยะหลังมีการใช้ลินุกซ์เป็นระบบปฏิบัติการของซูเปอร์
คอมพิวเตอร์มากขึ้น ในรายชื่อซูเปอร์คอมพิวเตอร์ TOP500
ของเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2548 เครื่องซูเปอร์คอมพิวเตอร์ที่
เร็วที่สุดสองอันดับแรกใช้ลินุกซ์ และจาก 500 ระบบ มีถึง 371
ระบบ (คิดเป็น 74.2%) ให้ลินุกซ์แบบใดแบบหนึ่ง
เครื่องเล่นเกม โซนี่ เพลย์สเตชัน 3 ทีออกในปี พ.ศ. 2549
่
รันลินุกซ์ โซนียังได้ปล่อย PS2 Linux สำาหรับใช้กับเพลย์สเตชัน
2 อีกด้วย ผู้พัฒนาเกมอย่าง Atari และ id Software ก็เคยออก
ซอฟต์แวร์เกมบนลินุกซ์มาแล้ว
คำา สั่ง ในระบบปฏิบ ัต ิก าร Linux
คำาสั่งน่ารู้ในระบบปฏิบัติการ Unix หรือ Linux
1.man แสดงคำาอธิบายคำาสั่ง เพื่อช่วยในการนำาไปใช้
2.ls แสดงรายชื่อแฟ้มใน directory ปัจจุบัน
3.id แสดงชื่อผู้ใช้คนปัจจุบัน
4.who แสดงชื่อผู้ใช้ที่กำาลัง online อยู่
5.pwd แสดงชื่อ directory ปัจจุบัน
6.date แสดงวันที่ และเวลาปัจจุบัน
7.banner (คำาสั่งนี้ใช้งานไม่ได้ใน RedHat 9)
8.ps แสดงกระบวนการที่กำาลังทำางานอยู่
9.kill ยกเลิกกระบวนการที่กำาลังทำางานอยู่
10.mail ส่งอีเมล
11.sort จัดเรียงข้อมูลใน text file
12.clear ล้างจอภาพ
4

13.more แสดงข้อมูลจาก text file แบบแยกหน้า
14.passwd เปลี่ยนรหัสผ่าน
15.cal แสดงปฏิทิน
16.echo แสดงตัวอักษร
17.talk สนทนากับผู้ใช้ในระบบ
18.grep ค้นหาตัวอักษรจาก text file
การพัฒ นาระบบงานบน LINUX
LINUX ได้ทำาการเตรียม เครื่องมือพัฒนาโปรแกรมให้เราไว้
อย่างครบครันซึ่งจะมีตั้งแต่แอพพลิเคชันมาตรฐานคือ C/C++
คอมไพเลอร์ของ GNU และหากเราต้องการพัฒนาระบบบน X ก็มี
TCL/TK เตรียมไว้ให้
สำาหรับคอมไพเลอร์ภาษาอื่นๆก็มี
เช่น Perl, Smalltalk , Pascal, Lisp เป็นต้น ถ้าคุณมีความ
เชี่ยวชาญการเขียนโปรแกรมแบบ X-Base หรือ FoxPro บน
LINUX ก็มีดาต้าเบสที่มีการเขียนโปรแกรมแบบนี้ให้เช่นกัน
และล่าสุดลีนุกซ์ก็มีจาวาคอมไพเลอร์ให้สำาหรับผู้ที่ชื่นชอบการ
เขียนแอพเพลตจาวา สำาหรับรันบนอินเทอร์เน็ตด้วย
คุณ สมบัต ิข องระบบปฏิบ ัต ิก าร Linux
1.มัลติทาสกิ้ง (Multi-tasking) คือ ทำางานหลายๆ อย่าง
พร้อมกันได้ในเวลาเดียวกัน ทำาให้ไม่ต้องเสียเวลาในการรอ โดย
แบ่งการทำางานออกเป็น Foreground และ Background
2.มัลติยูสเซอร์ (Multi-user) Unix สามารถรองรับผู้ใช้ได้
มากกว่า 1 คนในเวลาเดียวกันหรือพูดง่ายๆ ก็คือ ใช้งานได้หลาย
คนพร้อมกันนั่นเอง
3.เป็นระบบปฏิบัติการแบบหลายงาน และหลายผู้ใช้
(Multitasking & Multiuser) ที่สมบูรณ์แบบ ทำาให้สามารถมีผู้
ใช้งานพร้อมๆ กัน ได้หลายๆ คน และแต่ละคนก็สามารถรัน
โปรแกรมได้หลายๆ โปรแกรมพร้อมๆ กัน
4. มีความเข้ากันได้ (Compatible) กับระบบ UNIX ส่วน
มากในระดับ Source Code ความสามารถในการสลับหน้าจอ
ระหว่าง Login sessions ต่างๆ บนหน้าจอคอนโซลในเท็กซ์
โหมดได้ (Pseudo Terminal, Virtual Console)
5.สนับสนุนระบบไฟล์หลายชนิด เช่น Minix-1, Xenix,
ISO-9660, NCPFS, SMBFS, FAT16, FAT32, NTFS, UFS
เป็นต้น
5

6. สนับสนุนเครือข่าย TCP/IP ตลอดจนมีโปรแกรม
ไคลเอ็นต์ และเซิร์ฟเวอร์สำาหรับบริการต่างๆ ในอินเทอร์เน็ตทุก
ประเภท ไม่ว่าจะเป็น FTP, Telnet, NNTP,SMTP, Gopher,
WWW
7. Kernal ของ Linux มีความสามารถในการจำาลองการ
ทำางานของ Math Processor 80387 ทำาให้สามารถรัน
โปรแกรม ที่ต้องการใช้งานคำาสั่งเกี่ยวกับ floating-point ได้
8. Kernal ของ Linux สนับสนุน Demand-Paged
loaded executable คือ ระบบจะเรียกใช้โปรแกรม เท่าที่จะใช้
งานเท่านั้น จากดิสก์สู่หน่วยความจำาเป็นการใช้หน่วยความจำา
อย่างมีประสิทธิภาพ และมีการใช้หน่วยความจำาส่วนเดียว กับ
ขบวนการหลายๆ ขบวนการพร้อมๆ กัน (Shared copy-onwrite pages
9.สนับสนุน swap space มากถึง 2 GB ทำาให้มีหน่วย
ความจำาใช้งานมากขึ้นจึงรัน Application ขนาดใหญ่ได้ และมี
ผู้ใช้งานได้พร้อมกันมากขึ้น
10. Kernal มีระบบ Unified Memory Pool สำาหรับ
โปรแกรมและ Cache ทำาให้ Cache ปรับเพิ่ม-ลดขนาดได้โดย
อัตโนมัติ ขณะที่มีการเรียกใช้หรือไม่ใช้โปรแกรมใดๆ
11.โปรแกรมที่รันมีการใช้งาน Library ร่วมกัน
(Dynamically Linked Shared Libraries) ทำาให้โปรแกรมมี
ขนาดเล็ก และทำางานเร็ว
12.สนับสนุนการดีบัก (Debug) โปรแกรม และหาสาเหตุที่
ทำาให้โปรแกรมทำางานผิดพลาดได้

ข้อ ดีข องการใช้ LINUX
1.ไม่มี Virus
2.ไม่ทำาให้เครื่องช้าลงหลังจากเล่นไปนานๆ
3.ไม่ Hank หรือ Crashes เปิดใช้งานได้เป็นเดือนๆโดย
ไม่ต้อง Reboot จึงเหมาะกับงาน Server
4. Boot เร็ว ทำางานได้เร็วกว่าเพราะ Linux เล็กกว่า จึงไม่
ทำาต้องรอคอยนาฬิกาทรายเท่าการใช้งาน Windows
6

5.Install ง่ายและเร็ว Intall ครั้งเดียวได้ทั้ง OS และ
Application พื้นฐานที่จำาเป็น นอกจากนั้นยังสามารถติดตั้งแบบ
คู่กับ Windows คือใช้ได้ทั้งสองระบบในคอมพิวเตอร์เครื่อง
เดียวกันได้ สำาหรับการทดลองใช้ช่วงแรกก็สามารถเล่น Linux
จาก CD หรือ USB Drive ได้โดยไม่ต้อง Install
6.หาโปรแกรมใช้งานได้ง่ายไม่ซื้อ CD เพียงแต่เลือกจาก
List ที่มี โปรแกรมจะถูก Download และติดตั้งให้อัตโนมัติ การ
Uninstall ก็เพียงแต่คลิกออก ไม่ต้องกลัวจะเหลือ Register
หรือ Signature ค้างอยู่ในเครื่อง
7.Automatic Upgrade OS และ Application
Software
8.ฟรีทั้ง OS และ Application ทำาให้แบ่งปันให้ผู้อื่นได้
โดยไม่ต้องกลัวเรื่องลิกขสิทธิ์
9.ทำางานในเครื่องคอมพิวเตอร์เก่าๆได้ ไม่ต้อง upgrade
10.ไม่ต้องทำา Disk Defragment เพราะการออกแบบ
Disk Structrure ที่ดีกว่า Windows
11.มี Community ที่คอยช่วยเหลือ หรือให้คำาปรึกษาการ
ใช้งาน
12.ปรับแต่งระบบได้ตามความต้องการ ไม่ปิดบังโครงสร้าง
จากที่กล่าวมาสรุปได้ว่า สำาหรับผมแล้วการใช้ Linux
ทำาให้ภูมิใจที่ไม่ต้องขโมย ถึงคุณจะซื้อ OS ของ Windows แต่
Application หลายๆตัวที่ใช้ก็อาจต้องขโมยใช้ แต่สำาหรับ
Linux แล้ว มี Free Application สำาหรับทุกงานที่ต้องการหาก
คุณคิดจำาทำาเว็บด้วย LAMP Technology แล้ว Desktop ของ
Linux ทำาให้คุณเข้าใจ Linux Server ได้ดขึ้น Application
ี
Software ของ Windows บางตัวสามารถทำางานภายใต้ Linux
โดยใช้ Wine Application แต่ผมนิยมใช้โปรแกรมของ Linux
ที่ทำางานได้เหมือนกับ Windows Application นั้นๆมากกว่า
7

เพราะมันจะ Stable กว่า Multi user และ Multi task Feature
ของ Linux ได้ออกแบบมาอย่างดี เพราะอาศับหลักการของ
Unix ซึ่งเป็น OS ระดับ World Class OS ที่ใช้ในคอมพิวเตอร์
ระดับใหญ่User interface ของ Linux บางตัวก็ไม่เลว เช่น
Gnomen มี Multiple Desktop ซึ่งดีและสะดวกสำาหรับคนชอบ
ทำางานหลายๆด้านพร้อมๆกัน
ข้อ จำา กัด ของการใช้ LINUX
1.คุณต้องมีเวลาและให้ความสนใจในการศึกษา Linux
เพราะมันต่างกับ Windows ที่คุณเคยใช้มา และการใช้ Linux
ทำาให้คุณต้องเป็นผู้เชี่ยวชาญ เพราะงานหลายๆอย่างต้องใช้
Command Line ซึ่งต้องจำาๆ ไม่ใช่ Point and Click แบบ
Windows
2.Linux มีโปรแกรมใช้งานทุกๆด้านที่จำาเป็น แต่ก็มีน้อย
กว่า Windows และอาจไม่เก่งหรือใช้ง่ายเท่าโปรแกรมบน
Windows บางตัวของ Linux ก็ดีกว่า Windows เช่น Zim
(Note Taking software) แต่ Software ดีๆของ Linux หลาย
ตัวก็มีการ Port เพื่อใช้ใน Windows เช่น Firefox, Open
Office
3.สำาหรับ eBanking และตลาดหุ้นโดยมากยังใช้ IE และ
ActiveX ของ Microsoft ทำาให้ใช้ Linux ไม่ได้
4.Linux อาศัย Internet ในการ Installl Application
และ Upgrade แม้แต่ Dictionary ก็ใช้ Internet Lookup
เวลาติดขัดหรือเกิดปัญหาการใช้งาน ก็ตองอาศัย Internet ใน
้
การหาคำาตอบ การใช้ Linux ควรจะมี Internet Connection.
5.Driver สำาหรับ Hardware ใหม่ๆอาจไม่มีหรือไม่ดีเท่า
Windows เนื่องจากผู้ผลิต Hardware มักจะไม่ทำา Linux
Driver ต้องรอให้ Linux Community ทำาขึ้นมาใช้เอง แต่เดี๋ยว
นี้ดีขึ้นมาบ้างเพราะมีคนใช้ Linux มากขึ้น และบริษัท
คอมพิวเตอร์หลายๆบริษัทก็ติดตั้ง Linux มาให้ตอนซื้อเครื่องใหม่
8

6.Linux มีผู้ให้บริการหลายเจ้ามาก หรือเรียกว่ามีหลาย
Desktro การใช้งานก็ต่างกันบ้างในแง่ของ User interface
และแก่น (Kernel) เหมือนกัน เวลาเลือก Software มาใช้ต้องดู
ว่ามันเข้ากันได้กับ Desktro ของเราหรือเปล่า สำาหรับผมชอบ
Ubuntu มากกว่าเพื่อน เพราะมี Functionality ดี แต่กิน
Resource เยอะกว่า Linux ตัวอื่น บางคนเสียเวลาทดลอง
Desktro แต่ละตัวเพื่อความมัน ซึ่งแต่ละตัวมีข้อดีข้อเสียต่างๆกัน
ครับ
อนาคตของการใช้ร ะบบปฏิบ ัต ิก าร Linux เป็น เช่น ไร
ลีนุกซ์กำาลังเป็นระบบปฏิบัติการที่มีแนวโน้มว่าจะได้รับ
ความนิยมและใช้งานเพิ่มขึ้นเป็นระบบที่บริษัทผู้ผลิตคอมพิวเตอร์
หลายบริษัทอาทิ IBM, Compaq, Shape Electrics เสนอเป็น
ตัวเลือกแก่ลูกค้าที่ซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ นอกจากนั้นผู้ที่สนใจ
ติดตามข่าวในเรื่องการนำาลีนุกซ์ไปใช้งาน จะได้รับข่าวสาร
มากมายของบริษัทขนาดใหญ่หลายบริษัทที่หันมาใช้ลีนุกซ์อย่าง
จริงจังอาทิ Amazon.com, Freedom2Surf หรือข่าวที่ Mono
project วางแผนใช้ลีนุกซ์ในการพัฒนา .NET ในขณะที่ IBM
ออกผลิตภัณฑ์ WebSphere Commercemiddleware เพื่อ
สนับสนุน e-commerce โดยสามารถใช้กับระบบปฏิบัติการ
ลีนุกซ์ที่ติดตั้งบนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ซีพียู Intel Sony
Computer Entertainment Inc ใช้ Linux-enabled สำาหรับ
เครื่อง PlayStation2 บริษัท Shape Electrics เสนอผลิตภัณฑ์
รุ่น Zaurus ที่ใช้ลีนุกซ์และจาวา เป็นหลัก นอกจากนั้นยังมีข่าว
จากประเทศ จีนเยอรมัน และแมกซิโก ที่มีนโยบายจะนำาลีนุกซ์
ใช้เป็นระบบปฏิบัติการของเครื่องคอมพิวเตอร์ในหน่วยงานรัฐบาล
และหลายฝ่ายกำาลังติดตามข่าวจากประเทศเกาหลีอย่างสนใจว่า
จะประกาศใช้นโยบายเดียวกันนี้ด้วยหรือไม่ จุดแข็งที่สนับสนุน
ให้ลีนุกซ์ได้รับความนิยมอย่างรวดเร็วคือเป็นระบบโปรแกรมที่
ไม่มีค่าลิขสิทธิแต่อาจมีค่าบริการในการรวบรวมชุดโปรแกรมที่
เหมาะสมกับการนำาไปใช้งานและค่าลิขสิทธิของโปรแกรมสนับสนุ
นอื่นๆซึ่งนอกเหนือไปจาก เงื่อนไขของโครงการ Open Source
9

Software) มีระบบโปรแกรมสนับสนุนเป็นจำานวนมากทั้งที่มีลิข
สิทธิและที่สามารถดาว์นโหลดได้ฟรีจากอินเตอร์เนต มีระบบ
สนับสนุนการใช้งานแบบกราฟฟิก และระบบโปรแกรมที่สามารถ
ใช้งานได้คลายกับที่สามารถใช้งานบนระบบปฏิบัติการที่มีค่าลิข
สิทธิราคาแพง นอกจากนั้นสิ่งที่เป็นตัวชี้ว่าลีนุกซ์จะมีพัฒนาการ
ต่อไปอีกมากมายคือ การที่มีการปรับปรุงระบบโปรแกรมทั้งของ
ระบบปฏิบัติการลีนุกซ์เองและระบบโปรแกรมสนับสนุนอื่นๆ จะ
เห็นจากการที่มีการนำาเสนอระบบโปรแกรมเวอร์ชั่นใหม่ๆออกมา
ตลอดเวลา ดังนั้นโดยภาพรวมลีนุกซ์เป็นระบบปฏิบัติการที่มีมี
ความตื่นตัวมากและยังมีแนวโน้มที่จะพัฒนาไปข้างหน้าได้อีกนาน
อย่างไรก็ตามการใช้ลีนุกซ์ก็ใช่ที่ว่าจะไม่มีปัญหาอุปสรรค การ
เปลี่ยนระบบจากเดิมมาใช้ระบบปฏิบัติการลีนุกซ์ อาจะไม่ค่อยง่าย
นักดร.ปัญญา เปรมปรีด์ ได้วิเคราะห์ไว้ในวารสารคอมพิวเตอร์
ฉบับหนึ่งเกี่ยวกับสิ่งที่มักจะมองข้ามคือต้นทุนของการ
เปลี่ยนแปลงระบบไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 - 15 ของค่าใช้จ่าย
ทั้งหมดซึ่งยังไม่รวมการเปลี่ยนแปลงระบบโปรแกรมสำาเร็จรูป
อื่นๆ และการจัดอบรมแก่พนักงานใหม่ทั้งหมดทั้งยังแสดงความไม่
มั่นใจที่จะนำาลีนุกซ์ไปใช้งานทดแทนระบบเดิมในคอมพิวเตอร์
ขนาดมินิคอมพิวเตอร์และเมนเฟรมได้อย่างสมบูรณ์ และไม่แน่ใจ
ในความสำาเร็จหากประเทศไทยจะนำาระบบปฏิบัติการลีนุกซ์ไปใช้
แทน ระบบปฏิบัติการยอดนิยมหรือระบบอื่นๆทั้งประเทศจาก
ตัวอย่างที่ยังไม่สามารถทำาได้สำาเร็จในประเทศที่เป็นผู้นำาด้าน
เทคโนโลยีที่มีความพร้อมสูงกว่าประเทศไทยมาก แต่ท่านได้
แนะนำาทางออกว่าควรจะสนับสนุนให้เกิดกิจกรรมในการพัฒนา
ระบบโปรแกรมของคนไทยเอง ซึ่งจะสามารถสนองต่อความ
ต้องการและลักษณะการใช้งานของคนไทยมากกว่า ผมเห็นด้วย
กับความคิดที่จะสนับสนุนการพัฒนาระบบโปรแกรมต่างๆโดยคน
ไทย และคิดว่าเราน่าจะช่วยสนับสนุนและให้กำาลังใจผู้พัฒนา
ระบบโปรแกรมคนไทยเพื่อให้ สามารถพัฒนาไปสู่การสร้าง
อุตสาหกรรมการผลิตโปรแกรมสำาเร็จรูปในที่สุด ส่วนท่านที่สนใจ
ในระบบปฏิบัติการลีนุกซ์
10

สิ่ง ที่ค วรทราบก่อ นการติด ตั้ง
1.คุณสมบัติของฮาร์ดดิสก็ที่ต้องการติดตั้ง
• จำานวนของฮาร์ดดิสก็ที่ต้องการติดตั้ง
• ขนาดความจุของฮาร์ดดิสก์ที่จะใช้ในการติดตั้ง
• ประเภทการเชื่อมต่อของฮาร์ดดิสก์ที่จะใช้ใน
การติดตั้ง IDE, EIDE หรือ SCSI
• มีการใช้ประเภทการเชื่อมต่อของฮาร์ดดิสก์
หลายๆ ประเภทในเครื่องเดียวกันหรือไม่
2.ขนาดของหน่วยความจำาหลัก เพื่อที่จะคำานวณหาขนาด
ของ Linux Swap Partition
3.ประเภทการเชื่อมต่อของเครื่องอ่านซีดีรอม IDE
(ATAPI), SCSI
4.รุ่นและยี่ห้อของแผงวงจรเชื่อมต่อ SCSI
5.รุ่นและยี่ห้อของแผงวงจรเชื่อมต่อเครือข่าย
6.จำานวนปุ่มกด และประเภทเชื่อมต่อของเมาส์
7.รุ่นและยี่ห้อของแผงวงจรเชื่อมต่อจอภาพ รุ่นและยี่ห้อของ
จอภาพ
8.รายละเอียดการกำาหนดโปรโตคอล TCP/IP ของเครื่องที่
ต้องการติดตั้ง
• IP Address
• Net Mask
• GateWay Address
• Name Server Address
11

• Domain Name
• Host Name
การติด ตั้ง Linux
การติดตั้งโดยทั่วไป จะติดตั้งผ่านซีดีที่มีโปรแกรมบรรจุอยู่
ในแผ่นซึ่งแผ่นซีดีนั้นสามารถหามาได้หลายวิธี เช่นสามารถเบิร์น
ได้จาก ISO image ที่ดาวน์โหลดจากอินเทอร์เน็ต หรือสามารถ
หาซื้อซีดีได้ในราคาถูกโดยอาจจะซื้อรวมหรือแยกพร้อมกับคู่มือ
เนื่องจากสัญญาอนุญาตของโปรแกรมเป็นแบบ GPL ลินุกซ์จากผู้
จัดทำาบางตัวเช่น เดเบียน สามารถติดตั้งได้จากโปรแกรมขนาด
เล็กผ่านฟลอปปีดิสก์ ซึ่งเมื่อติดตั้งส่วนหนึ่งสำาเร็จ ตัวโปรแกรม
ของมันเองจะดาวน์โหลดส่วนอื่นเพิ่มขึ้นมาผ่านทางอินเทอร์เน็ต
หรือสำาหรับบางตัวเช่นอูบุนตุ สามารถทำางานได้ผ่านซีดีโดยติดตั้ง
ในแรมในช่วงที่เปิดเครื่อง
การทำางานของลินุกซ์สามารถติดตั้งได้ในเครื่องเซิร์ฟเวอร์
หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีสมรรถนะสูง จนถึงเครื่องที่สมรรถนะตำ่า
ที่ไม่มีฮาร์ดไดรฟ์หรือมีแรมน้อยโดยทำางานเป็นเครื่องไคลเอนต์
โดยที่เครื่องไคลเอนต์ สามารถบูตและเรียกใช้งานโปรแกรมต่างๆ
ผ่านทางเน็ตเวิร์กจากเครื่องเทอร์มินอลเซิร์ฟเวอร์ ซึ่งวิธีการนี้ยัง
คงช่วยให้ประหยัดเวลาในการติดตั้งโปรแกรม เพราะติดตั้งเพียง
เครื่องเดียวที่เทอร์มินอลเซิร์ฟเวอร์ รวมถึงราคาของเครื่องไคล
เอนต์ที่ไม่จำาเป็นต้องมีสมรรถภาพสูงซึ่งมีราคาถูกกว่าเครื่องทั่วไป
ตัว อย่า งการติด ตั้ง Linux CentOS Server 6
1. ใส่แผ่น เข้าไปที่ CDROM ในเครื่อง Server ( ในที่นี้จะ
สมมุติว่า Download Linux CentOS มาแล้วนะครับ )
จากนั้นให้ reboot เครื่อง Server แล้วท่านก็จะเห็นภาพดัง
ด้านล่าง ครับ ให้เลือกที่ Install or upgrade an
existing system
12

2. ตามภาพนี้ Linux CentOS จะให้เรา Check แผ่น DVD
ครับ จะใช้เวลานานนะครับ ผมแนะนำาว่าให้ Skip ข้ามจะดี
กว่าครับ

3. คลิ๊ก Next ได้เลยครับ
13

4. เลือกภาษาที่คุณต้องการในระหว่างขั้นตอนการติดตั้งครับ
ในที่นี้ผมเลือก English

5. เลือกชนิด Keyborad ที่จะใช้ครับ
14

6. ตามภาพที่แสดง ในหน้านี้เป็นการ เลือกประเภทของการจัด
เก็บข้อมูล หากคุณติดตั้ง CentOS 6 โดยการใช้ Local
Hard disk ให้เลือก ''Basic Storage Devices'' หาก
คุณติดตั้งไปยัง Hard disk แบบ Storage หรือ
mainframe ก็ให้เลือกด้านล่าง
15

7. ถ้าคุณมี Hard disk ใหม่ที่ยังไม่ได้ Format ก็จะมีการ
เตือนดังภาพครับ ให้เราเลือกที่ Re-initialize all

8. ขั้นตอนนี้ให้เรากำาหนด Hostname ของ server ครับแต่
ไว้กำาหนดหลังจากติดตั้งเสร็จก็ได้ครับ ปล่อยตามค่า
Default
16

9. ในหน้านี้กำาหนดค่า Time zone เป็น Asia/Bangkok

10.
นี่เป็นการ กำาหนดค่าของ Password Super User
ครับ นั่นก็คือ root นั่นเองครับ แนะนำาให้กำาหนดคำาที่ไม่มี
ใน Dictionary นะครับ เพื่อความปลอดภัยครับ
17

11.
หน้านี้เป็นการเลือกชนิดของการติดตั้งครับ ผมเลือกที่
Replace Existing Linux System (s) มันจะลบเฉพาะ
partition ที่เป็น linux เท่านั้นครับ แล้วระบบจะแบ่ง
partition ให้เราอัตโนมัติครับ คลิ๊กเลือกที่ Review and
modify partition layout ด้วยครับ เพื่อดู partition ที่
ระบบสร้างให้เราครับ

12.

เราจะเห็นดังภาพครับ ถ้าถูกต้องนะครับ
18

13.
พอเรา Next ต่อมาก็จะมีการเตือนจากระบบให้ระวัง
ครับ การ format ข้อมูลจะหายครับ
19

14.
คลิ๊กเลือก Write changes to disk เพื่อยืนยันการ
เปลี่ยนแปลง Disk

15.
คลิ๊กเลือก Use a boot loader password เพื่อ
ความปลอดภัยของ Boot Loader
20

16.
หน้านี้เป็นหน้าของการเลือก Package ในการติดตั้ง
ในที่นี้ผมเลือก Minimal เป็นการติดตั้งบบน้อยที่สุด เดี๋ยว
เราจะไปใช้การติดตั้ง ผ่านระบบ internet กันครับโดย
โปรแกรม yum ดังภาพแล้ว Next ได้เลยครับ

17.
ภาพระบบกำาลังติดตั้ง package รอการติดตั้ง ซักครู่
ครับ เพราะเราไม่ได้เลือก Package การติดตั้ง จะเร็วครับ
21

18.
เมื่อระบบติดตั้ง Package เสร็จแล้ว จะขึ้นหน้าให้เรา
reboot ระบบ ครับ

19.
พอ reboot เสร็จ boot ขึ้นมาก็จะได้หน้า login
แล้วครับ

20.
จากนั้นก็ลุยกับ Linux CentOS Server Version 6
ได้เลยครับ (มนตรี สีเทา,2558)

More Related Content

Viewers also liked

Dramaturgy Puppets
Dramaturgy PuppetsDramaturgy Puppets
Dramaturgy Puppets
Aspen Ulibarri
 
Peer to peer tutorial
Peer to peer tutorialPeer to peer tutorial
Peer to peer tutorial
rian priyanto
 
Li fi (light fidelity)
Li fi (light fidelity)Li fi (light fidelity)
Li fi (light fidelity)
Enique Mozambieque
 
ส่วนประกอบหน้าต่างโปรแกรม
ส่วนประกอบหน้าต่างโปรแกรมส่วนประกอบหน้าต่างโปรแกรม
ส่วนประกอบหน้าต่างโปรแกรมตอ ต้น
 
Managing the classroom
Managing the classroomManaging the classroom
Managing the classroomkierantaylor
 
Academics and the development of ifrs
Academics and the development of ifrsAcademics and the development of ifrs
Academics and the development of ifrsKatherine Marrugo
 
ความแตกต่างของSocial networkและ social media
ความแตกต่างของSocial networkและ social mediaความแตกต่างของSocial networkและ social media
ความแตกต่างของSocial networkและ social mediaตอ ต้น
 
Ect 2013 presentation for end user
Ect 2013 presentation for end userEct 2013 presentation for end user
Ect 2013 presentation for end user
Geoffrey Meon
 
Fisica 1 resumen
Fisica 1 resumenFisica 1 resumen
Fisica 1 resumen
MariSol Castillo
 
Tablets
TabletsTablets
Resume_Tathagata Sen
Resume_Tathagata SenResume_Tathagata Sen
Resume_Tathagata SenTathagata Sen
 
HYDRODYNAMIC STUDY OF SOLID LIQUID FLUIDIZATION
HYDRODYNAMIC STUDY OF SOLID LIQUID FLUIDIZATIONHYDRODYNAMIC STUDY OF SOLID LIQUID FLUIDIZATION
HYDRODYNAMIC STUDY OF SOLID LIQUID FLUIDIZATIONganeshswain
 
การสื่ออสารข้อมูล
การสื่ออสารข้อมูลการสื่ออสารข้อมูล
การสื่ออสารข้อมูลตอ ต้น
 

Viewers also liked (19)

Dramaturgy Puppets
Dramaturgy PuppetsDramaturgy Puppets
Dramaturgy Puppets
 
Film
FilmFilm
Film
 
Peer to peer tutorial
Peer to peer tutorialPeer to peer tutorial
Peer to peer tutorial
 
Li fi (light fidelity)
Li fi (light fidelity)Li fi (light fidelity)
Li fi (light fidelity)
 
Dramaturgy Puppets
Dramaturgy PuppetsDramaturgy Puppets
Dramaturgy Puppets
 
ส่วนประกอบหน้าต่างโปรแกรม
ส่วนประกอบหน้าต่างโปรแกรมส่วนประกอบหน้าต่างโปรแกรม
ส่วนประกอบหน้าต่างโปรแกรม
 
Managing the classroom
Managing the classroomManaging the classroom
Managing the classroom
 
Academics and the development of ifrs
Academics and the development of ifrsAcademics and the development of ifrs
Academics and the development of ifrs
 
portfolio
portfolioportfolio
portfolio
 
Apendicitis
ApendicitisApendicitis
Apendicitis
 
ความแตกต่างของSocial networkและ social media
ความแตกต่างของSocial networkและ social mediaความแตกต่างของSocial networkและ social media
ความแตกต่างของSocial networkและ social media
 
REGRETS-
REGRETS-REGRETS-
REGRETS-
 
DigitalLibrary4
DigitalLibrary4DigitalLibrary4
DigitalLibrary4
 
Ect 2013 presentation for end user
Ect 2013 presentation for end userEct 2013 presentation for end user
Ect 2013 presentation for end user
 
Fisica 1 resumen
Fisica 1 resumenFisica 1 resumen
Fisica 1 resumen
 
Tablets
TabletsTablets
Tablets
 
Resume_Tathagata Sen
Resume_Tathagata SenResume_Tathagata Sen
Resume_Tathagata Sen
 
HYDRODYNAMIC STUDY OF SOLID LIQUID FLUIDIZATION
HYDRODYNAMIC STUDY OF SOLID LIQUID FLUIDIZATIONHYDRODYNAMIC STUDY OF SOLID LIQUID FLUIDIZATION
HYDRODYNAMIC STUDY OF SOLID LIQUID FLUIDIZATION
 
การสื่ออสารข้อมูล
การสื่ออสารข้อมูลการสื่ออสารข้อมูล
การสื่ออสารข้อมูล
 

Similar to ระบบปฏิบัติการ Linux server

Powerpoint templat3 1_
Powerpoint templat3 1_Powerpoint templat3 1_
Powerpoint templat3 1_preawywp
 
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นwiratchadaporn
 
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
kvcthidarat
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
karakas14
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
karakas14
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
karakas14
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
karakas14
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
karakas14
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
karakas55
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
karakas14
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
karakas14
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
karakas14
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
karakas14
 
Unix Operation System
Unix Operation SystemUnix Operation System
Unix Operation System
NecroRiaX Atlast Malice
 
System computer
System computerSystem computer
System computer
Tay Chaloeykrai
 
โครงงาน
โครงงาน โครงงาน
โครงงาน
kanoksuk
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
sasitorn256
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
sasitorn256
 

Similar to ระบบปฏิบัติการ Linux server (20)

Powerpoint templat3 1_
Powerpoint templat3 1_Powerpoint templat3 1_
Powerpoint templat3 1_
 
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
 
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
Unix Operation System
Unix Operation SystemUnix Operation System
Unix Operation System
 
System computer
System computerSystem computer
System computer
 
โครงงาน
โครงงาน โครงงาน
โครงงาน
 
Ch24
Ch24Ch24
Ch24
 
Presentation mc os
Presentation mc osPresentation mc os
Presentation mc os
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 

Recently uploaded

งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 

ระบบปฏิบัติการ Linux server

  • 1. 1 ระบบปฏิบ ัต ิก าร LINUX SERVER ประวัต ิข อง LINUX ผู้เริ่มพัฒนาลินุกซ์ เคอร์เนลเป็นคนแรก คือ ลินุส โตร์วัลดส์ (Linus Torvalds) ชาวฟินแลนด์ เมื่อสมัยที่เขายังเป็นนักศึกษา คอมพิวเตอร์ ที่มหาวิทยาลัยเฮลซิงกิ โดยแรกเริ่ม ริชาร์ด สตอล แมน (Richard Stallman) ได้ก่อตั้งโครงการกนูขึ้นในปี พ.ศ. 2526 จุดมุ่งหมายโครงการกนู คือ ต้องการพัฒนาระบบปฏิบัติ การคล้ายยูนิกซ์ที่เป็นซอฟต์แวร์เสรีทั้งระบบ ราวช่วงพ.ศ. 2533 โครงการกนูมีส่วนโปรแกรมที่จำาเป็นสำาหรับระบบปฏิบัติการเกือบ ครบทั้งหมด ได้แก่ คลังโปรแกรม (Libraries) คอมไพเลอร์ (Compiler) โปรแกรมแก้ไขข้อความ(Text Editor) และเปลือก ระบบยูนิกซ์(Shell) ซึ่งขาดแต่เพียงเคอร์เนล(Kernel) เท่านั้น ในพ.ศ. 2533 โครงการกนูได้พัฒนาเคอร์เนลชื่อ Hurd เพื่อใช้ ในระบบกนูซึ่งในขณะนั้นมีปัญหาเกี่ยวกับความเร็วในการ ประมวลผล ในพ.ศ. 2534 โตร์วัลดส์เริ่มโครงการพัฒนาเคอร์เนล ขณะ ศึกษาในมหาวิทยาลัยแล้ว โดยอาศัย Minix ซึ่งเป็นระบบที่คล้าย กับ Unix ซึ่งมากับหนังสือเรื่องการออกแบบระบบปฏิบัติการ มา เป็นเป็นต้นแบบในการเขียนขึ้นมาใหม่โดย Torvalds เขาพัฒนา โดยใช้ IA-32 assembler และภาษาซี คอมไพล์เป็นไฟล์ไบนารี่ และบูทจากแผ่นฟลอปปี้ดิสก์ เขาได้พัฒนามาเรื่อยๆจนกระทั่ง สามารถบูทตัวเองได้ (กล่าวคือสามารถคอมไพล์ภายในลินุกซ์ได้ เลย) และในปัจจุบันมีนักพัฒนาจากพันกว่าคนทั่วโลกได้เข้ามามี ส่วนรวมในการพัฒนาโครงการ Eric S. Raymond ได้ศีกษา กระบวนการพัฒนาดังกล่าวและเขียนบทความเรื่อง The Cathedral and the Bazaar ในรุ่น 0.01 นี้ถือว่ามีเครื่องมือที่เพียงพอสำาหรับระบบ POSIX ที่ใช้เรียก ลินุกซ์ ที่รันกับ กนู Bash Shell และมีการ พัฒนาอย่างต่อเนื่องและอย่างรวดเร็ว โตร์วัลดส์ยังคงมุ่งมั่นพัฒนาระบบต่อไป ซึ่งต่อมาก็สามารถรันบน X Window System และมีการเลือกนกเพนกวินที่ชื่อ Tux ให้ เป็นตัวนำาโชคหรือ Mascot ของระบบลินุกซ์
  • 2. 2 LINUX คือ อะไร LINUX ระบบปฏิบัติการแบบ 32 บิต ที่เป็นยูนิกซ์โคลน สำาหรับเครื่องพีซี และแจกจ่ายให้ใช้ฟรี สนับสนุนการใช้งานแบบ หลากงาน หลายผู้ใช้ (MultiUser-MultiTasking) มีระบบ X วินโดวส์ ซึ่งเป็นระบบการติดต่อผู้ใช้แบบกราฟฟิก ที่ไม่ขึ้นกับ โอเอสหรือฮาร์ดแวร์ใดๆ (มักใช้กันมากในระบบยูนิกซ์) และ มาตรฐานการสื่อสาร TCP/IP ที่ใช้เป็นมาตรฐานการสื่อสารใน อินเทอร์เนตมาให้ในตัว ลีนุกซ์มีความเข้ากันได้ (compatible) กับ มาตรฐาน POSIX ซึ่งเป็นมาตรฐานอินเทอร์เฟสที่ระบบยูนิกซ์ ส่วนใหญ่จะต้องมีและมีรูปแบบบางส่วนที่คล้ายกับระบบปฏิบัติการ ยูนิกซ์จากค่าย Berkeley และ System V โดยความหมายทาง เทคนิคแล้วลีนุกซ์ เป็นเพียงเคอร์เนล (kernel) ของระบบปฏิบัติ การ ซึ่งจะทำาหน้าที่ในด้านของการจัดสรรและบริหารโพรเซสงาน การจัดการไฟล์และอุปกรณ์ I/O ต่างๆ แต่ผู้ใช้ทั่วๆไปจะรู้จัก ลีนุกซ์ผ่านทางแอพพลิเคชั่นและระบบอินเทอร์เฟสที่เขาเหล่านั้น เห็น (เช่น Shell หรือ X วินโดวส์) ถ้าคุณรันลีนุกซ์บนเครื่อง 386 หรือ 486 ของคุณ มันจะเปลี่ยนพีซีของคุณให้กลายเป็นยูนิกซ์ เวอร์กสเตชันที่มีความสามารถสูง เคยมีผู้เทียบประสิทธิภาพ ระหว่างลีนุกซ์บนเครื่องเพนเทียม และเครื่องเวอร์กสเตชันของซัน ในระดับกลาง และได้ผลออกมาว่าให้ประสิทธิภาพที่ใกล้เคียงกัน และนอกจากแพลตฟอร์มอินเทลแล้ว ปัจจุบันลีนุกซ์ยังได้ทำาการ พัฒนาระบบเพื่อให้สามารถใช้งานได้บนแพลตฟอร์มอื่นๆด้วย เช่น DEC Alpha , Motorolla Power-PC , MIPS เมื่อคุณสร้าง แอพพลิเคชันขึ้นมาบนแพลตฟอร์มใดแพลตฟอร์มหนึ่งแล้ว คุณก็ สามารถย้ายแอพพลิเคชันของคุณไปวิ่งบนแพลตฟอร์มอื่นได้ไม่ ยาก ลีนุกซ์มีทีมพัฒนาโปรแกรมที่ต่อเนื่อง ไม่จำากัดจำานวนของ อาสาสมัครผู้ร่วมงาน และส่วนใหญ่จะติดต่อกันผ่านทางอิน เทอร์เนต เพราะที่อยู่อาศัยจริงๆของแต่ละคนอาจจะอยู่ไกลคนละ ซีกโลกก็ได้ และมีแผนงานการพัฒนาในระยะยาว ทำาให้เรามั่นใจ ได้ว่า ลีนุกซ์เป็นระบบปฏิบัติการที่มีอนาคต และจะยังคงพัฒนาต่อ ไปได้ตราบนานเท่านาน การใช้ง านในระบบปฏิบ ัต ิก าร Linux การใช้งานดั้งเดิมของลินุกซ์ คือ ใช้เป็นระบบปฏิบัติการ สำาหรับเครื่องเซิร์ฟเวอร์ แต่จากราคาที่ตำ่า ความยืดหยุ่น พื้นฐาน จากยูนิกซ์ ทำาให้ลินุกซ์เหมาะกับงานหลาย ๆ ประเภท
  • 3. 3 ลินุกซ์ ถือเป็นส่วนสำาคัญของซอฟต์แวร์เซิร์ฟเวอร์ที่เรียกว่า LAMP ย่อมาจาก Linux, Apache, MySQL, Perl/PHP/Python ซึ่งเป็นที่นิยมใช้เป็นเว็บเซิร์ฟเวอร์ และพบ มากสุดระบบหนึ่ง ตัวอย่างซอฟต์แวร์ซึ่งพัฒนาสำาหรับระบบนี้คือ มีเดียวิกิ ซอฟต์แวร์สำาหรับวิกิพีเดีย เนื่องจากราคาที่ตำ่าและการปรับแต่งได้หลากหลาย ลินุกซ์ ถูกนำามาใช้ในระบบฝังตัว เช่นเครื่องรับสัญญาณโทรทัศน์ โทรศัพท์มือถือ และอุปกรณ์พกพาต่าง ๆ ลินุกซ์เป็นคู่แข่งที่สำาคัญ ของ ซิมเบียนโอเอส ซึ่งใช้ในโทรศัพท์มือถือจำานวนมาก และใช้ แทนวินโดวส์ซีอี และปาล์มโอเอส บนเครื่องคอมพิวเตอร์พกพา เครื่องบันทึกวิดีโอก็ใช้ลินุกซ์ที่ดัดแปลงเป็นพิเศษ ไฟร์วอลล์และ เราเตอร์หลายรุ่น เช่นของ Linksys ใช้ลินุกซ์และขีดความ สามารถเรื่องทางเครือข่ายของมัน ระยะหลังมีการใช้ลินุกซ์เป็นระบบปฏิบัติการของซูเปอร์ คอมพิวเตอร์มากขึ้น ในรายชื่อซูเปอร์คอมพิวเตอร์ TOP500 ของเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2548 เครื่องซูเปอร์คอมพิวเตอร์ที่ เร็วที่สุดสองอันดับแรกใช้ลินุกซ์ และจาก 500 ระบบ มีถึง 371 ระบบ (คิดเป็น 74.2%) ให้ลินุกซ์แบบใดแบบหนึ่ง เครื่องเล่นเกม โซนี่ เพลย์สเตชัน 3 ทีออกในปี พ.ศ. 2549 ่ รันลินุกซ์ โซนียังได้ปล่อย PS2 Linux สำาหรับใช้กับเพลย์สเตชัน 2 อีกด้วย ผู้พัฒนาเกมอย่าง Atari และ id Software ก็เคยออก ซอฟต์แวร์เกมบนลินุกซ์มาแล้ว คำา สั่ง ในระบบปฏิบ ัต ิก าร Linux คำาสั่งน่ารู้ในระบบปฏิบัติการ Unix หรือ Linux 1.man แสดงคำาอธิบายคำาสั่ง เพื่อช่วยในการนำาไปใช้ 2.ls แสดงรายชื่อแฟ้มใน directory ปัจจุบัน 3.id แสดงชื่อผู้ใช้คนปัจจุบัน 4.who แสดงชื่อผู้ใช้ที่กำาลัง online อยู่ 5.pwd แสดงชื่อ directory ปัจจุบัน 6.date แสดงวันที่ และเวลาปัจจุบัน 7.banner (คำาสั่งนี้ใช้งานไม่ได้ใน RedHat 9) 8.ps แสดงกระบวนการที่กำาลังทำางานอยู่ 9.kill ยกเลิกกระบวนการที่กำาลังทำางานอยู่ 10.mail ส่งอีเมล 11.sort จัดเรียงข้อมูลใน text file 12.clear ล้างจอภาพ
  • 4. 4 13.more แสดงข้อมูลจาก text file แบบแยกหน้า 14.passwd เปลี่ยนรหัสผ่าน 15.cal แสดงปฏิทิน 16.echo แสดงตัวอักษร 17.talk สนทนากับผู้ใช้ในระบบ 18.grep ค้นหาตัวอักษรจาก text file การพัฒ นาระบบงานบน LINUX LINUX ได้ทำาการเตรียม เครื่องมือพัฒนาโปรแกรมให้เราไว้ อย่างครบครันซึ่งจะมีตั้งแต่แอพพลิเคชันมาตรฐานคือ C/C++ คอมไพเลอร์ของ GNU และหากเราต้องการพัฒนาระบบบน X ก็มี TCL/TK เตรียมไว้ให้ สำาหรับคอมไพเลอร์ภาษาอื่นๆก็มี เช่น Perl, Smalltalk , Pascal, Lisp เป็นต้น ถ้าคุณมีความ เชี่ยวชาญการเขียนโปรแกรมแบบ X-Base หรือ FoxPro บน LINUX ก็มีดาต้าเบสที่มีการเขียนโปรแกรมแบบนี้ให้เช่นกัน และล่าสุดลีนุกซ์ก็มีจาวาคอมไพเลอร์ให้สำาหรับผู้ที่ชื่นชอบการ เขียนแอพเพลตจาวา สำาหรับรันบนอินเทอร์เน็ตด้วย คุณ สมบัต ิข องระบบปฏิบ ัต ิก าร Linux 1.มัลติทาสกิ้ง (Multi-tasking) คือ ทำางานหลายๆ อย่าง พร้อมกันได้ในเวลาเดียวกัน ทำาให้ไม่ต้องเสียเวลาในการรอ โดย แบ่งการทำางานออกเป็น Foreground และ Background 2.มัลติยูสเซอร์ (Multi-user) Unix สามารถรองรับผู้ใช้ได้ มากกว่า 1 คนในเวลาเดียวกันหรือพูดง่ายๆ ก็คือ ใช้งานได้หลาย คนพร้อมกันนั่นเอง 3.เป็นระบบปฏิบัติการแบบหลายงาน และหลายผู้ใช้ (Multitasking & Multiuser) ที่สมบูรณ์แบบ ทำาให้สามารถมีผู้ ใช้งานพร้อมๆ กัน ได้หลายๆ คน และแต่ละคนก็สามารถรัน โปรแกรมได้หลายๆ โปรแกรมพร้อมๆ กัน 4. มีความเข้ากันได้ (Compatible) กับระบบ UNIX ส่วน มากในระดับ Source Code ความสามารถในการสลับหน้าจอ ระหว่าง Login sessions ต่างๆ บนหน้าจอคอนโซลในเท็กซ์ โหมดได้ (Pseudo Terminal, Virtual Console) 5.สนับสนุนระบบไฟล์หลายชนิด เช่น Minix-1, Xenix, ISO-9660, NCPFS, SMBFS, FAT16, FAT32, NTFS, UFS เป็นต้น
  • 5. 5 6. สนับสนุนเครือข่าย TCP/IP ตลอดจนมีโปรแกรม ไคลเอ็นต์ และเซิร์ฟเวอร์สำาหรับบริการต่างๆ ในอินเทอร์เน็ตทุก ประเภท ไม่ว่าจะเป็น FTP, Telnet, NNTP,SMTP, Gopher, WWW 7. Kernal ของ Linux มีความสามารถในการจำาลองการ ทำางานของ Math Processor 80387 ทำาให้สามารถรัน โปรแกรม ที่ต้องการใช้งานคำาสั่งเกี่ยวกับ floating-point ได้ 8. Kernal ของ Linux สนับสนุน Demand-Paged loaded executable คือ ระบบจะเรียกใช้โปรแกรม เท่าที่จะใช้ งานเท่านั้น จากดิสก์สู่หน่วยความจำาเป็นการใช้หน่วยความจำา อย่างมีประสิทธิภาพ และมีการใช้หน่วยความจำาส่วนเดียว กับ ขบวนการหลายๆ ขบวนการพร้อมๆ กัน (Shared copy-onwrite pages 9.สนับสนุน swap space มากถึง 2 GB ทำาให้มีหน่วย ความจำาใช้งานมากขึ้นจึงรัน Application ขนาดใหญ่ได้ และมี ผู้ใช้งานได้พร้อมกันมากขึ้น 10. Kernal มีระบบ Unified Memory Pool สำาหรับ โปรแกรมและ Cache ทำาให้ Cache ปรับเพิ่ม-ลดขนาดได้โดย อัตโนมัติ ขณะที่มีการเรียกใช้หรือไม่ใช้โปรแกรมใดๆ 11.โปรแกรมที่รันมีการใช้งาน Library ร่วมกัน (Dynamically Linked Shared Libraries) ทำาให้โปรแกรมมี ขนาดเล็ก และทำางานเร็ว 12.สนับสนุนการดีบัก (Debug) โปรแกรม และหาสาเหตุที่ ทำาให้โปรแกรมทำางานผิดพลาดได้ ข้อ ดีข องการใช้ LINUX 1.ไม่มี Virus 2.ไม่ทำาให้เครื่องช้าลงหลังจากเล่นไปนานๆ 3.ไม่ Hank หรือ Crashes เปิดใช้งานได้เป็นเดือนๆโดย ไม่ต้อง Reboot จึงเหมาะกับงาน Server 4. Boot เร็ว ทำางานได้เร็วกว่าเพราะ Linux เล็กกว่า จึงไม่ ทำาต้องรอคอยนาฬิกาทรายเท่าการใช้งาน Windows
  • 6. 6 5.Install ง่ายและเร็ว Intall ครั้งเดียวได้ทั้ง OS และ Application พื้นฐานที่จำาเป็น นอกจากนั้นยังสามารถติดตั้งแบบ คู่กับ Windows คือใช้ได้ทั้งสองระบบในคอมพิวเตอร์เครื่อง เดียวกันได้ สำาหรับการทดลองใช้ช่วงแรกก็สามารถเล่น Linux จาก CD หรือ USB Drive ได้โดยไม่ต้อง Install 6.หาโปรแกรมใช้งานได้ง่ายไม่ซื้อ CD เพียงแต่เลือกจาก List ที่มี โปรแกรมจะถูก Download และติดตั้งให้อัตโนมัติ การ Uninstall ก็เพียงแต่คลิกออก ไม่ต้องกลัวจะเหลือ Register หรือ Signature ค้างอยู่ในเครื่อง 7.Automatic Upgrade OS และ Application Software 8.ฟรีทั้ง OS และ Application ทำาให้แบ่งปันให้ผู้อื่นได้ โดยไม่ต้องกลัวเรื่องลิกขสิทธิ์ 9.ทำางานในเครื่องคอมพิวเตอร์เก่าๆได้ ไม่ต้อง upgrade 10.ไม่ต้องทำา Disk Defragment เพราะการออกแบบ Disk Structrure ที่ดีกว่า Windows 11.มี Community ที่คอยช่วยเหลือ หรือให้คำาปรึกษาการ ใช้งาน 12.ปรับแต่งระบบได้ตามความต้องการ ไม่ปิดบังโครงสร้าง จากที่กล่าวมาสรุปได้ว่า สำาหรับผมแล้วการใช้ Linux ทำาให้ภูมิใจที่ไม่ต้องขโมย ถึงคุณจะซื้อ OS ของ Windows แต่ Application หลายๆตัวที่ใช้ก็อาจต้องขโมยใช้ แต่สำาหรับ Linux แล้ว มี Free Application สำาหรับทุกงานที่ต้องการหาก คุณคิดจำาทำาเว็บด้วย LAMP Technology แล้ว Desktop ของ Linux ทำาให้คุณเข้าใจ Linux Server ได้ดขึ้น Application ี Software ของ Windows บางตัวสามารถทำางานภายใต้ Linux โดยใช้ Wine Application แต่ผมนิยมใช้โปรแกรมของ Linux ที่ทำางานได้เหมือนกับ Windows Application นั้นๆมากกว่า
  • 7. 7 เพราะมันจะ Stable กว่า Multi user และ Multi task Feature ของ Linux ได้ออกแบบมาอย่างดี เพราะอาศับหลักการของ Unix ซึ่งเป็น OS ระดับ World Class OS ที่ใช้ในคอมพิวเตอร์ ระดับใหญ่User interface ของ Linux บางตัวก็ไม่เลว เช่น Gnomen มี Multiple Desktop ซึ่งดีและสะดวกสำาหรับคนชอบ ทำางานหลายๆด้านพร้อมๆกัน ข้อ จำา กัด ของการใช้ LINUX 1.คุณต้องมีเวลาและให้ความสนใจในการศึกษา Linux เพราะมันต่างกับ Windows ที่คุณเคยใช้มา และการใช้ Linux ทำาให้คุณต้องเป็นผู้เชี่ยวชาญ เพราะงานหลายๆอย่างต้องใช้ Command Line ซึ่งต้องจำาๆ ไม่ใช่ Point and Click แบบ Windows 2.Linux มีโปรแกรมใช้งานทุกๆด้านที่จำาเป็น แต่ก็มีน้อย กว่า Windows และอาจไม่เก่งหรือใช้ง่ายเท่าโปรแกรมบน Windows บางตัวของ Linux ก็ดีกว่า Windows เช่น Zim (Note Taking software) แต่ Software ดีๆของ Linux หลาย ตัวก็มีการ Port เพื่อใช้ใน Windows เช่น Firefox, Open Office 3.สำาหรับ eBanking และตลาดหุ้นโดยมากยังใช้ IE และ ActiveX ของ Microsoft ทำาให้ใช้ Linux ไม่ได้ 4.Linux อาศัย Internet ในการ Installl Application และ Upgrade แม้แต่ Dictionary ก็ใช้ Internet Lookup เวลาติดขัดหรือเกิดปัญหาการใช้งาน ก็ตองอาศัย Internet ใน ้ การหาคำาตอบ การใช้ Linux ควรจะมี Internet Connection. 5.Driver สำาหรับ Hardware ใหม่ๆอาจไม่มีหรือไม่ดีเท่า Windows เนื่องจากผู้ผลิต Hardware มักจะไม่ทำา Linux Driver ต้องรอให้ Linux Community ทำาขึ้นมาใช้เอง แต่เดี๋ยว นี้ดีขึ้นมาบ้างเพราะมีคนใช้ Linux มากขึ้น และบริษัท คอมพิวเตอร์หลายๆบริษัทก็ติดตั้ง Linux มาให้ตอนซื้อเครื่องใหม่
  • 8. 8 6.Linux มีผู้ให้บริการหลายเจ้ามาก หรือเรียกว่ามีหลาย Desktro การใช้งานก็ต่างกันบ้างในแง่ของ User interface และแก่น (Kernel) เหมือนกัน เวลาเลือก Software มาใช้ต้องดู ว่ามันเข้ากันได้กับ Desktro ของเราหรือเปล่า สำาหรับผมชอบ Ubuntu มากกว่าเพื่อน เพราะมี Functionality ดี แต่กิน Resource เยอะกว่า Linux ตัวอื่น บางคนเสียเวลาทดลอง Desktro แต่ละตัวเพื่อความมัน ซึ่งแต่ละตัวมีข้อดีข้อเสียต่างๆกัน ครับ อนาคตของการใช้ร ะบบปฏิบ ัต ิก าร Linux เป็น เช่น ไร ลีนุกซ์กำาลังเป็นระบบปฏิบัติการที่มีแนวโน้มว่าจะได้รับ ความนิยมและใช้งานเพิ่มขึ้นเป็นระบบที่บริษัทผู้ผลิตคอมพิวเตอร์ หลายบริษัทอาทิ IBM, Compaq, Shape Electrics เสนอเป็น ตัวเลือกแก่ลูกค้าที่ซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ นอกจากนั้นผู้ที่สนใจ ติดตามข่าวในเรื่องการนำาลีนุกซ์ไปใช้งาน จะได้รับข่าวสาร มากมายของบริษัทขนาดใหญ่หลายบริษัทที่หันมาใช้ลีนุกซ์อย่าง จริงจังอาทิ Amazon.com, Freedom2Surf หรือข่าวที่ Mono project วางแผนใช้ลีนุกซ์ในการพัฒนา .NET ในขณะที่ IBM ออกผลิตภัณฑ์ WebSphere Commercemiddleware เพื่อ สนับสนุน e-commerce โดยสามารถใช้กับระบบปฏิบัติการ ลีนุกซ์ที่ติดตั้งบนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ซีพียู Intel Sony Computer Entertainment Inc ใช้ Linux-enabled สำาหรับ เครื่อง PlayStation2 บริษัท Shape Electrics เสนอผลิตภัณฑ์ รุ่น Zaurus ที่ใช้ลีนุกซ์และจาวา เป็นหลัก นอกจากนั้นยังมีข่าว จากประเทศ จีนเยอรมัน และแมกซิโก ที่มีนโยบายจะนำาลีนุกซ์ ใช้เป็นระบบปฏิบัติการของเครื่องคอมพิวเตอร์ในหน่วยงานรัฐบาล และหลายฝ่ายกำาลังติดตามข่าวจากประเทศเกาหลีอย่างสนใจว่า จะประกาศใช้นโยบายเดียวกันนี้ด้วยหรือไม่ จุดแข็งที่สนับสนุน ให้ลีนุกซ์ได้รับความนิยมอย่างรวดเร็วคือเป็นระบบโปรแกรมที่ ไม่มีค่าลิขสิทธิแต่อาจมีค่าบริการในการรวบรวมชุดโปรแกรมที่ เหมาะสมกับการนำาไปใช้งานและค่าลิขสิทธิของโปรแกรมสนับสนุ นอื่นๆซึ่งนอกเหนือไปจาก เงื่อนไขของโครงการ Open Source
  • 9. 9 Software) มีระบบโปรแกรมสนับสนุนเป็นจำานวนมากทั้งที่มีลิข สิทธิและที่สามารถดาว์นโหลดได้ฟรีจากอินเตอร์เนต มีระบบ สนับสนุนการใช้งานแบบกราฟฟิก และระบบโปรแกรมที่สามารถ ใช้งานได้คลายกับที่สามารถใช้งานบนระบบปฏิบัติการที่มีค่าลิข สิทธิราคาแพง นอกจากนั้นสิ่งที่เป็นตัวชี้ว่าลีนุกซ์จะมีพัฒนาการ ต่อไปอีกมากมายคือ การที่มีการปรับปรุงระบบโปรแกรมทั้งของ ระบบปฏิบัติการลีนุกซ์เองและระบบโปรแกรมสนับสนุนอื่นๆ จะ เห็นจากการที่มีการนำาเสนอระบบโปรแกรมเวอร์ชั่นใหม่ๆออกมา ตลอดเวลา ดังนั้นโดยภาพรวมลีนุกซ์เป็นระบบปฏิบัติการที่มีมี ความตื่นตัวมากและยังมีแนวโน้มที่จะพัฒนาไปข้างหน้าได้อีกนาน อย่างไรก็ตามการใช้ลีนุกซ์ก็ใช่ที่ว่าจะไม่มีปัญหาอุปสรรค การ เปลี่ยนระบบจากเดิมมาใช้ระบบปฏิบัติการลีนุกซ์ อาจะไม่ค่อยง่าย นักดร.ปัญญา เปรมปรีด์ ได้วิเคราะห์ไว้ในวารสารคอมพิวเตอร์ ฉบับหนึ่งเกี่ยวกับสิ่งที่มักจะมองข้ามคือต้นทุนของการ เปลี่ยนแปลงระบบไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 - 15 ของค่าใช้จ่าย ทั้งหมดซึ่งยังไม่รวมการเปลี่ยนแปลงระบบโปรแกรมสำาเร็จรูป อื่นๆ และการจัดอบรมแก่พนักงานใหม่ทั้งหมดทั้งยังแสดงความไม่ มั่นใจที่จะนำาลีนุกซ์ไปใช้งานทดแทนระบบเดิมในคอมพิวเตอร์ ขนาดมินิคอมพิวเตอร์และเมนเฟรมได้อย่างสมบูรณ์ และไม่แน่ใจ ในความสำาเร็จหากประเทศไทยจะนำาระบบปฏิบัติการลีนุกซ์ไปใช้ แทน ระบบปฏิบัติการยอดนิยมหรือระบบอื่นๆทั้งประเทศจาก ตัวอย่างที่ยังไม่สามารถทำาได้สำาเร็จในประเทศที่เป็นผู้นำาด้าน เทคโนโลยีที่มีความพร้อมสูงกว่าประเทศไทยมาก แต่ท่านได้ แนะนำาทางออกว่าควรจะสนับสนุนให้เกิดกิจกรรมในการพัฒนา ระบบโปรแกรมของคนไทยเอง ซึ่งจะสามารถสนองต่อความ ต้องการและลักษณะการใช้งานของคนไทยมากกว่า ผมเห็นด้วย กับความคิดที่จะสนับสนุนการพัฒนาระบบโปรแกรมต่างๆโดยคน ไทย และคิดว่าเราน่าจะช่วยสนับสนุนและให้กำาลังใจผู้พัฒนา ระบบโปรแกรมคนไทยเพื่อให้ สามารถพัฒนาไปสู่การสร้าง อุตสาหกรรมการผลิตโปรแกรมสำาเร็จรูปในที่สุด ส่วนท่านที่สนใจ ในระบบปฏิบัติการลีนุกซ์
  • 10. 10 สิ่ง ที่ค วรทราบก่อ นการติด ตั้ง 1.คุณสมบัติของฮาร์ดดิสก็ที่ต้องการติดตั้ง • จำานวนของฮาร์ดดิสก็ที่ต้องการติดตั้ง • ขนาดความจุของฮาร์ดดิสก์ที่จะใช้ในการติดตั้ง • ประเภทการเชื่อมต่อของฮาร์ดดิสก์ที่จะใช้ใน การติดตั้ง IDE, EIDE หรือ SCSI • มีการใช้ประเภทการเชื่อมต่อของฮาร์ดดิสก์ หลายๆ ประเภทในเครื่องเดียวกันหรือไม่ 2.ขนาดของหน่วยความจำาหลัก เพื่อที่จะคำานวณหาขนาด ของ Linux Swap Partition 3.ประเภทการเชื่อมต่อของเครื่องอ่านซีดีรอม IDE (ATAPI), SCSI 4.รุ่นและยี่ห้อของแผงวงจรเชื่อมต่อ SCSI 5.รุ่นและยี่ห้อของแผงวงจรเชื่อมต่อเครือข่าย 6.จำานวนปุ่มกด และประเภทเชื่อมต่อของเมาส์ 7.รุ่นและยี่ห้อของแผงวงจรเชื่อมต่อจอภาพ รุ่นและยี่ห้อของ จอภาพ 8.รายละเอียดการกำาหนดโปรโตคอล TCP/IP ของเครื่องที่ ต้องการติดตั้ง • IP Address • Net Mask • GateWay Address • Name Server Address
  • 11. 11 • Domain Name • Host Name การติด ตั้ง Linux การติดตั้งโดยทั่วไป จะติดตั้งผ่านซีดีที่มีโปรแกรมบรรจุอยู่ ในแผ่นซึ่งแผ่นซีดีนั้นสามารถหามาได้หลายวิธี เช่นสามารถเบิร์น ได้จาก ISO image ที่ดาวน์โหลดจากอินเทอร์เน็ต หรือสามารถ หาซื้อซีดีได้ในราคาถูกโดยอาจจะซื้อรวมหรือแยกพร้อมกับคู่มือ เนื่องจากสัญญาอนุญาตของโปรแกรมเป็นแบบ GPL ลินุกซ์จากผู้ จัดทำาบางตัวเช่น เดเบียน สามารถติดตั้งได้จากโปรแกรมขนาด เล็กผ่านฟลอปปีดิสก์ ซึ่งเมื่อติดตั้งส่วนหนึ่งสำาเร็จ ตัวโปรแกรม ของมันเองจะดาวน์โหลดส่วนอื่นเพิ่มขึ้นมาผ่านทางอินเทอร์เน็ต หรือสำาหรับบางตัวเช่นอูบุนตุ สามารถทำางานได้ผ่านซีดีโดยติดตั้ง ในแรมในช่วงที่เปิดเครื่อง การทำางานของลินุกซ์สามารถติดตั้งได้ในเครื่องเซิร์ฟเวอร์ หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีสมรรถนะสูง จนถึงเครื่องที่สมรรถนะตำ่า ที่ไม่มีฮาร์ดไดรฟ์หรือมีแรมน้อยโดยทำางานเป็นเครื่องไคลเอนต์ โดยที่เครื่องไคลเอนต์ สามารถบูตและเรียกใช้งานโปรแกรมต่างๆ ผ่านทางเน็ตเวิร์กจากเครื่องเทอร์มินอลเซิร์ฟเวอร์ ซึ่งวิธีการนี้ยัง คงช่วยให้ประหยัดเวลาในการติดตั้งโปรแกรม เพราะติดตั้งเพียง เครื่องเดียวที่เทอร์มินอลเซิร์ฟเวอร์ รวมถึงราคาของเครื่องไคล เอนต์ที่ไม่จำาเป็นต้องมีสมรรถภาพสูงซึ่งมีราคาถูกกว่าเครื่องทั่วไป ตัว อย่า งการติด ตั้ง Linux CentOS Server 6 1. ใส่แผ่น เข้าไปที่ CDROM ในเครื่อง Server ( ในที่นี้จะ สมมุติว่า Download Linux CentOS มาแล้วนะครับ ) จากนั้นให้ reboot เครื่อง Server แล้วท่านก็จะเห็นภาพดัง ด้านล่าง ครับ ให้เลือกที่ Install or upgrade an existing system
  • 12. 12 2. ตามภาพนี้ Linux CentOS จะให้เรา Check แผ่น DVD ครับ จะใช้เวลานานนะครับ ผมแนะนำาว่าให้ Skip ข้ามจะดี กว่าครับ 3. คลิ๊ก Next ได้เลยครับ
  • 14. 14 6. ตามภาพที่แสดง ในหน้านี้เป็นการ เลือกประเภทของการจัด เก็บข้อมูล หากคุณติดตั้ง CentOS 6 โดยการใช้ Local Hard disk ให้เลือก ''Basic Storage Devices'' หาก คุณติดตั้งไปยัง Hard disk แบบ Storage หรือ mainframe ก็ให้เลือกด้านล่าง
  • 15. 15 7. ถ้าคุณมี Hard disk ใหม่ที่ยังไม่ได้ Format ก็จะมีการ เตือนดังภาพครับ ให้เราเลือกที่ Re-initialize all 8. ขั้นตอนนี้ให้เรากำาหนด Hostname ของ server ครับแต่ ไว้กำาหนดหลังจากติดตั้งเสร็จก็ได้ครับ ปล่อยตามค่า Default
  • 16. 16 9. ในหน้านี้กำาหนดค่า Time zone เป็น Asia/Bangkok 10. นี่เป็นการ กำาหนดค่าของ Password Super User ครับ นั่นก็คือ root นั่นเองครับ แนะนำาให้กำาหนดคำาที่ไม่มี ใน Dictionary นะครับ เพื่อความปลอดภัยครับ
  • 17. 17 11. หน้านี้เป็นการเลือกชนิดของการติดตั้งครับ ผมเลือกที่ Replace Existing Linux System (s) มันจะลบเฉพาะ partition ที่เป็น linux เท่านั้นครับ แล้วระบบจะแบ่ง partition ให้เราอัตโนมัติครับ คลิ๊กเลือกที่ Review and modify partition layout ด้วยครับ เพื่อดู partition ที่ ระบบสร้างให้เราครับ 12. เราจะเห็นดังภาพครับ ถ้าถูกต้องนะครับ
  • 19. 19 14. คลิ๊กเลือก Write changes to disk เพื่อยืนยันการ เปลี่ยนแปลง Disk 15. คลิ๊กเลือก Use a boot loader password เพื่อ ความปลอดภัยของ Boot Loader
  • 20. 20 16. หน้านี้เป็นหน้าของการเลือก Package ในการติดตั้ง ในที่นี้ผมเลือก Minimal เป็นการติดตั้งบบน้อยที่สุด เดี๋ยว เราจะไปใช้การติดตั้ง ผ่านระบบ internet กันครับโดย โปรแกรม yum ดังภาพแล้ว Next ได้เลยครับ 17. ภาพระบบกำาลังติดตั้ง package รอการติดตั้ง ซักครู่ ครับ เพราะเราไม่ได้เลือก Package การติดตั้ง จะเร็วครับ
  • 21. 21 18. เมื่อระบบติดตั้ง Package เสร็จแล้ว จะขึ้นหน้าให้เรา reboot ระบบ ครับ 19. พอ reboot เสร็จ boot ขึ้นมาก็จะได้หน้า login แล้วครับ 20. จากนั้นก็ลุยกับ Linux CentOS Server Version 6 ได้เลยครับ (มนตรี สีเทา,2558)