SlideShare a Scribd company logo
ภารกิจ
 1. จากสถานการณปญหาที่มีนานุชและเพื่อนพบในขณะนี้มีสาเหตุมาจากสิ่งใด มีนานุชจะตอง
    แกปญหานี้อยางไร (1 คะแนน)
2. จากสถานการณนี้ สิ่งที่มีนานุชควรรูเกี่ยวกับโครงสรางของโปรแกรมภาษาซี มีองคประกอบที่
    สําคัญอะไรบางและวิธีการเขียนคอมเมนต(Comment) มีกประเภท มีวิธีเขียนอยางไร
                                                           ี่                             (1
    คะแนน)
3. มีนานุชควรสืบคนตัวอยางโปรแกรมภาษาซีจากเว็บไซตใด และมีรายละเอียดของตัวอยาง
    โปรแกรมภาษาซีเปนอยางไร (1 คะแนน)
4. นักเรียนชวยอธิบายโปรแกรมทีละบรรทัดดวยวา โปรแกรมที่สืบคนมานั้นเปนสวนประกอบใด
    ของโครงสรางภาษาซี โดยใชคอมเมนต(Comment) ในการเขียนคําอธิบาย (2 คะแนน)
แบบบันทึกการศึกษาคนควาและการแกปญหา
                      โจทยปญหา PBL เรื่อง โครงสรางของโปรแกรมภาษาซี
             รายวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องตน ง30201 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4

สมาชิกในกลุม
   1. นายศุภสวัสดิ์.............เสตพันธ.............. เลขที่ ......4..............
   2. นางสาวกมลวรรณ.....เทียมทัด............. เลขที่ ......20.............

ตอนที่ 1
   หัวขอปญหา          -โครงสรางของโปรแกรมภาษาซี
   ทําความเขาใจปญหา -ศึกษาขอมูลจากสถานการณ
   - สิ่งที่ตองการรู -โครงสรางของโปรแกรมภาษาซี
   - วิธีการหาคําตอบ -สืบคนขอมูลจากแหลงขอมูล/อางอิง

    การศึกษาคนควา / แกปญหา

      ชื่อสมาชิก                 การแบงหนาที่                   แหลงขอมูล/อางอิง
นายศุภสวัสดิ์ เสตพันธ              พิมพงาน                             -
น.ส.กมลวรรณ เทียมทัด              สืบคนขอมูล http://itd.htc.ac.th/st_it50/it5016/nidz/Web_C/unit2
                                                .html

ตอนที่ 2 สรุปผลการศึกษาคนควา / แกปญหาตามภารกิจ

     2.จากสถานการณนี้ สิ่งที่มีนานุชควรรูเกี่ยวกับโครงสรางของโปรแกรมภาษาซี มีองคประกอบที่
สําคัญอะไรบางและวิธีการเขียนคอมเมนต(Comment) มีกี่ประเภท มีวิธีเขียนอยางไร
 (1 คะแนน)


ตอบ 1. สวนหัวของโปรแกรม
     สวนหัวของโปรแกรมนี้เรียกวา Preprocessing Directive ใชระบุเพื่อบอกใหคอมไพเลอรกระทํา
การใด ๆกอนการแปลผลโปรแกรมในที่นี่คําสั่ง #include <stdio.h>ใชบอกกับคอมไพเลอรใหนําเฮด
เดอรไฟลที่ระบุคือ stdio.hเขารวมในการแปลโปรแกรมดวย โดยการกําหนด preprocessing directives
นี้จะตองขึ้นตนดวยเครื่องหมาย # เสมอ
         คําสั่งที่ใชระบุใหคอมไพเลอรนําเฮดเดอรไฟลเขารวมในการแปลโปรแกรมสามารถเขียนได 2
รูปแบบ คือ
         - #include <ชื่อเฮดเดอรไฟล>คอมไพเลอรจะทําการคนหาเฮดเดอรไฟลที่ระบุจากไดเรกทอรีที่
ใชสําหรับเก็บเฮดเดอรไฟลโดยเฉพาะ( ปกติคือไดเรกทอรีชื่อinclude)

        - #include “ ชื่อเฮดเดอรไฟล” คอมไพเลอรจะทําการคนหาเฮดเดอรไฟที่ระบุ จากไดเร็คทอรี
เดียวกันกับไฟล source code นั้น แตถาไมพบก็จะไปคนหาไดเร็คทอรีที่ใชเก็บ เฮดเดอรไฟลโดยเฉพาะ

2. สวนของฟงกชั่นหลัก
         ฟงกชั่นหลักของภาษาซี คือ ฟงกชั่น main( ) ซึ่งโปรแกรมภาษาซีทุกโปรแกรมจะตองมีฟงกชั่น
นี้อยูในโปรแกรมเสมอจะเห็นไดจากชื่อฟงกชั่นคือ main แปลวา “ หลัก ” ดังนั้นการเขียนโปรแกรม
ภาษซีจึงขาดฟงกชั่นนี้ไปไมไดโดยขอบเขตของฟงกชั่นจะถูกกําหนดดวยเครื่องหมาย { และ } กลาวคือ
การทํางานของฟงกชั่นจะเริ่มตนที่เครื่องหมาย { และจะสินสุดที่เครื่องหมาย } ฟงกชั่น main( ) สามารถ
                                                            ้
เขียนในรูปแบบของ void main(void) ก็ไดมีความหมายเหมือนกัน คือ หมายความวา ฟงกชั่น main() จะ
ไมมีอารกิวเมนต (argument) คือไมมีการรับคาใด ๆ เขามาประมวลผลภายในฟงกชั่นและจะไมมีการคืน
คาใด ๆ กลับออกไปจากฟงกชั่นดวย

3. สวนรายละเอียดของโปรแกรม
        เปนสวนของการเขียนคําสั่ง เพื่อใหโปรแกรมทํางานตามที่ไดออกแบบไว

         คอมเมนตในภาษาซี
         คอมเมนต(comment)คือสวนที่เปนหมายเหตุของโปรแกรมมีไวเพื่อใหผูเขียนโปรแกรมใส
ขอความอธิบายกํากับลงไปใน source code ซึ่งคอมไพเลอรจะขามาการแปลผลในสวนที่เปนคอมเมนต
นี้ คอมเมนตในภาษาซีมี2แบบคือ
         • คอมเมนตแบบบรรทัดเดียว ใชเครื่องหมาย //
         • คอมเมนตแบบหลายบรรทัด ใชเครื่องหมาย /* และ */
3.มีนานุชควรสืบคนตัวอยางโปรแกรมภาษาซีจากเว็บไซตใด และมีรายละเอียดของตัวอยาง
โปรแกรมภาษาซีเปนอยางไร (1 คะแนน)
ตอบ ปจจุบันโลกมีความกาวหนาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมากขึ้น ทําใหมีตัวเลือกในการ
คนหาความรูที่หลากหลาย แลวแตวามีนานุชมีความตองการที่จะคนหาโปรแกรมภาษาซีแบบใด ใน
https://sites.google.com/site/panussites/phasa-c-1 ที่มีการจัดระเบียบโปรแกรมภาษาซีเกี่ยวกับการ
คํานวณแบบตางๆไว เชน ตัวอยางโปรแกรมเปลี่ยนเลขฐาน 16 ดังนี้
#include<stdio.h>----------------------------------------------------เปนสวนหัวของโปรแกรม
#include<conio.h>---------------------------------------------------เปนสวนหัวของโปรแกรม
main()-----------------------------------------------------จุดเริ่มตนการทํางานของโปรแกรม
{-----------------------------------------------------------จุดเริ่มตนขอบเขตของการทํางาน
int x1,x2,x3,sum;-----------------------------------------ประกาศตัวแปร
printf("Enter X1 = : ");----------------------------------แสดงขอความรับคาตัวแปรที่1
scanf("%d",&x1);----------------------------------------รับคาตัวแปรที่1
printf("Enter X2 = : ");----------------------------------แสดงขอความรับคาตัวแปรที่2
scanf("%d",&x2);----------------------------------------รับคาตัวแปรที่2
printf("Enter X3 = : ");----------------------------------แสดงขอความรับคาตัวแปรที่3
scanf("%d",&x3);----------------------------------------รับคาตัวแปรที่3
sum=x1+x2+x3;------------------------------------------ประมวลผล
mean=sum/3;---------------------------------------------ประมวลผล
printf("Mean = %d ",mean);----------------------------แสดงผลลัพธ
getch();----------------------------------------------------ตัวแสดงโปรแกรม
}---------------------------------------------------------------จุดสิ้นสุดขอบเขตของการทํางาน
4.เรียนชวยอธิบายโปรแกรมทีละบรรทัดดวยวา โปรแกรมที่สืบคนมานั้นเปนสวนประกอบใด
ของโครงสรางภาษาซี โดยใชคอมเมนต(Comment) ในการเขียนคําอธิบาย (2 คะแนน)
                                

#include<stdio.h>     /*
#include<conio.h>        เปนสวนหัวของโปรแกรม*/
main()                   //สวนฟงกชันหลัก
{                        /*เริ่มตนโปรแกรมดวยเครื่องหมายปกกาเปด
int x1,x2,x3,sum;         /*
printf("Enter X1 = : ");
scanf("%d",&x1);
printf("Enter X2 = : ");
scanf("%d",&x2);
printf("Enter X3 = : ");
scanf("%d",&x3);
sum=x1+x2+x3;
mean=sum/3;
printf("Mean = %d ",mean);
getch();                 รายละเอียดของโปรแกรม */
}                        จบการเขียนโปรแกรมดวยเครื่องหมายปกกาปด*/

เกณฑการใหคะแนน
              คะแนนรวมไดระหวาง      5            คะแนน   หมายถึง      ดีมาก
              คะแนนรวมไดระหวาง      3-4          คะแนน   หมายถึง      ดี
              คะแนนรวมไดระหวาง      1-2          คะแนน   หมายถึง      ปานกลาง
              คะแนนรวมไดระหวาง      0            คะแนน   หมายถึง      ควรปรับปรุง

More Related Content

What's hot

โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอนโครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
srinagarindra the princess mother school kanchanaburi
 
ประโยชน์ของผังงาน
ประโยชน์ของผังงานประโยชน์ของผังงาน
ประโยชน์ของผังงาน
Pannathat Champakul
 
ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมmr.somsak phoolpherm
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++
Naowarat Jaikaroon
 
Python programmingggg
Python programminggggPython programmingggg
Python programmingggg
Ratchanok Nutyimyong
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2winewic199
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาwinewic199
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2winewic199
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
Nattawut Pornonsung
 

What's hot (11)

โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอนโครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
 
ประโยชน์ของผังงาน
ประโยชน์ของผังงานประโยชน์ของผังงาน
ประโยชน์ของผังงาน
 
ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรม
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++
 
Python programmingggg
Python programminggggPython programmingggg
Python programmingggg
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
 
Pbl 3
Pbl 3Pbl 3
Pbl 3
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
 
Learn 3
Learn 3Learn 3
Learn 3
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 

Viewers also liked

Deferred Action Elegibility
Deferred Action ElegibilityDeferred Action Elegibility
Deferred Action Elegibility
Cecilia Solis Ramirez
 
Ashok Hall Jr.ppt on saving environment
Ashok Hall Jr.ppt on saving environmentAshok Hall Jr.ppt on saving environment
Ashok Hall Jr.ppt on saving environment
madhumitaguha12
 
Ppt pm
Ppt pmPpt pm
Deferred Action Elegibility
Deferred Action ElegibilityDeferred Action Elegibility
Deferred Action Elegibility
Cecilia Solis Ramirez
 
Renungan NATAL
Renungan NATALRenungan NATAL
Renungan NATAL
D. Agus Goenawan
 
Nghiên cứu bảo đảm an toàn thông tin bằng kiếm soát lỗ hổng trong dịch vụ web
Nghiên cứu bảo đảm an toàn thông tin bằng kiếm soát lỗ hổng trong dịch vụ webNghiên cứu bảo đảm an toàn thông tin bằng kiếm soát lỗ hổng trong dịch vụ web
Nghiên cứu bảo đảm an toàn thông tin bằng kiếm soát lỗ hổng trong dịch vụ webVan Tri
 
Современные материалы для пассивного дома
Современные материалы для пассивного домаСовременные материалы для пассивного дома
Современные материалы для пассивного дома
Ingvar Lav
 
47532471 100-najboljih-blues-albuma
47532471 100-najboljih-blues-albuma47532471 100-najboljih-blues-albuma
47532471 100-najboljih-blues-albuma
ruzinaante
 
применение солнечной энергии для теплоснабжения объектов
применение солнечной энергии для теплоснабжения объектовприменение солнечной энергии для теплоснабжения объектов
применение солнечной энергии для теплоснабжения объектовIngvar Lav
 
Regulatory alert
Regulatory alertRegulatory alert
Regulatory alert
Rashi Bansal
 
Marketing communications for start ups - anthony de kerf - marketing camp
Marketing communications for start ups - anthony de kerf - marketing campMarketing communications for start ups - anthony de kerf - marketing camp
Marketing communications for start ups - anthony de kerf - marketing camp
Paul Wcislo
 
Reklamos apimciu apzvalga 20120110
Reklamos apimciu apzvalga 20120110Reklamos apimciu apzvalga 20120110
Reklamos apimciu apzvalga 20120110tomaswebguru
 
แนวทางการจัดค่ายอาเซียน
แนวทางการจัดค่ายอาเซียนแนวทางการจัดค่ายอาเซียน
แนวทางการจัดค่ายอาเซียน
Jeerapong Saotong
 
Yesus pembimbingku
Yesus pembimbingkuYesus pembimbingku
Yesus pembimbingku
D. Agus Goenawan
 
Evaluation of the addition of dry soybean sprouts
Evaluation of the addition of dry soybean sproutsEvaluation of the addition of dry soybean sprouts
Evaluation of the addition of dry soybean sprouts
maracromero
 
Pengenalan Visual Basic 6.0
Pengenalan Visual Basic 6.0Pengenalan Visual Basic 6.0
Pengenalan Visual Basic 6.0
Ahmadi Edy
 
Jazz Tyrril-Smart 2012 Visual Resume
Jazz Tyrril-Smart 2012 Visual ResumeJazz Tyrril-Smart 2012 Visual Resume
Jazz Tyrril-Smart 2012 Visual Resume
JazzTyrrilSmart
 
Mengelola beban
Mengelola bebanMengelola beban
Mengelola beban
D. Agus Goenawan
 

Viewers also liked (20)

Deferred Action Elegibility
Deferred Action ElegibilityDeferred Action Elegibility
Deferred Action Elegibility
 
Ashok Hall Jr.ppt on saving environment
Ashok Hall Jr.ppt on saving environmentAshok Hall Jr.ppt on saving environment
Ashok Hall Jr.ppt on saving environment
 
Ppt pm
Ppt pmPpt pm
Ppt pm
 
Deferred Action Elegibility
Deferred Action ElegibilityDeferred Action Elegibility
Deferred Action Elegibility
 
Renungan NATAL
Renungan NATALRenungan NATAL
Renungan NATAL
 
Nghiên cứu bảo đảm an toàn thông tin bằng kiếm soát lỗ hổng trong dịch vụ web
Nghiên cứu bảo đảm an toàn thông tin bằng kiếm soát lỗ hổng trong dịch vụ webNghiên cứu bảo đảm an toàn thông tin bằng kiếm soát lỗ hổng trong dịch vụ web
Nghiên cứu bảo đảm an toàn thông tin bằng kiếm soát lỗ hổng trong dịch vụ web
 
Современные материалы для пассивного дома
Современные материалы для пассивного домаСовременные материалы для пассивного дома
Современные материалы для пассивного дома
 
47532471 100-najboljih-blues-albuma
47532471 100-najboljih-blues-albuma47532471 100-najboljih-blues-albuma
47532471 100-najboljih-blues-albuma
 
применение солнечной энергии для теплоснабжения объектов
применение солнечной энергии для теплоснабжения объектовприменение солнечной энергии для теплоснабжения объектов
применение солнечной энергии для теплоснабжения объектов
 
Regulatory alert
Regulatory alertRegulatory alert
Regulatory alert
 
Marketing communications for start ups - anthony de kerf - marketing camp
Marketing communications for start ups - anthony de kerf - marketing campMarketing communications for start ups - anthony de kerf - marketing camp
Marketing communications for start ups - anthony de kerf - marketing camp
 
Reklamos apimciu apzvalga 20120110
Reklamos apimciu apzvalga 20120110Reklamos apimciu apzvalga 20120110
Reklamos apimciu apzvalga 20120110
 
แนวทางการจัดค่ายอาเซียน
แนวทางการจัดค่ายอาเซียนแนวทางการจัดค่ายอาเซียน
แนวทางการจัดค่ายอาเซียน
 
Yesus pembimbingku
Yesus pembimbingkuYesus pembimbingku
Yesus pembimbingku
 
The Miracle Man
The Miracle ManThe Miracle Man
The Miracle Man
 
Evaluation of the addition of dry soybean sprouts
Evaluation of the addition of dry soybean sproutsEvaluation of the addition of dry soybean sprouts
Evaluation of the addition of dry soybean sprouts
 
Pengenalan Visual Basic 6.0
Pengenalan Visual Basic 6.0Pengenalan Visual Basic 6.0
Pengenalan Visual Basic 6.0
 
Jazz Tyrril-Smart 2012 Visual Resume
Jazz Tyrril-Smart 2012 Visual ResumeJazz Tyrril-Smart 2012 Visual Resume
Jazz Tyrril-Smart 2012 Visual Resume
 
Mengelola beban
Mengelola bebanMengelola beban
Mengelola beban
 
Bunono Chilldren
Bunono ChilldrenBunono Chilldren
Bunono Chilldren
 

Similar to งานPbl 2

โจทย์ปัญหา Pbl 2
โจทย์ปัญหา Pbl 2โจทย์ปัญหา Pbl 2
โจทย์ปัญหา Pbl 2Jaruwank
 
Pbl2 นะแนนxปิ้น
Pbl2 นะแนนxปิ้นPbl2 นะแนนxปิ้น
Pbl2 นะแนนxปิ้นDararat Worasut
 
โจทย์ปัญหา Pbl 7.2เรื่อง การแสดงผลออกทางหน้าจอ
โจทย์ปัญหา Pbl 7.2เรื่อง  การแสดงผลออกทางหน้าจอโจทย์ปัญหา Pbl 7.2เรื่อง  การแสดงผลออกทางหน้าจอ
โจทย์ปัญหา Pbl 7.2เรื่อง การแสดงผลออกทางหน้าจอnattapon Arsapanom
 
โจทย์ปัญหา Pbl3
โจทย์ปัญหา Pbl3โจทย์ปัญหา Pbl3
โจทย์ปัญหา Pbl3siriyaporn20099
 
โจทย์ปัญหา Pbl 3
โจทย์ปัญหา Pbl 3โจทย์ปัญหา Pbl 3
โจทย์ปัญหา Pbl 3siriyaporn20099
 
โจทย์ปัญหา Pbl 3
โจทย์ปัญหา Pbl 3โจทย์ปัญหา Pbl 3
โจทย์ปัญหา Pbl 3siriyaporn20099
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C
0872671746
 
โจทย์ปัญหา Pbl 7.2
โจทย์ปัญหา Pbl 7.2โจทย์ปัญหา Pbl 7.2
โจทย์ปัญหา Pbl 7.2anusong
 
โจทย์ปัญหา Pbl 7.2
โจทย์ปัญหา Pbl 7.2โจทย์ปัญหา Pbl 7.2
โจทย์ปัญหา Pbl 7.2anusong
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาAeew Autaporn
 
โจทย์ปัญหา Pbl 7.2
โจทย์ปัญหา Pbl 7.2โจทย์ปัญหา Pbl 7.2
โจทย์ปัญหา Pbl 7.2anusong
 
โจทย์ปัญหา Pdl 7.2
โจทย์ปัญหา Pdl 7.2โจทย์ปัญหา Pdl 7.2
โจทย์ปัญหา Pdl 7.2siriyaporn20099
 
โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม nattapon Arsapanom
 
Pbl 3
Pbl 3Pbl 3

Similar to งานPbl 2 (20)

โจทย์ปัญหา Pbl 2
โจทย์ปัญหา Pbl 2โจทย์ปัญหา Pbl 2
โจทย์ปัญหา Pbl 2
 
Pbl2 docx
Pbl2 docxPbl2 docx
Pbl2 docx
 
Pbl2 docx
Pbl2 docxPbl2 docx
Pbl2 docx
 
Pbl2 นะแนนxปิ้น
Pbl2 นะแนนxปิ้นPbl2 นะแนนxปิ้น
Pbl2 นะแนนxปิ้น
 
โจทย์ปัญหา Pbl 7.2เรื่อง การแสดงผลออกทางหน้าจอ
โจทย์ปัญหา Pbl 7.2เรื่อง  การแสดงผลออกทางหน้าจอโจทย์ปัญหา Pbl 7.2เรื่อง  การแสดงผลออกทางหน้าจอ
โจทย์ปัญหา Pbl 7.2เรื่อง การแสดงผลออกทางหน้าจอ
 
โจทย์ปัญหา Pbl3
โจทย์ปัญหา Pbl3โจทย์ปัญหา Pbl3
โจทย์ปัญหา Pbl3
 
โจทย์ปัญหา Pbl 3
โจทย์ปัญหา Pbl 3โจทย์ปัญหา Pbl 3
โจทย์ปัญหา Pbl 3
 
โจทย์ปัญหา Pbl 3
โจทย์ปัญหา Pbl 3โจทย์ปัญหา Pbl 3
โจทย์ปัญหา Pbl 3
 
Pbl7.2
Pbl7.2Pbl7.2
Pbl7.2
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
 
กำเนิดภาษาซี
กำเนิดภาษาซีกำเนิดภาษาซี
กำเนิดภาษาซี
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C
 
โจทย์ปัญหา Pbl 7.2
โจทย์ปัญหา Pbl 7.2โจทย์ปัญหา Pbl 7.2
โจทย์ปัญหา Pbl 7.2
 
โจทย์ปัญหา Pbl 7.2
โจทย์ปัญหา Pbl 7.2โจทย์ปัญหา Pbl 7.2
โจทย์ปัญหา Pbl 7.2
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
โจทย์ปัญหา Pbl 7.2
โจทย์ปัญหา Pbl 7.2โจทย์ปัญหา Pbl 7.2
โจทย์ปัญหา Pbl 7.2
 
โจทย์ปัญหา Pdl 7.2
โจทย์ปัญหา Pdl 7.2โจทย์ปัญหา Pdl 7.2
โจทย์ปัญหา Pdl 7.2
 
Pbl7.2
Pbl7.2Pbl7.2
Pbl7.2
 
โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
 
Pbl 3
Pbl 3Pbl 3
Pbl 3
 

More from Supasawat Setapun (7)

งานPbl8.2
งานPbl8.2งานPbl8.2
งานPbl8.2
 
งาน Pbl 6
งาน Pbl 6งาน Pbl 6
งาน Pbl 6
 
งานPbl5
งานPbl5งานPbl5
งานPbl5
 
งาน Pbl 1
งาน Pbl 1งาน Pbl 1
งาน Pbl 1
 
งาน Pbl4.2
งาน Pbl4.2งาน Pbl4.2
งาน Pbl4.2
 
งาน Pbl4.1
งาน Pbl4.1งาน Pbl4.1
งาน Pbl4.1
 
งานPbl 3
งานPbl 3งานPbl 3
งานPbl 3
 

งานPbl 2

  • 1. ภารกิจ 1. จากสถานการณปญหาที่มีนานุชและเพื่อนพบในขณะนี้มีสาเหตุมาจากสิ่งใด มีนานุชจะตอง แกปญหานี้อยางไร (1 คะแนน) 2. จากสถานการณนี้ สิ่งที่มีนานุชควรรูเกี่ยวกับโครงสรางของโปรแกรมภาษาซี มีองคประกอบที่ สําคัญอะไรบางและวิธีการเขียนคอมเมนต(Comment) มีกประเภท มีวิธีเขียนอยางไร ี่ (1 คะแนน) 3. มีนานุชควรสืบคนตัวอยางโปรแกรมภาษาซีจากเว็บไซตใด และมีรายละเอียดของตัวอยาง โปรแกรมภาษาซีเปนอยางไร (1 คะแนน) 4. นักเรียนชวยอธิบายโปรแกรมทีละบรรทัดดวยวา โปรแกรมที่สืบคนมานั้นเปนสวนประกอบใด ของโครงสรางภาษาซี โดยใชคอมเมนต(Comment) ในการเขียนคําอธิบาย (2 คะแนน)
  • 2. แบบบันทึกการศึกษาคนควาและการแกปญหา โจทยปญหา PBL เรื่อง โครงสรางของโปรแกรมภาษาซี รายวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องตน ง30201 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 สมาชิกในกลุม 1. นายศุภสวัสดิ์.............เสตพันธ.............. เลขที่ ......4.............. 2. นางสาวกมลวรรณ.....เทียมทัด............. เลขที่ ......20............. ตอนที่ 1 หัวขอปญหา -โครงสรางของโปรแกรมภาษาซี ทําความเขาใจปญหา -ศึกษาขอมูลจากสถานการณ - สิ่งที่ตองการรู -โครงสรางของโปรแกรมภาษาซี - วิธีการหาคําตอบ -สืบคนขอมูลจากแหลงขอมูล/อางอิง การศึกษาคนควา / แกปญหา ชื่อสมาชิก การแบงหนาที่ แหลงขอมูล/อางอิง นายศุภสวัสดิ์ เสตพันธ พิมพงาน - น.ส.กมลวรรณ เทียมทัด สืบคนขอมูล http://itd.htc.ac.th/st_it50/it5016/nidz/Web_C/unit2 .html ตอนที่ 2 สรุปผลการศึกษาคนควา / แกปญหาตามภารกิจ 2.จากสถานการณนี้ สิ่งที่มีนานุชควรรูเกี่ยวกับโครงสรางของโปรแกรมภาษาซี มีองคประกอบที่ สําคัญอะไรบางและวิธีการเขียนคอมเมนต(Comment) มีกี่ประเภท มีวิธีเขียนอยางไร (1 คะแนน) ตอบ 1. สวนหัวของโปรแกรม สวนหัวของโปรแกรมนี้เรียกวา Preprocessing Directive ใชระบุเพื่อบอกใหคอมไพเลอรกระทํา การใด ๆกอนการแปลผลโปรแกรมในที่นี่คําสั่ง #include <stdio.h>ใชบอกกับคอมไพเลอรใหนําเฮด
  • 3. เดอรไฟลที่ระบุคือ stdio.hเขารวมในการแปลโปรแกรมดวย โดยการกําหนด preprocessing directives นี้จะตองขึ้นตนดวยเครื่องหมาย # เสมอ คําสั่งที่ใชระบุใหคอมไพเลอรนําเฮดเดอรไฟลเขารวมในการแปลโปรแกรมสามารถเขียนได 2 รูปแบบ คือ - #include <ชื่อเฮดเดอรไฟล>คอมไพเลอรจะทําการคนหาเฮดเดอรไฟลที่ระบุจากไดเรกทอรีที่ ใชสําหรับเก็บเฮดเดอรไฟลโดยเฉพาะ( ปกติคือไดเรกทอรีชื่อinclude) - #include “ ชื่อเฮดเดอรไฟล” คอมไพเลอรจะทําการคนหาเฮดเดอรไฟที่ระบุ จากไดเร็คทอรี เดียวกันกับไฟล source code นั้น แตถาไมพบก็จะไปคนหาไดเร็คทอรีที่ใชเก็บ เฮดเดอรไฟลโดยเฉพาะ 2. สวนของฟงกชั่นหลัก ฟงกชั่นหลักของภาษาซี คือ ฟงกชั่น main( ) ซึ่งโปรแกรมภาษาซีทุกโปรแกรมจะตองมีฟงกชั่น นี้อยูในโปรแกรมเสมอจะเห็นไดจากชื่อฟงกชั่นคือ main แปลวา “ หลัก ” ดังนั้นการเขียนโปรแกรม ภาษซีจึงขาดฟงกชั่นนี้ไปไมไดโดยขอบเขตของฟงกชั่นจะถูกกําหนดดวยเครื่องหมาย { และ } กลาวคือ การทํางานของฟงกชั่นจะเริ่มตนที่เครื่องหมาย { และจะสินสุดที่เครื่องหมาย } ฟงกชั่น main( ) สามารถ ้ เขียนในรูปแบบของ void main(void) ก็ไดมีความหมายเหมือนกัน คือ หมายความวา ฟงกชั่น main() จะ ไมมีอารกิวเมนต (argument) คือไมมีการรับคาใด ๆ เขามาประมวลผลภายในฟงกชั่นและจะไมมีการคืน คาใด ๆ กลับออกไปจากฟงกชั่นดวย 3. สวนรายละเอียดของโปรแกรม เปนสวนของการเขียนคําสั่ง เพื่อใหโปรแกรมทํางานตามที่ไดออกแบบไว คอมเมนตในภาษาซี คอมเมนต(comment)คือสวนที่เปนหมายเหตุของโปรแกรมมีไวเพื่อใหผูเขียนโปรแกรมใส ขอความอธิบายกํากับลงไปใน source code ซึ่งคอมไพเลอรจะขามาการแปลผลในสวนที่เปนคอมเมนต นี้ คอมเมนตในภาษาซีมี2แบบคือ • คอมเมนตแบบบรรทัดเดียว ใชเครื่องหมาย // • คอมเมนตแบบหลายบรรทัด ใชเครื่องหมาย /* และ */
  • 4. 3.มีนานุชควรสืบคนตัวอยางโปรแกรมภาษาซีจากเว็บไซตใด และมีรายละเอียดของตัวอยาง โปรแกรมภาษาซีเปนอยางไร (1 คะแนน) ตอบ ปจจุบันโลกมีความกาวหนาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมากขึ้น ทําใหมีตัวเลือกในการ คนหาความรูที่หลากหลาย แลวแตวามีนานุชมีความตองการที่จะคนหาโปรแกรมภาษาซีแบบใด ใน https://sites.google.com/site/panussites/phasa-c-1 ที่มีการจัดระเบียบโปรแกรมภาษาซีเกี่ยวกับการ คํานวณแบบตางๆไว เชน ตัวอยางโปรแกรมเปลี่ยนเลขฐาน 16 ดังนี้ #include<stdio.h>----------------------------------------------------เปนสวนหัวของโปรแกรม #include<conio.h>---------------------------------------------------เปนสวนหัวของโปรแกรม main()-----------------------------------------------------จุดเริ่มตนการทํางานของโปรแกรม {-----------------------------------------------------------จุดเริ่มตนขอบเขตของการทํางาน int x1,x2,x3,sum;-----------------------------------------ประกาศตัวแปร printf("Enter X1 = : ");----------------------------------แสดงขอความรับคาตัวแปรที่1 scanf("%d",&x1);----------------------------------------รับคาตัวแปรที่1 printf("Enter X2 = : ");----------------------------------แสดงขอความรับคาตัวแปรที่2 scanf("%d",&x2);----------------------------------------รับคาตัวแปรที่2 printf("Enter X3 = : ");----------------------------------แสดงขอความรับคาตัวแปรที่3 scanf("%d",&x3);----------------------------------------รับคาตัวแปรที่3 sum=x1+x2+x3;------------------------------------------ประมวลผล mean=sum/3;---------------------------------------------ประมวลผล printf("Mean = %d ",mean);----------------------------แสดงผลลัพธ getch();----------------------------------------------------ตัวแสดงโปรแกรม }---------------------------------------------------------------จุดสิ้นสุดขอบเขตของการทํางาน
  • 5. 4.เรียนชวยอธิบายโปรแกรมทีละบรรทัดดวยวา โปรแกรมที่สืบคนมานั้นเปนสวนประกอบใด ของโครงสรางภาษาซี โดยใชคอมเมนต(Comment) ในการเขียนคําอธิบาย (2 คะแนน)  #include<stdio.h> /* #include<conio.h> เปนสวนหัวของโปรแกรม*/ main() //สวนฟงกชันหลัก { /*เริ่มตนโปรแกรมดวยเครื่องหมายปกกาเปด int x1,x2,x3,sum;  /* printf("Enter X1 = : "); scanf("%d",&x1); printf("Enter X2 = : "); scanf("%d",&x2); printf("Enter X3 = : "); scanf("%d",&x3); sum=x1+x2+x3; mean=sum/3; printf("Mean = %d ",mean); getch(); รายละเอียดของโปรแกรม */ } จบการเขียนโปรแกรมดวยเครื่องหมายปกกาปด*/ เกณฑการใหคะแนน คะแนนรวมไดระหวาง 5 คะแนน หมายถึง ดีมาก คะแนนรวมไดระหวาง 3-4 คะแนน หมายถึง ดี คะแนนรวมไดระหวาง 1-2 คะแนน หมายถึง ปานกลาง คะแนนรวมไดระหวาง 0 คะแนน หมายถึง ควรปรับปรุง