SlideShare a Scribd company logo
ขับเคลื่อนองค์กรอย่างมีพลังด้วย OKR
OKR ย่อมาจาก Objectives & Key Results เป็นเครื่องมือขับเคลื่อนองค์กรไปสู่เป้าหมายที่
ผู้เขียนได ้เริ่มประยุกต์ใช ้มาระยะหนึ่ง และพบว่าเป็นแนวคิด และเครื่องมือที่ทรงพลัง สร ้าง
อารมณ์ร่วมกับองค์กรได ้ดีมาก ๆ เมื่อเปรียบเทียบกับในอดีตที่ผู้เขียนเคยใช ้KPI (Key
Performance Indicators) และ BSC (Balanced Scorecards)
เคยเป็นปัญหามั้ยครับกับ KPI ขององค์กรและของพนักงานที่ยาวยุบยับ พนักงานเองรู้สึกเหมือน
เป็นภาระที่จะต ้องมานั่งกรอกแบบฟอร์ม ตัว KPI ขององค์กรบ่อยครั้งก็ตั้งสูงจนไม่สามารถทําให ้
สําเร็จได ้ พอผ่านไปซักครึ่งปีก็ท ้อรู้สึกว่าเป็นไปไม่ได ้หรือบางกรณีก็เป็นพนักงานเองที่ใช ้
ลูกเล่นตั้ง KPI ให ้มันง่ายจนได ้เต็มแทบทุกข ้อเพื่อหวัง bonus และการขึ้นเงินเดือนเยอะ ๆ
ถ ้าคุณเคยเจอปัญหาเหล่านี้ ผมแนะนําให ้ศึกษาเรื่อง OKR ดูครับ
แนวคิด OKR นั้นมีมาประมาณเกือบ 50 ปีแล ้วโดยต ้นตํารับมาจากการใช ้งานในบริษัท Intel แต่
เป็นที่รู้จักกว ้างขวางมากขึ้นในวันที่ Google ใช ้เจ ้าเครื่องมือนี้เป็นตัวหลักสําหรับตั้งเป้าหมาย
และขับเคลื่อนองค์กร นอกจากนั้นผู้เขียนยังพบว่าแนวคิด OKR สามารถนําไปใช ้ตั้งเป้าหมายใน
การพัฒนาตัวเองได ้อีกด ้วย ไปรู้จัก OKR กันเลย…
แนวคิด OKR
แนวคิดของ OKR สามารถใช ้เป็นแนวคิดเพื่อขับเคลื่อนตัวเอง ทีมงาน และองค์กร ช่วยให ้เกิด
การจัดลําดับความสําคัญที่มีประสิทธิภาพ และช่วยให ้ทีมงานทุกคนมุ่งสู่เป้าหมายเดียวกัน OKR
ประกอบไปด ้วย 2 ส่วนที่เรียบง่าย คือ
1. Objectives คือเป้าหมาย ซึ่งควรเป็นเป้าหมายหลักขององค์กร ทีม หรือเป้าหมาย
ส่วนตัวของตัวเราเอง อยู่ที่เราจะประยุกต์ใช ้แนวคิดนี้ และควรเป็นอะไรที่ตั้งไว ้สูง เป็น
ambition ที่เราอยากจะทําให ้สําเร็จ เป็นภาพใหญ่ขององค์กรที่ต ้องการจะเดินไป
2. Key Results คือผลลัพธ์ของเป้าหมายที่เราตั้งขึ้น ซึ่งควรจะต ้องวัดได ้อย่างชัดเจน และ
ควรมีการวัดผลอย่างน้อยไตรมาสละครั้ง ไม่ว่าจะทําการสิ่งใดหากเรามีตัวชี้วัดที่ดีแล ้ว ก็
เท่ากับมีชัยไปกว่าครึ่งแล ้วล่ะครับ
ที่มา Perdoo.com
Objectives ในการใช ้ระบบ OKR คือเป้าหมายขององค์กร ว่าเราต ้องการองค์กรไปอยู่ที่จุดไหน
(Where) ขณะที่ Key Results ในที่นี้แท ้จริงแล ้วคือ เราจะทําอะไร และทําอย่างไร (How)
เพื่อให ้องค์กรไปถึงจุดหมายที่เราตั้งเป้าไว ้
ประเด็นนี้จัดเป็นหัวใจหลักของ OKR เลยครับ Objectives = Where ขณะที่ Key Results =
How ถ ้าตั้งสองตัวนี้ได ้ถูกหลักไม่ว่าจะเป็น OKR ขององค์กร ของทีม หรือของส่วนบุคคล
รับรองว่าเกิดผลในเชิงบวกอย่างมหาศาล
สิ่งสําคัญคือ OKR นั้นไม่ใช่ KPI ไม่ควรนํามาใช ้ประเมินผลงานของพนักงานแต่ละคนโดยตรง
แต่มันควรจะฝังเข ้าเป็นหนึ่งใน culture ขององค์กร เป็น DNA ของทุกคนในองค์กร เป็น
เป้าหมายที่ทุกคนในองค์กรมีร่วมกัน
หลักสําคัญที่สุดของ OKR อยู่ที่การตั้ง Objectives คือเป้าหมายขององค์กร คือปัญหาของ
ลูกค ้าที่เราอยากจะแก ◌ ้คือวิสัยทัศน์ขององค์กรว่าเราอย่ากเป็นอะไร (What) ขณะที่ Key
Results คือเราต ้องทําอะไร อย่างไรเพื่อให ้เป้าหมายเราสําเร็จ (How) ส่วนเรื่องรายได ้ กําไร
ยอดผู้ใช ้ไม่ควรเอามาตั้งใน OKR แต่มันคือผลพลอยได ้จากการที่เราทํา OKR ได ้สําเร็จ
ประสบการณ์จริงจากการทดลองใช้
การตั้ง Objectives ที่ดี ไม่ควรเป็นการตั้งเป้าหมายที่ ยอดขาย หรือกําไร แต่ควรเป็นเป้าหมาย
ใหญ่ที่สะท ้อนวิสัยทัศน์ขององค์กรว่าเราต ้องการจะสําเร็จในเรื่องอะไร
เช่น กรณีของ FINNOMENA ที่เป็น FinTech Startup ด ้าน Wealth Management การ
ตั้งเป้าหมายไม่ควรเป็น ขนาดสินทรัพย์ หรือรายได ้แต่ควรเป็นสิ่งที่ FINNOMENA อยากทําให ้
สําเร็จต่อนักลงทุนคนไทย ดังนี้
1. เป็นแหล่งข ้อมูลด ้านการลงทุนในใจคนไทย เมื่อคิดถึงการลงทุน อยากมีความรู้เรื่องลงทุน
อยากได ้ข ้อมูลประกอบการตัดสินใจลงทุนที่ดี และเชื่อถือได ้
2. การสร ้าง Platform การลงทุนในหุ้น และกองทุนรวมที่สะดวก ปลอดภัยและก ้าวลํ้าทาง
เทคโนโลยี ให ้คําแนะนําการลงทุนที่มีคุณภาพสูงต่อคนไทยในวงกว ้าง โดยตั้งอยู่บนประโยชน์
สูงสุดต่อนักลงทุน
ถ ้าเราไปตั้ง OKR เป็นตัวเลขในเชิงธุรกิจมากเกินไป เช่นรายได ้ ขนาดสินทรัพย์ กําไร จะส่งผล
ให ้ทั้งองค์กรมุ่งไปที่เป้าหมายในเชิงตัวเลขจนบางครั้งทําให ้หลุด focus จากเป้าหมายใหญ่ที่
แท ้จริงที่องค์กรต ้องการ อีกทั้งยังทําให ้เกิดความกดดัน ความเครียดไม่ใช่น้อย ในยามที่ตัวเลข
ไปไม่ถึงเป้าหมาย (อย่างที่บอกตอนตอนว่า OKR ถ ้าใช ้ให ้เป็นนั้นทรงพลัง และเกิดอารมณ์ร่วม
สูงมาก แต่ถ ้าตั้งตัว Objectives ไม่เหมาะสมก็ทําให ้Burnout กันได ้ง่าย ๆ เช่นกัน)
การตั้ง Objectives ที่ดีจึงเป็นกุญแจสําคัญมาก และจะส่งผลต่อทุกกิจกรรมที่เกิดขึ้นในองค์กร
ของเรา ถ ้าเราตั้งเป้าหมายเป็นรายได ้ทั้งองค์กรก็จะทุ่มทรัพยากรไปที่การสร ้างรายได ้ Key
Results ก็จะออกมาในรูปกิจกรรมการตลาด กิจกรรมการขาย การพัฒนาฟังก์ชั้นให ้ตอบรับกับ
การสร ้างรายได ้
แต่หากเราตั้งเป้าหมายเป็นการส่งมอบ “คุณค่า (Value)” ให ้กับลูกค ้า ทั้งองค์กรก็จะผลักดัน
ตัวเองไปในการสร ้างคุณค่าให ้เกิดขึ้นจริง Key Results ขององค์กรก็จะเป็นการสร ้างระบบงาน
สร ้าง Platform สร ้างกิจกรรมทางการตลาดและการขายที่เราเชื่อว่าสร ้างคุณค่าให ้กับลูกค ้า ซึ่ง
หากทําได ้สําเร็จ สุดท ้าย รายได ้หรือขนาดธุรกิจที่เติบโตขึ้นก็จะเป็นสิ่งที่ตามมาเอง
OKR ของชีวิต
นอกจากนี้แนวคิด OKR ยังสามารถนําไปใช ้สําหรับการพัฒนาตนเอง และการตั้งเป้าหมายให ้กับ
ชีวิตของตัวเองได ้เป็นอย่างดี ถึงจุดนี้แล ้วอยากให ้ผู้อ่านได ้ลองเขียน Objectives & Key
Results ของตัวเองกันดูครับ มีกรณีศึกษาดี ๆ มากมายที่การตั้ง OKR ให ้กับชีวิตแล ้วทําให ้เกิด
ความเปลี่ยนแปลงในทางที่ดี ลองค ้นหาใน medium.com และค ้นหาคําว่า “personal okr” กัน
ดูได ้เลย
ทั้งหมดก็เป็นเรื่องของ OKR ที่เป็นทั้งแนวคิด และเป็นเครื่องมือที่สามารถนําไปใช ้ได ้จริงทั้งการ
บริหารองค์กร และการบริหารชีวิตตัวเองที่นํามาฝากกันในวันนี้ สวัสดีครับ
 
 
 
 
 
 
 
สรุปความรู้ เครื่องมือบริหารเป้ าหมายแบบ
OKR (Objective & Key Result) จาก
Ex- Googler
เมื่อวันเสาร์ที่ผ่านมาได ้มีโอกาสไป Sit in ฟังสัมมนา ร่วมกับทีม Shippop ในงาน AIS Startup
ในเรื่องของการวางเป้าหมาย และ การควบคุมการทํางานด ้วยวิธี OKR โดยวิทยากรคือ คุณอ ้อ
พรทิพย์ กองชุน, COO และ Co-founder, Jitta และอดีตหัวหน้าฝ่ ายการตลาดของ Google
ประจําประเทศไทย
 
เจอ Quote นี้ที่ AIS DC ชอบมาก :) 
OKR คืออะไร 
OKR ย่อมาจาก Objective & Key result คือวิธีการตั้งเป้าหมายให ้แต่ละคน โดยเป้าหมายของ
ทุกๆคนสอดคล ้องกันทั้งองค์กร
ลองดูตัวอย่างการทํา OKR
Objective :: เป็นที่ 1 ของ App ประเภทแผนที่ใน iOS
Key Result 1::สํารวจ 10 ฟีเจอร์ที่ลูกค ้าต ้องการสําหรับ App ประเภทแผนที่
Key Result 2 :: เปิดตัว 5 ฟีเจอร์ที่ลูกค ้าต ้องการมากที่สุดภายใน วันที่ 30 ธันวาคม
Key Result 3 :: ทดลองใช ้กับผู้ใช ้10 คน และ สรุปประเด็นปัญหาด ้าน UX
Key Result 4 :: ปรับปรุงความพึงพอใจด ้าน UX ให ้เพิ่มขึ้น 50% จากผลสํารวจของผู้ใช ้App
ในมุมมองเราการตั้งเป้าหมายแบบ OKR คือ การแตก Action ที่เราต ้องทําเพื่อให ้บรรลุ
เป้าหมายนั้นอย่างชัดเจน
ซึ่งการตั้ง Objective ที่ดี ต ้องมีคุณสมบัติ 3 ข ้อ
- Actionable Goal ที่ทีม หรือระดับบุคคลสามารถทําได ้จริง
- Challenging อาจดูย ้อนแย ้งกับข ้อที่แล ้ว แต่การตั้งเป้าหมายต ้องท ้าทาย มีจุด Sweet Spot
คืออัตราความสําเร็จอยู่ที่ 70–80% (ถ ้าบรรลุ 100% แปลว่าเราตั้งเป้าหมายง่ายไป…ถือว่าผิด!)
สําหรับ Key Result ที่ดีต ้องมีคุณสมบัติดังนี ◌ ้(หลักการคล ้ายๆ SMART Goal)
- Measurable :: ต ้องวัดผลได ้อยู่ที่ 0–100%
- Achievable :: สามารถทําได ้ (ไม่ตั้งเป้าเวอร์จนเกินตัว)
- Relevant :: มีความสอดคล ้องกับ Objective ที่เราตั้งไว ้
- Time-bound :: มีกรอบเวลาที่ชัดเจนสําหรับ OKR จะสิ้นสุดทุกๆ Quarter (3 เดือน)
คุณอ ้อแนะนําว่าช่วงเวลาที่เราเรียนในเดือนกันยาค่อนข ้างเหมาะที่จะตั้งเป้าสําหรับ Q4 (OKR
ควรเสร็จก่อนเวลาจริง)
ทําไมต้องใช้OKRs? มันดียังไงกันนะ 
1. One Direction ::ทุกคนทํางานเพื่อจุดมุ่งหมายเดียวกัน 
2. สร้างวินัย และ การ Focus งาน (ทําทีละงาน และทบทวนอย่างสมํ่าเสมอ) 
3. ช่วยสร้างกระบวนการทํางานที่ชัดเจนและวัดผลได้ 
4. ทุกคนรู้งานที่สําคัญที่สุด ( Top Priority ) ขององค์กร ทีม และ ทุกคนในองค์กร 
5. สร้างความโปร่งใสของงานภายในบริษัท 
กว่าจะมาเป็น OKR ขององค์กร 
 
Image Source :: https://www.youtube.com/watch?v=LkBmR_eTDvQ 
การตั้ง OKR ไม่ได ้คิดมาลอยๆตามเนื้องานที่เราทํา แต่ทุกๆ Objective จะถูกร ้อยเรียงมาจาก
Mission, Vision ขององค์กร และแตกออกมาเป็นเป้าหมายในแต่ละปี จากนั้นจึงมากําหนดเป็น
เป้าหมายรายไตรมาส (Quarterly Objective)และจึงแตกออกมาเป็น Key Result ของแต่ละ
เป้าหมาย ซึ่งหลังจากกําหนด Key Result จึงไปแตกออกมาเป็น Action Plan ในแต่ละวัน
การกําหนด OKR ในแต่ละ Level ขององค์กร 
 
Image Source :: https://cdn‐images‐1.medium.com/max/544/1*NcqDRER6K5sd61w3JmEEiA.png 
หลังจากเราวาง OKR ขององค์แล ้ว เราก็ต ้อง Breakdown มาในระดับ แผนก ทีม และ บุคคล
เราลองมาดูตัวอย่างของการวางเป้าหมายตั้งแต่ระดับองค์กรไปสู่ระดับบุคคล
 
เราลองยกตัวอย่างเช่น ทีมฟุตบอล ::
Football GM วางเป้าหมาย โดยมีสร ้างเงินให ้เจ ้าของทีมฟุตบอล
โดยมี Key Result คือ
1. ทําให ้ทีมชนะในการแข่งรายการ Super Bowl
2. ทําให ้คนดูมาเชียร์บนแสตนด์ 88%
จากนั้น Level ต่อไปคือ Head Coach และ PR ก็จะเอา Key Result ของ Football GM มาเป็น
Objective ของตัวเอง
และจากนั้น เราก็มาแตก Key Result ด ้านต่างๆของ Head Coach มาให ้กับผู้เล่นแต่ละตําแหน่ง
ในทีม
OKR Guildeline 
 
1. OKR ใช้วิธีการเดียวกับ Agile คือ เน้นการรีวิวภายใต้ระยะเวลาสั้นๆ เช่น ทุกสัปดาห์ ทุกเดือน 
2. ต้องท้าทาย แต่ทําได้  
ระดับความสําเร็จที่เหมาะสมคือ 70–80% 
3. พยายามทําเพียง 3 เป้าหมายในแต่ละไตรมาส (คุณอ้อแนะนําว่า Startup เพิ่มข้อได้แต่ไม่ควรเกิน 5) 
4. อย่างน้อย 50%ของ OKR ควรมาจากพนักงานเสนอขึ้นไปยังผู้บริหาร (Bottom up) โดยผ่านการระดม
ความคิด และตอบรับจากระดับผู้จัดการ 
5. ทุกคนเข้าใจเนื้องานของคนอื่นมากขึ้น สร้างความโปร่งใสในการบริหารงานในองค์กร 
6. เชื่อมโยงการทํางานระหว่างกัน สร้างบรรยากาศการร่วมมือร่วมใจกันระหว่างฝ่าย 
OKR Tools 
เครื่องมือในการทํา OKR
1. Spreadsheet :: Google sheet,Microsoft Excel ที่ (Jitta ใช ้Excel)
2. Document :: Google Doc, Microsoft Word
3. OKR’s Software เช่น Weekdone
OKR Best Practice 
 
1. Less is more 
อัตราส่วนของ Objective ที่แต่ละคนควรถือ คือ 70:20:10 (Case Study จาก Jitta) 
70 % On the Job สําหรับทําหน้าที่หลัก :: ประมาณ 3 Objectives  
20% Support other ทํางานที่ช่วยคนอื่น :: ประมาณ2 Objectives 
10% Improve yourself พัฒนาตนเองเพื่อให้ทํางานได้ดีขึ้น เช่น การเรียนรู้เพิ่มเติม ไปอบรมสัมมนา เป็นต้น
(คนมักละเลยในส่วนนี้) 
 
2. Hierarchy of OKRs :
อย่างที่กล่าวไปข ้างต ้น OKR ที่ดี ควรสอดคล ้องกันทั้งองค์กร และ แต่ละทีมโดย 50%
 
3. Be flexible :: OKR ยืดหยุ่นได ้เมื่อบริษัทเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงทั้งภายในและ
ภายนอก เราสามารถปรับ OKR ได ้ด ้วยเหตุมผลที่เหมาะสม
 ตั้งเป้าหมาย OKRs ราย Quarter (ไม่ควรตั้งล่วงหน้า เพราะสถานการณ์เปลี่ยนแปลงตลอด 
 อัพเดทสถานะ และ ประเมินแต่ละ OKR เป็นประจํา (รายอาทิตย์ รายเดือน) 
 เมื่อแต่ละเป้าหมาย complete 70–80% ถือว่าทําได้ดีแล้ว 
 
4. Key result ไม่ใช่รายการสิ่งที่ต ้องทํา ต ้องเขียนในมุมผลลัพธ์ ไม่ใช่กิจกรรม
ตัวอย่าง KRs ที่ไม่ดี
- ดําเนินการตามแผนพัฒนา Product
- สนับสนุนทีมขาย
- มั่นใจว่าพนักงานมีความสุข
- สร ้าง Application สําหรับการชําระเงิน
จะเห็นได ้ว่าตัวอย่างที่ไม่ดี คือเขียนภาพกว ้าง ไม่มีหน่วยวัดที่ชัดเจน
OKR Grading 
 
หลักการในการประเมิน OKR ::
1. ประเมินเฉพาะ Key Result
2. Grade ของ Objective มาจากค่าเฉลี่ยของKey Result แต่ละตัว
3. การประเมิน Grade ของ Objective ใช ้เพื่อการเรียนรู้
4. ให ้คะแนนอยู่ในช่วง 0–1 :: 70% คือ 0.7 จุดที่เหมาะสมคือ 0.7–0.8 มากกว่านี้หมายถึงว่า
เราตั้งเป้าไม่ Challenge พอ
5. ให ้คะแนน OKR เมื่อต ้น Quarter ถัดไป
ตัวอย่างการให้คะแนน OKR
 
Image Source :: BetterWorks on Slideshare 
OKR Getstart :: เริ่มต้นการทํา OKR ในองค์กร 
สําหรับใครที่อยากลอง เริ่มตั้ง OKR ในปีหน้า รูปภาพนี้เป็น Timeline ที่ดีในการปรับใช ้OKR
ในองค์กร
 
image source :: Lattice 
เริ่มจากเดือน พฤศจิการยน
1. ระดมสมองหา Objective ขององค์กร 
2. กําหนด OKR ขององค์กร 
เดือนธันวาคม
1. ประสานงานกับแต่ละแผนก เพื่อร่าง Objective ของแผนก 
2. อธิบาย OKR เพื่อปรับใช้ทั้งบริษัท 
3. Manager ทํางานกับพนักงานอย่างใกล้ชิดเพื่อร่าง OKR แบบ 1:1 
เดือนมกราคม
1.เสนอ และ กําหนด OKR แก่ทุกคนในองค์กร
จากนั้น Manager ทํางานร่วมกับ พนักงานแต่ละคน โดยอาจจะมีการเรียกรีวิวรายสัปดาห์หรือ
รายเดือน
OKR Process timeline 
 
การวางแผนทํา OKR ช่วงเวลาที่ดีคือเดือนสุดท ้ายของแต่ละ Quarter ซึ่งช่วงเดือนกันยายนถือ
เป็นช่วงเวลาที่เหมาะสมในการทํา OKR สําหรับ Quarter 4 พอดี
ซึ่งหลังจากการปรับใช ้OKR แล ้วก็ควรมีการ Review กันระหว่าง Manager และผู้ทํางาน
โดยตรงแบบ 1:1 (สามารถใช ้เป็นรายสัปดาห์ หรือรายเดือนก็ได ้)
และสําหรับการให ้ Grade OKR ของแต่ละ Quarter ให ้ทําในช่วงเดือนแรกของแต่ละ Quarter
บทความหน้า จะมาเขียนเรื่องการปรับใช ้OKR กับการประเมินผลพนักงานในองค์กร ว่าเราจะ
สามารถนํา OKR ไปใช ้ในการประเมินผลงานปลายปี รวมถึงการปรับเงินเดือน และ ปรับตําแหน่ง
ได ้อย่างไร แล ้วพบกันใหม่บทความหน้าค่ะ :)
 

More Related Content

What's hot

Power point คุณธรรมจริยธรรมของนักการเงิน
Power point คุณธรรมจริยธรรมของนักการเงินPower point คุณธรรมจริยธรรมของนักการเงิน
Power point คุณธรรมจริยธรรมของนักการเงิน
อุบลวรรณ ขุนทอง
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
Pa'rig Prig
 
การชั้งการตวง
การชั้งการตวงการชั้งการตวง
การชั้งการตวงOopip' Orranicha
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยKruthai Kidsdee
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1Sivagon Soontong
 
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
krupeem
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อ
wisheskerdsilp
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
Nattarikamiew
 
4.แนวข้อสอบ o net สังคม(ม.3)
4.แนวข้อสอบ o net สังคม(ม.3)4.แนวข้อสอบ o net สังคม(ม.3)
4.แนวข้อสอบ o net สังคม(ม.3)teerachon
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3teerachon
 
มาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กดมาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กดKroo R WaraSri
 
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : สมองกับการเรียนรู้
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : สมองกับการเรียนรู้ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : สมองกับการเรียนรู้
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : สมองกับการเรียนรู้
Padvee Academy
 
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดีเอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
SophinyaDara
 
ความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมpajaree_musikapong
 
แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]kvlovelove
 
แกะสลักเทียน
แกะสลักเทียนแกะสลักเทียน
แกะสลักเทียน
kingkaew049
 
โครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะโครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะ
Pang Pond
 
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 ok
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 okรายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 ok
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 okDhanee Chant
 

What's hot (20)

Power point คุณธรรมจริยธรรมของนักการเงิน
Power point คุณธรรมจริยธรรมของนักการเงินPower point คุณธรรมจริยธรรมของนักการเงิน
Power point คุณธรรมจริยธรรมของนักการเงิน
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
การชั้งการตวง
การชั้งการตวงการชั้งการตวง
การชั้งการตวง
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัย
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
 
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อ
 
โดนัทPresent project
โดนัทPresent projectโดนัทPresent project
โดนัทPresent project
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 
4.แนวข้อสอบ o net สังคม(ม.3)
4.แนวข้อสอบ o net สังคม(ม.3)4.แนวข้อสอบ o net สังคม(ม.3)
4.แนวข้อสอบ o net สังคม(ม.3)
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
 
มาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กดมาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กด
 
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
 
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : สมองกับการเรียนรู้
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : สมองกับการเรียนรู้ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : สมองกับการเรียนรู้
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : สมองกับการเรียนรู้
 
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดีเอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
 
ความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคม
 
แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]
 
แกะสลักเทียน
แกะสลักเทียนแกะสลักเทียน
แกะสลักเทียน
 
โครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะโครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะ
 
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 ok
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 okรายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 ok
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 ok
 

Similar to Ok rs

OKR ยาแก้ KPI? OKR vs KPI
OKR ยาแก้ KPI? OKR vs KPI OKR ยาแก้ KPI? OKR vs KPI
OKR ยาแก้ KPI? OKR vs KPI
maruay songtanin
 
Vejthani HR : End User Guildline (PMS) 3
Vejthani HR : End User Guildline (PMS) 3Vejthani HR : End User Guildline (PMS) 3
Vejthani HR : End User Guildline (PMS) 3
porche123
 
Vejthani HR : KPI (Key Performance Indicator) (Book)
Vejthani HR : KPI (Key Performance Indicator) (Book)Vejthani HR : KPI (Key Performance Indicator) (Book)
Vejthani HR : KPI (Key Performance Indicator) (Book)porche123
 
Implementation_Methodology by Alex 2023 แปลโดย ธนเดช รันดิลก ณ ภูเก็ต.pdf
Implementation_Methodology by Alex 2023 แปลโดย ธนเดช รันดิลก ณ ภูเก็ต.pdfImplementation_Methodology by Alex 2023 แปลโดย ธนเดช รันดิลก ณ ภูเก็ต.pdf
Implementation_Methodology by Alex 2023 แปลโดย ธนเดช รันดิลก ณ ภูเก็ต.pdf
ธนเดช รัตนดิลก ณ ภูเก็ต
 
Business Plan Guideline_Supavadee 17012023.pdf
Business Plan Guideline_Supavadee 17012023.pdfBusiness Plan Guideline_Supavadee 17012023.pdf
Business Plan Guideline_Supavadee 17012023.pdf
Supavadee(Noi) Tantiyanon
 
คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้
ไกรลาศ จิบจันทร์
 
06ลส2 วันที่1 (บ่าย)&2(เช้า)--smart planinig (ประทีป)
06ลส2 วันที่1 (บ่าย)&2(เช้า)--smart planinig (ประทีป)06ลส2 วันที่1 (บ่าย)&2(เช้า)--smart planinig (ประทีป)
06ลส2 วันที่1 (บ่าย)&2(เช้า)--smart planinig (ประทีป)hemmsu
 
สี่มิติในการบริหารองค์กร Performance leadership
สี่มิติในการบริหารองค์กร Performance leadership สี่มิติในการบริหารองค์กร Performance leadership
สี่มิติในการบริหารองค์กร Performance leadership
maruay songtanin
 
ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานที่สำคัญ KPI
ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานที่สำคัญ KPI  ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานที่สำคัญ KPI
ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานที่สำคัญ KPI
maruay songtanin
 
Ppt. service profile
Ppt. service profilePpt. service profile
Ppt. service profile
Prachaya Sriswang
 
KPI และ CSF - KPI and CSF
KPI และ CSF - KPI and CSFKPI และ CSF - KPI and CSF
KPI และ CSF - KPI and CSF
maruay songtanin
 
หลัการเขียนโครงการ
หลัการเขียนโครงการหลัการเขียนโครงการ
หลัการเขียนโครงการKaratz Mee
 
(Vision.mission,goal,strategy sales team)
(Vision.mission,goal,strategy sales team)(Vision.mission,goal,strategy sales team)
(Vision.mission,goal,strategy sales team)Nipat Supatkosit
 
ตัวชี้วัดความสำเร็จ KPI
ตัวชี้วัดความสำเร็จ KPI ตัวชี้วัดความสำเร็จ KPI
ตัวชี้วัดความสำเร็จ KPI
maruay songtanin
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3praphol
 
ข้อสอบปลายภาค(นายอดิเทพ ไชยสิทธิ์)
ข้อสอบปลายภาค(นายอดิเทพ  ไชยสิทธิ์)ข้อสอบปลายภาค(นายอดิเทพ  ไชยสิทธิ์)
ข้อสอบปลายภาค(นายอดิเทพ ไชยสิทธิ์)
Tum Aditap
 

Similar to Ok rs (20)

OKR ยาแก้ KPI? OKR vs KPI
OKR ยาแก้ KPI? OKR vs KPI OKR ยาแก้ KPI? OKR vs KPI
OKR ยาแก้ KPI? OKR vs KPI
 
Vejthani HR : End User Guildline (PMS) 3
Vejthani HR : End User Guildline (PMS) 3Vejthani HR : End User Guildline (PMS) 3
Vejthani HR : End User Guildline (PMS) 3
 
Vejthani HR : KPI (Key Performance Indicator) (Book)
Vejthani HR : KPI (Key Performance Indicator) (Book)Vejthani HR : KPI (Key Performance Indicator) (Book)
Vejthani HR : KPI (Key Performance Indicator) (Book)
 
Implementation_Methodology by Alex 2023 แปลโดย ธนเดช รันดิลก ณ ภูเก็ต.pdf
Implementation_Methodology by Alex 2023 แปลโดย ธนเดช รันดิลก ณ ภูเก็ต.pdfImplementation_Methodology by Alex 2023 แปลโดย ธนเดช รันดิลก ณ ภูเก็ต.pdf
Implementation_Methodology by Alex 2023 แปลโดย ธนเดช รันดิลก ณ ภูเก็ต.pdf
 
Business Plan Guideline_Supavadee 17012023.pdf
Business Plan Guideline_Supavadee 17012023.pdfBusiness Plan Guideline_Supavadee 17012023.pdf
Business Plan Guideline_Supavadee 17012023.pdf
 
คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้
 
06ลส2 วันที่1 (บ่าย)&2(เช้า)--smart planinig (ประทีป)
06ลส2 วันที่1 (บ่าย)&2(เช้า)--smart planinig (ประทีป)06ลส2 วันที่1 (บ่าย)&2(เช้า)--smart planinig (ประทีป)
06ลส2 วันที่1 (บ่าย)&2(เช้า)--smart planinig (ประทีป)
 
สี่มิติในการบริหารองค์กร Performance leadership
สี่มิติในการบริหารองค์กร Performance leadership สี่มิติในการบริหารองค์กร Performance leadership
สี่มิติในการบริหารองค์กร Performance leadership
 
ocjee
ocjeeocjee
ocjee
 
Developing Our Strategy In Thai
Developing Our Strategy In ThaiDeveloping Our Strategy In Thai
Developing Our Strategy In Thai
 
ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานที่สำคัญ KPI
ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานที่สำคัญ KPI  ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานที่สำคัญ KPI
ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานที่สำคัญ KPI
 
Ppt. service profile
Ppt. service profilePpt. service profile
Ppt. service profile
 
KPI และ CSF - KPI and CSF
KPI และ CSF - KPI and CSFKPI และ CSF - KPI and CSF
KPI และ CSF - KPI and CSF
 
หลัการเขียนโครงการ
หลัการเขียนโครงการหลัการเขียนโครงการ
หลัการเขียนโครงการ
 
(Vision.mission,goal,strategy sales team)
(Vision.mission,goal,strategy sales team)(Vision.mission,goal,strategy sales team)
(Vision.mission,goal,strategy sales team)
 
ตัวชี้วัดความสำเร็จ KPI
ตัวชี้วัดความสำเร็จ KPI ตัวชี้วัดความสำเร็จ KPI
ตัวชี้วัดความสำเร็จ KPI
 
14321
1432114321
14321
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
ข้อสอบปลายภาค(นายอดิเทพ ไชยสิทธิ์)
ข้อสอบปลายภาค(นายอดิเทพ  ไชยสิทธิ์)ข้อสอบปลายภาค(นายอดิเทพ  ไชยสิทธิ์)
ข้อสอบปลายภาค(นายอดิเทพ ไชยสิทธิ์)
 
แผนธุรกิจ
แผนธุรกิจแผนธุรกิจ
แผนธุรกิจ
 

Ok rs

  • 1. ขับเคลื่อนองค์กรอย่างมีพลังด้วย OKR OKR ย่อมาจาก Objectives & Key Results เป็นเครื่องมือขับเคลื่อนองค์กรไปสู่เป้าหมายที่ ผู้เขียนได ้เริ่มประยุกต์ใช ้มาระยะหนึ่ง และพบว่าเป็นแนวคิด และเครื่องมือที่ทรงพลัง สร ้าง อารมณ์ร่วมกับองค์กรได ้ดีมาก ๆ เมื่อเปรียบเทียบกับในอดีตที่ผู้เขียนเคยใช ้KPI (Key Performance Indicators) และ BSC (Balanced Scorecards) เคยเป็นปัญหามั้ยครับกับ KPI ขององค์กรและของพนักงานที่ยาวยุบยับ พนักงานเองรู้สึกเหมือน เป็นภาระที่จะต ้องมานั่งกรอกแบบฟอร์ม ตัว KPI ขององค์กรบ่อยครั้งก็ตั้งสูงจนไม่สามารถทําให ้ สําเร็จได ้ พอผ่านไปซักครึ่งปีก็ท ้อรู้สึกว่าเป็นไปไม่ได ้หรือบางกรณีก็เป็นพนักงานเองที่ใช ้ ลูกเล่นตั้ง KPI ให ้มันง่ายจนได ้เต็มแทบทุกข ้อเพื่อหวัง bonus และการขึ้นเงินเดือนเยอะ ๆ ถ ้าคุณเคยเจอปัญหาเหล่านี้ ผมแนะนําให ้ศึกษาเรื่อง OKR ดูครับ แนวคิด OKR นั้นมีมาประมาณเกือบ 50 ปีแล ้วโดยต ้นตํารับมาจากการใช ้งานในบริษัท Intel แต่ เป็นที่รู้จักกว ้างขวางมากขึ้นในวันที่ Google ใช ้เจ ้าเครื่องมือนี้เป็นตัวหลักสําหรับตั้งเป้าหมาย และขับเคลื่อนองค์กร นอกจากนั้นผู้เขียนยังพบว่าแนวคิด OKR สามารถนําไปใช ้ตั้งเป้าหมายใน การพัฒนาตัวเองได ้อีกด ้วย ไปรู้จัก OKR กันเลย… แนวคิด OKR แนวคิดของ OKR สามารถใช ้เป็นแนวคิดเพื่อขับเคลื่อนตัวเอง ทีมงาน และองค์กร ช่วยให ้เกิด การจัดลําดับความสําคัญที่มีประสิทธิภาพ และช่วยให ้ทีมงานทุกคนมุ่งสู่เป้าหมายเดียวกัน OKR ประกอบไปด ้วย 2 ส่วนที่เรียบง่าย คือ
  • 2. 1. Objectives คือเป้าหมาย ซึ่งควรเป็นเป้าหมายหลักขององค์กร ทีม หรือเป้าหมาย ส่วนตัวของตัวเราเอง อยู่ที่เราจะประยุกต์ใช ้แนวคิดนี้ และควรเป็นอะไรที่ตั้งไว ้สูง เป็น ambition ที่เราอยากจะทําให ้สําเร็จ เป็นภาพใหญ่ขององค์กรที่ต ้องการจะเดินไป 2. Key Results คือผลลัพธ์ของเป้าหมายที่เราตั้งขึ้น ซึ่งควรจะต ้องวัดได ้อย่างชัดเจน และ ควรมีการวัดผลอย่างน้อยไตรมาสละครั้ง ไม่ว่าจะทําการสิ่งใดหากเรามีตัวชี้วัดที่ดีแล ้ว ก็ เท่ากับมีชัยไปกว่าครึ่งแล ้วล่ะครับ ที่มา Perdoo.com Objectives ในการใช ้ระบบ OKR คือเป้าหมายขององค์กร ว่าเราต ้องการองค์กรไปอยู่ที่จุดไหน (Where) ขณะที่ Key Results ในที่นี้แท ้จริงแล ้วคือ เราจะทําอะไร และทําอย่างไร (How) เพื่อให ้องค์กรไปถึงจุดหมายที่เราตั้งเป้าไว ้ ประเด็นนี้จัดเป็นหัวใจหลักของ OKR เลยครับ Objectives = Where ขณะที่ Key Results = How ถ ้าตั้งสองตัวนี้ได ้ถูกหลักไม่ว่าจะเป็น OKR ขององค์กร ของทีม หรือของส่วนบุคคล รับรองว่าเกิดผลในเชิงบวกอย่างมหาศาล สิ่งสําคัญคือ OKR นั้นไม่ใช่ KPI ไม่ควรนํามาใช ้ประเมินผลงานของพนักงานแต่ละคนโดยตรง แต่มันควรจะฝังเข ้าเป็นหนึ่งใน culture ขององค์กร เป็น DNA ของทุกคนในองค์กร เป็น เป้าหมายที่ทุกคนในองค์กรมีร่วมกัน
  • 3. หลักสําคัญที่สุดของ OKR อยู่ที่การตั้ง Objectives คือเป้าหมายขององค์กร คือปัญหาของ ลูกค ้าที่เราอยากจะแก ◌ ้คือวิสัยทัศน์ขององค์กรว่าเราอย่ากเป็นอะไร (What) ขณะที่ Key Results คือเราต ้องทําอะไร อย่างไรเพื่อให ้เป้าหมายเราสําเร็จ (How) ส่วนเรื่องรายได ้ กําไร ยอดผู้ใช ้ไม่ควรเอามาตั้งใน OKR แต่มันคือผลพลอยได ้จากการที่เราทํา OKR ได ้สําเร็จ ประสบการณ์จริงจากการทดลองใช้ การตั้ง Objectives ที่ดี ไม่ควรเป็นการตั้งเป้าหมายที่ ยอดขาย หรือกําไร แต่ควรเป็นเป้าหมาย ใหญ่ที่สะท ้อนวิสัยทัศน์ขององค์กรว่าเราต ้องการจะสําเร็จในเรื่องอะไร เช่น กรณีของ FINNOMENA ที่เป็น FinTech Startup ด ้าน Wealth Management การ ตั้งเป้าหมายไม่ควรเป็น ขนาดสินทรัพย์ หรือรายได ้แต่ควรเป็นสิ่งที่ FINNOMENA อยากทําให ้ สําเร็จต่อนักลงทุนคนไทย ดังนี้ 1. เป็นแหล่งข ้อมูลด ้านการลงทุนในใจคนไทย เมื่อคิดถึงการลงทุน อยากมีความรู้เรื่องลงทุน อยากได ้ข ้อมูลประกอบการตัดสินใจลงทุนที่ดี และเชื่อถือได ้ 2. การสร ้าง Platform การลงทุนในหุ้น และกองทุนรวมที่สะดวก ปลอดภัยและก ้าวลํ้าทาง เทคโนโลยี ให ้คําแนะนําการลงทุนที่มีคุณภาพสูงต่อคนไทยในวงกว ้าง โดยตั้งอยู่บนประโยชน์ สูงสุดต่อนักลงทุน ถ ้าเราไปตั้ง OKR เป็นตัวเลขในเชิงธุรกิจมากเกินไป เช่นรายได ้ ขนาดสินทรัพย์ กําไร จะส่งผล ให ้ทั้งองค์กรมุ่งไปที่เป้าหมายในเชิงตัวเลขจนบางครั้งทําให ้หลุด focus จากเป้าหมายใหญ่ที่ แท ้จริงที่องค์กรต ้องการ อีกทั้งยังทําให ้เกิดความกดดัน ความเครียดไม่ใช่น้อย ในยามที่ตัวเลข ไปไม่ถึงเป้าหมาย (อย่างที่บอกตอนตอนว่า OKR ถ ้าใช ้ให ้เป็นนั้นทรงพลัง และเกิดอารมณ์ร่วม สูงมาก แต่ถ ้าตั้งตัว Objectives ไม่เหมาะสมก็ทําให ้Burnout กันได ้ง่าย ๆ เช่นกัน) การตั้ง Objectives ที่ดีจึงเป็นกุญแจสําคัญมาก และจะส่งผลต่อทุกกิจกรรมที่เกิดขึ้นในองค์กร ของเรา ถ ้าเราตั้งเป้าหมายเป็นรายได ้ทั้งองค์กรก็จะทุ่มทรัพยากรไปที่การสร ้างรายได ้ Key Results ก็จะออกมาในรูปกิจกรรมการตลาด กิจกรรมการขาย การพัฒนาฟังก์ชั้นให ้ตอบรับกับ การสร ้างรายได ้ แต่หากเราตั้งเป้าหมายเป็นการส่งมอบ “คุณค่า (Value)” ให ้กับลูกค ้า ทั้งองค์กรก็จะผลักดัน ตัวเองไปในการสร ้างคุณค่าให ้เกิดขึ้นจริง Key Results ขององค์กรก็จะเป็นการสร ้างระบบงาน สร ้าง Platform สร ้างกิจกรรมทางการตลาดและการขายที่เราเชื่อว่าสร ้างคุณค่าให ้กับลูกค ้า ซึ่ง หากทําได ้สําเร็จ สุดท ้าย รายได ้หรือขนาดธุรกิจที่เติบโตขึ้นก็จะเป็นสิ่งที่ตามมาเอง OKR ของชีวิต นอกจากนี้แนวคิด OKR ยังสามารถนําไปใช ้สําหรับการพัฒนาตนเอง และการตั้งเป้าหมายให ้กับ ชีวิตของตัวเองได ้เป็นอย่างดี ถึงจุดนี้แล ้วอยากให ้ผู้อ่านได ้ลองเขียน Objectives & Key Results ของตัวเองกันดูครับ มีกรณีศึกษาดี ๆ มากมายที่การตั้ง OKR ให ้กับชีวิตแล ้วทําให ้เกิด ความเปลี่ยนแปลงในทางที่ดี ลองค ้นหาใน medium.com และค ้นหาคําว่า “personal okr” กัน ดูได ้เลย ทั้งหมดก็เป็นเรื่องของ OKR ที่เป็นทั้งแนวคิด และเป็นเครื่องมือที่สามารถนําไปใช ้ได ้จริงทั้งการ บริหารองค์กร และการบริหารชีวิตตัวเองที่นํามาฝากกันในวันนี้ สวัสดีครับ  
  • 4.             สรุปความรู้ เครื่องมือบริหารเป้ าหมายแบบ OKR (Objective & Key Result) จาก Ex- Googler เมื่อวันเสาร์ที่ผ่านมาได ้มีโอกาสไป Sit in ฟังสัมมนา ร่วมกับทีม Shippop ในงาน AIS Startup ในเรื่องของการวางเป้าหมาย และ การควบคุมการทํางานด ้วยวิธี OKR โดยวิทยากรคือ คุณอ ้อ พรทิพย์ กองชุน, COO และ Co-founder, Jitta และอดีตหัวหน้าฝ่ ายการตลาดของ Google ประจําประเทศไทย   เจอ Quote นี้ที่ AIS DC ชอบมาก :)  OKR คืออะไร  OKR ย่อมาจาก Objective & Key result คือวิธีการตั้งเป้าหมายให ้แต่ละคน โดยเป้าหมายของ ทุกๆคนสอดคล ้องกันทั้งองค์กร
  • 5. ลองดูตัวอย่างการทํา OKR Objective :: เป็นที่ 1 ของ App ประเภทแผนที่ใน iOS Key Result 1::สํารวจ 10 ฟีเจอร์ที่ลูกค ้าต ้องการสําหรับ App ประเภทแผนที่ Key Result 2 :: เปิดตัว 5 ฟีเจอร์ที่ลูกค ้าต ้องการมากที่สุดภายใน วันที่ 30 ธันวาคม Key Result 3 :: ทดลองใช ้กับผู้ใช ้10 คน และ สรุปประเด็นปัญหาด ้าน UX Key Result 4 :: ปรับปรุงความพึงพอใจด ้าน UX ให ้เพิ่มขึ้น 50% จากผลสํารวจของผู้ใช ้App ในมุมมองเราการตั้งเป้าหมายแบบ OKR คือ การแตก Action ที่เราต ้องทําเพื่อให ้บรรลุ เป้าหมายนั้นอย่างชัดเจน ซึ่งการตั้ง Objective ที่ดี ต ้องมีคุณสมบัติ 3 ข ้อ - Actionable Goal ที่ทีม หรือระดับบุคคลสามารถทําได ้จริง - Challenging อาจดูย ้อนแย ้งกับข ้อที่แล ้ว แต่การตั้งเป้าหมายต ้องท ้าทาย มีจุด Sweet Spot คืออัตราความสําเร็จอยู่ที่ 70–80% (ถ ้าบรรลุ 100% แปลว่าเราตั้งเป้าหมายง่ายไป…ถือว่าผิด!) สําหรับ Key Result ที่ดีต ้องมีคุณสมบัติดังนี ◌ ้(หลักการคล ้ายๆ SMART Goal) - Measurable :: ต ้องวัดผลได ้อยู่ที่ 0–100% - Achievable :: สามารถทําได ้ (ไม่ตั้งเป้าเวอร์จนเกินตัว) - Relevant :: มีความสอดคล ้องกับ Objective ที่เราตั้งไว ้ - Time-bound :: มีกรอบเวลาที่ชัดเจนสําหรับ OKR จะสิ้นสุดทุกๆ Quarter (3 เดือน) คุณอ ้อแนะนําว่าช่วงเวลาที่เราเรียนในเดือนกันยาค่อนข ้างเหมาะที่จะตั้งเป้าสําหรับ Q4 (OKR ควรเสร็จก่อนเวลาจริง) ทําไมต้องใช้OKRs? มันดียังไงกันนะ  1. One Direction ::ทุกคนทํางานเพื่อจุดมุ่งหมายเดียวกัน  2. สร้างวินัย และ การ Focus งาน (ทําทีละงาน และทบทวนอย่างสมํ่าเสมอ)  3. ช่วยสร้างกระบวนการทํางานที่ชัดเจนและวัดผลได้  4. ทุกคนรู้งานที่สําคัญที่สุด ( Top Priority ) ขององค์กร ทีม และ ทุกคนในองค์กร  5. สร้างความโปร่งใสของงานภายในบริษัท 
  • 6. กว่าจะมาเป็น OKR ขององค์กร    Image Source :: https://www.youtube.com/watch?v=LkBmR_eTDvQ  การตั้ง OKR ไม่ได ้คิดมาลอยๆตามเนื้องานที่เราทํา แต่ทุกๆ Objective จะถูกร ้อยเรียงมาจาก Mission, Vision ขององค์กร และแตกออกมาเป็นเป้าหมายในแต่ละปี จากนั้นจึงมากําหนดเป็น เป้าหมายรายไตรมาส (Quarterly Objective)และจึงแตกออกมาเป็น Key Result ของแต่ละ เป้าหมาย ซึ่งหลังจากกําหนด Key Result จึงไปแตกออกมาเป็น Action Plan ในแต่ละวัน การกําหนด OKR ในแต่ละ Level ขององค์กร    Image Source :: https://cdn‐images‐1.medium.com/max/544/1*NcqDRER6K5sd61w3JmEEiA.png  หลังจากเราวาง OKR ขององค์แล ้ว เราก็ต ้อง Breakdown มาในระดับ แผนก ทีม และ บุคคล เราลองมาดูตัวอย่างของการวางเป้าหมายตั้งแต่ระดับองค์กรไปสู่ระดับบุคคล
  • 7.   เราลองยกตัวอย่างเช่น ทีมฟุตบอล :: Football GM วางเป้าหมาย โดยมีสร ้างเงินให ้เจ ้าของทีมฟุตบอล โดยมี Key Result คือ 1. ทําให ้ทีมชนะในการแข่งรายการ Super Bowl 2. ทําให ้คนดูมาเชียร์บนแสตนด์ 88% จากนั้น Level ต่อไปคือ Head Coach และ PR ก็จะเอา Key Result ของ Football GM มาเป็น Objective ของตัวเอง และจากนั้น เราก็มาแตก Key Result ด ้านต่างๆของ Head Coach มาให ้กับผู้เล่นแต่ละตําแหน่ง ในทีม
  • 8. OKR Guildeline    1. OKR ใช้วิธีการเดียวกับ Agile คือ เน้นการรีวิวภายใต้ระยะเวลาสั้นๆ เช่น ทุกสัปดาห์ ทุกเดือน  2. ต้องท้าทาย แต่ทําได้   ระดับความสําเร็จที่เหมาะสมคือ 70–80%  3. พยายามทําเพียง 3 เป้าหมายในแต่ละไตรมาส (คุณอ้อแนะนําว่า Startup เพิ่มข้อได้แต่ไม่ควรเกิน 5)  4. อย่างน้อย 50%ของ OKR ควรมาจากพนักงานเสนอขึ้นไปยังผู้บริหาร (Bottom up) โดยผ่านการระดม ความคิด และตอบรับจากระดับผู้จัดการ  5. ทุกคนเข้าใจเนื้องานของคนอื่นมากขึ้น สร้างความโปร่งใสในการบริหารงานในองค์กร  6. เชื่อมโยงการทํางานระหว่างกัน สร้างบรรยากาศการร่วมมือร่วมใจกันระหว่างฝ่าย  OKR Tools  เครื่องมือในการทํา OKR 1. Spreadsheet :: Google sheet,Microsoft Excel ที่ (Jitta ใช ้Excel) 2. Document :: Google Doc, Microsoft Word 3. OKR’s Software เช่น Weekdone
  • 9. OKR Best Practice    1. Less is more  อัตราส่วนของ Objective ที่แต่ละคนควรถือ คือ 70:20:10 (Case Study จาก Jitta)  70 % On the Job สําหรับทําหน้าที่หลัก :: ประมาณ 3 Objectives   20% Support other ทํางานที่ช่วยคนอื่น :: ประมาณ2 Objectives  10% Improve yourself พัฒนาตนเองเพื่อให้ทํางานได้ดีขึ้น เช่น การเรียนรู้เพิ่มเติม ไปอบรมสัมมนา เป็นต้น (คนมักละเลยในส่วนนี้) 
  • 10.   2. Hierarchy of OKRs : อย่างที่กล่าวไปข ้างต ้น OKR ที่ดี ควรสอดคล ้องกันทั้งองค์กร และ แต่ละทีมโดย 50%
  • 11.   3. Be flexible :: OKR ยืดหยุ่นได ้เมื่อบริษัทเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงทั้งภายในและ ภายนอก เราสามารถปรับ OKR ได ้ด ้วยเหตุมผลที่เหมาะสม  ตั้งเป้าหมาย OKRs ราย Quarter (ไม่ควรตั้งล่วงหน้า เพราะสถานการณ์เปลี่ยนแปลงตลอด   อัพเดทสถานะ และ ประเมินแต่ละ OKR เป็นประจํา (รายอาทิตย์ รายเดือน)   เมื่อแต่ละเป้าหมาย complete 70–80% ถือว่าทําได้ดีแล้ว 
  • 12.   4. Key result ไม่ใช่รายการสิ่งที่ต ้องทํา ต ้องเขียนในมุมผลลัพธ์ ไม่ใช่กิจกรรม ตัวอย่าง KRs ที่ไม่ดี - ดําเนินการตามแผนพัฒนา Product - สนับสนุนทีมขาย - มั่นใจว่าพนักงานมีความสุข - สร ้าง Application สําหรับการชําระเงิน จะเห็นได ้ว่าตัวอย่างที่ไม่ดี คือเขียนภาพกว ้าง ไม่มีหน่วยวัดที่ชัดเจน
  • 13. OKR Grading    หลักการในการประเมิน OKR :: 1. ประเมินเฉพาะ Key Result 2. Grade ของ Objective มาจากค่าเฉลี่ยของKey Result แต่ละตัว 3. การประเมิน Grade ของ Objective ใช ้เพื่อการเรียนรู้ 4. ให ้คะแนนอยู่ในช่วง 0–1 :: 70% คือ 0.7 จุดที่เหมาะสมคือ 0.7–0.8 มากกว่านี้หมายถึงว่า เราตั้งเป้าไม่ Challenge พอ 5. ให ้คะแนน OKR เมื่อต ้น Quarter ถัดไป ตัวอย่างการให้คะแนน OKR
  • 14.   Image Source :: BetterWorks on Slideshare  OKR Getstart :: เริ่มต้นการทํา OKR ในองค์กร  สําหรับใครที่อยากลอง เริ่มตั้ง OKR ในปีหน้า รูปภาพนี้เป็น Timeline ที่ดีในการปรับใช ้OKR ในองค์กร
  • 15.   image source :: Lattice  เริ่มจากเดือน พฤศจิการยน 1. ระดมสมองหา Objective ขององค์กร  2. กําหนด OKR ขององค์กร  เดือนธันวาคม
  • 16. 1. ประสานงานกับแต่ละแผนก เพื่อร่าง Objective ของแผนก  2. อธิบาย OKR เพื่อปรับใช้ทั้งบริษัท  3. Manager ทํางานกับพนักงานอย่างใกล้ชิดเพื่อร่าง OKR แบบ 1:1  เดือนมกราคม 1.เสนอ และ กําหนด OKR แก่ทุกคนในองค์กร จากนั้น Manager ทํางานร่วมกับ พนักงานแต่ละคน โดยอาจจะมีการเรียกรีวิวรายสัปดาห์หรือ รายเดือน OKR Process timeline    การวางแผนทํา OKR ช่วงเวลาที่ดีคือเดือนสุดท ้ายของแต่ละ Quarter ซึ่งช่วงเดือนกันยายนถือ เป็นช่วงเวลาที่เหมาะสมในการทํา OKR สําหรับ Quarter 4 พอดี ซึ่งหลังจากการปรับใช ้OKR แล ้วก็ควรมีการ Review กันระหว่าง Manager และผู้ทํางาน โดยตรงแบบ 1:1 (สามารถใช ้เป็นรายสัปดาห์ หรือรายเดือนก็ได ้) และสําหรับการให ้ Grade OKR ของแต่ละ Quarter ให ้ทําในช่วงเดือนแรกของแต่ละ Quarter บทความหน้า จะมาเขียนเรื่องการปรับใช ้OKR กับการประเมินผลพนักงานในองค์กร ว่าเราจะ สามารถนํา OKR ไปใช ้ในการประเมินผลงานปลายปี รวมถึงการปรับเงินเดือน และ ปรับตําแหน่ง ได ้อย่างไร แล ้วพบกันใหม่บทความหน้าค่ะ :)